สารบัญ
13 ความสัมพันธ์: กลุ่มภาษาจีนยุครณรัฐยุคอาซูจิ–โมโมยามะคันจิตระกูลอาชิกางะประเทศญี่ปุ่นโชกุนโอดะ โนบูนางะโทกูงาวะ อิเอยาซุโทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะชิโตเกียวไดเมียวเคียวโตะ
- ยุคมูโรมาจิ
กลุ่มภาษาจีน
ัฒนาการของภาษาจีนสำเนียงต่างๆ ภาษาจีน (汉语 - 漢語 - Hànyǔ - ฮั่นอวี่, 华语 - 華語 - Huáyǔ - หัวอวี่ หรือ 中文 - Zhōngwén - จงเหวิน) เป็นหนึ่งในตระกูลภาษาจีน-ทิเบต ชาวจีนส่วนใหญ่ถือภาษาจีนพูดชนิดต่าง ๆ ว่าเป็นภาษาเดียว โดยทั่วไปแล้ว ภาษาพูดในกลุ่มภาษาจีนเป็นภาษาที่มีเสียงวรรณยุกต์และไม่อ่านเนื่องเสียง อย่างไรก็ดี ยังมีความแตกต่างกันในภาษาพูดแต่ละภาษาอยู่มาก ความต่างเหล่านี้เทียบได้กับ ความแตกต่างระหว่างภาษาของภาษากลุ่มโรมานซ์ เราอาจแบ่งภาษาพูดของจีนได้ 6 ถึง 12 กลุ่ม ขึ้นอยู่กับเกณฑ์ที่ใช้ในการแบ่ง ที่เป็นที่รู้จักดี เช่น กลุ่มแมนดาริน กลุ่มหวู และกลุ่มกวางตุ้ง ยังเป็นที่โต้เถียงกันถึงปัจจุบันว่าภาษาพูดบางกลุ่มควรจัดเป็น "ภาษา" หรือเป็นแค่ "สำเนียง" ประชากรประมาณ 1/5 ของโลกพูดภาษาจีนแบบใดแบบหนึ่งเป็นภาษาแม่ ทำให้เป็นภาษาที่มีคนพูดเป็นภาษาแม่มากที่สุด สำเนียงพูดที่ถือเป็นมาตรฐาน คือ สำเนียงปักกิ่ง หรือ ภาษาฮั่น ซึ่งอยู่ในกลุ่มภาษาแมนดาริน ภาษาจีนกลาง หรือ ภาษาจีนแมนดาริน (Standard Mandarin) เป็นภาษาทางการของสาธารณรัฐประชาชนจีน และสาธารณรัฐจีนหรือไต้หวัน เป็นหนึ่งในภาษาทางการ 4 ภาษาทางการของประเทศสิงคโปร์ (ร่วมกับ ภาษาอังกฤษ ภาษามลายู และภาษาทมิฬ) และเป็นหนึ่งใน 6 ภาษาที่ใช้ในองค์การสหประชาชาติ (ร่วมกับ ภาษาอังกฤษ ภาษาอาหรับ ภาษาฝรั่งเศส ภาษารัสเซีย และภาษาสเปน) ภาษาจีนกวางตุ้ง เป็นภาษาทางการของ ฮ่องกง (ร่วมกับภาษาอังกฤษ) และมาเก๊า (ร่วมกับภาษาโปรตุเกส) นอกจากนี้ ภาษาเขียนยังได้เปลี่ยนแปลงตามระยะเวลา แต่การเปลี่ยนแปลงของภาษาเขียน ช้ากว่าการเปลี่ยนแปลงของภาษาพูดอย่างมาก จึงไม่ถูกจำกัดโดยความเปลี่ยนแปลงของภาษาพูดโดยส่วนใหญ่ ในปัจจุบัน ภาษาจีนใช้อักษรมาตรฐาน 2 รูปแบบทั่วโลก ได้แก่ อักษรจีนตัวเต็ม และ อักษรจีนตัวย่อ แผ้นที่แสดงพื้นที่ที่มีกลุ่มคนพูดภาษาจีนต่างๆ ในประเทศจีน.
ยุครณรัฐ
รณรัฐ (Warring States) เป็นชื่อยุคหนึ่งในประวัติศาสตร์จีนโบราณ ถัดจากยุควสันตสารท และสิ้นสุดลงเมื่อฉินฉื่อหฺวังตี้รวมแผ่นดินในปีที่ 221 ก่อนคริสตกาล เป็นผลให้รัฐต่าง ๆ ที่รบรากันได้รวมเป็นหนึ่ง คือ จักรวรรดิฉิน ยุครณรัฐเริ่มขึ้นเมื่อใดนั้น นักวิชาการว่าไว้ต่างกัน ซึ่งมักตกในระหว่างปีที่ 481 ถึงปีที่ 403 ก่อนคริสตกาล แต่ซือหม่า เชียน นักประวัติศาสตร์ในราชวงศ์ฮั่น ว่า เริ่มเมื่อปีที่ 475 ก่อนคริสตกาล และข้อเขียนของซือหม่า เชียนนี้เป็นที่อ้างอิงกันมาก ส่วนชื่อ "รณรัฐ" นั้นเรียกตามชื่อหนังสือ "พิชัยสงครามรณรัฐ" (Zhàn Guó Cè; Strategies of the Warring States) หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์จีน ราชวงศ์โจว.
ยุคอาซูจิ–โมโมยามะ
อาซูจิ–โมโมยามะ เป็นยุคที่เริ่มตั้งแต..
ดู ยุคเซ็งโงกุและยุคอาซูจิ–โมโมยามะ
คันจิ
ันจิ เป็นอักษรจีนที่ใช้ในระบบการเขียนภาษาญี่ปุ่นในปัจจุบัน จัดอยู่ในประเภทอักษรคำ (Logograms) ใช้ร่วมกับตัวอักษร อีก 4 ประเภท ได้แก่ ฮิรางานะ (ひらがな, 平仮名 Hiragana) คะตาคานะ (カタカナ, 片仮名 Katakana) โรมะจิ (ローマ字 Rōmaji) และตัวเลขอารบิก คำว่า "คันจิ" หากอ่านตามเสียงภาษาจีนกลางจะอ่านว่า "ฮั่นจื้อ" มีความหมายว่า ตัวอักษรของชาวฮั่น อันเป็นชนส่วนใหญ่ของประเทศจีน คำว่าภาษาจีนในภาษาจีนเอง ก็เรียกว่า ภาษาฮั่น (ภาษาจีนกลาง: 漢語, hànyǔ) เช่นกัน.
ตระกูลอาชิกางะ
ตราประจำตระกูลอาชิกางะ ตระกูลอาชิกางะ หรือ อาชิกากะ เป็นตระกูลของซามูไรญี่ปุ่น ซึ่งดำรงตำแหน่งโชกุนของรัฐบาลโชกุนอาชิกางะในยุคมูโรมาจิ เป็นผู้ปกครองประเทศญี่ปุ่นในทางพฤตินัย ตระกูลอาชิกางะสืบเชื้อสายมาจากตระกูลมินาโมโตะซึ่งสืบเชื้อสายมาจากพระจักรพรรดิเซวะ เรียกว่า ตระกูลเซวะเก็นจิ สาขาซึ่งตั้งรกรากอยู่ที่แคว้นคาวาจิ (จังหวัดโอซากะในปัจจุบัน) เรียกว่า ตระกูลคาวาจิเก็นจิ หนึ่งในสมาชิกของตระกูลคาวาจิเก็นจิ คือ มินาโมโตะ โนะ โยชิอิเอะ เป็นซามูไรที่มีชื่อเสียงในยุคเฮอัง มินาโมโตะ โนะ โยชิอิเอะ มีบุตรชายชื่อว่า มินาโมโตะ โนะ โยชิจิกะ เป็นปู่ทวดของโชกุนคนแรก มินาโมโตะ โนะ โยริโตโมะ นอกจากนี้ มินาโมโตะ โนะ โยชิอิเอะ ยังมีบุตรชายอีกคนชื่อว่า มินาโมโตะ โนะ โยชิกูนิ ซึ่งมินาโมโตะ โนะ โยชิกูนิ มีบุตรชายคนโตชื่อว่า มินาโมโตะ โนะ โยชิชิเงะ โยชิชิเงะเดินทางไปตั้งรกรากที่เมืองนิตตะ ในแคว้นโคซูเกะ ปัจจุบันคือเมืองโอตะจังหวัดกุมมะ เป็นบรรพบุรุษของตระกูลนิตตะ ตระกูลยามานะ และตระกูลโทกูงาวะ มินาโมโตะ โนะ โยชิกูนิ มีบุตรชายคนที่สอง ชื่อว่า มินาโมโตะ โนะ โยชิยาซุ โยชิยาซุเดินทางไปตั้งรกรากที่เมืองอาชิกางะ ในแคว้นชิมตสึเกะ (ปัจจุบันคือจังหวัดโทจิงิ) เป็นบรรพบุรุษของตระกูลอาชิกางะ มินาโมโตะ โนะ โยชิยาซุ มีบุตรชายชื่อว่า อาชิกางะ โยชิกาเนะ อาชิกางะ โยชิกาเนะ มีบทบาทและมีความดีความชอบต่อโชกุนคนแรก มินาโมโตะ โนะ โยริโตโมะ ในสงครามเก็มเป อาชิกางะ โยชิกาเนะ สมรสกับ โฮโจ โทกิโกะ ซึ่งเป็นบุตรสาวของโฮโจ โทกิมาซะ และเป็นน้องสาวของนางโฮโจ มาซาโกะ เท่ากับว่าอาชิกางะ โยชิกาเนะ เป็นน้องเขยของโชกุนมินาโมโตะ โนะ โยริโตโมะ แม้ว่าต้นตระกูลอาชิกางะจะมีผลงานโดดเด่นในสงครามเก็มเป แต่ตลอดยุคคามากูระ ตระกูลอาชิกางะมีบทบาททางการเมืองเพียงเล็กน้อย อย่างไรก็ตามรัฐบาลโชกุนคามากูระและตระกูลโฮโจยังคงให้เกียรติตระกูลอาชิกางะด้วยการส่งสตรีจากตระกูลโฮโจมาสมรสกับตระกูลอาชิกางะอย่างต่อเนื่อง ในยุคคามากูระ ผู้นำตระกูลอาชิกางะทุกคนมีภรรยาเอกมาจากตระกูลโฮโจ พงศาวลี ตระกูลอาชิกางะ และตระกูลสาขาย่อยต่าง ๆ นอกจากนี้ตระกูลอาชิกางะยังแตกสาขาย่อยออกไปเป็นตระกูลต่าง ๆ อีกมากมาย ได้แก.
ดู ยุคเซ็งโงกุและตระกูลอาชิกางะ
ประเทศญี่ปุ่น
ประเทศญี่ปุ่น (ชื่ออย่างเป็นทางการ) เป็นรัฐเอกราชหมู่เกาะในเอเชียตะวันออก ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกนอกฝั่งตะวันออกของแผ่นดินใหญ่เอเชีย ทางตะวันตกติดกับคาบสมุทรเกาหลีและประเทศจีน โดยมีทะเลญี่ปุ่นกั้น ส่วนทางทิศเหนือติดกับประเทศรัสเซีย มีทะเลโอค็อตสค์เป็นเส้นแบ่งแดน ตัวอักษรคันจิของชื่อญี่ปุ่นแปลว่า "ถิ่นกำเนิดของดวงอาทิตย์" จึงทำให้มักได้ชื่อว่า "ดินแดนแห่งอาทิตย์อุทัย" ประเทศญี่ปุ่นเป็นกลุ่มเกาะกรวยภูเขาไฟสลับชั้นซึ่งมีเกาะประมาณ 6,852 เกาะ เกาะใหญ่สุดคือ เกาะฮนชู ฮกไกโด คีวชู และชิโกกุ ซึ่งคิดเป็นพื้นที่แผ่นดินประมาณร้อยละ 97 ของประเทศญี่ปุ่น และมักเรียกว่าเป็นหมู่เกาะเหย้า (home islands) ประเทศแบ่งเป็น 47 จังหวัดใน 8 ภูมิภาค โดยมีฮกไกโดเป็นจังหวัดเหนือสุด และโอกินาวะเป็นจังหวัดใต้สุด ประเทศญี่ปุ่นมีประชากร 127 ล้านคน เป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับ 10 ของโลก ชาวญี่ปุ่นเป็นร้อยละ 98.5 ของประชากรทั้งหมดของประเทศญี่ปุ่น ประมาณ 9.1 ล้านคนอาศัยอยู่ในกรุงโตเกียว เมืองหลวงของประเทศ การวิจัยทางโบราณคดีระบุว่ามีมนุษย์อาศัยในญี่ปุ่นปัจจุบันครั้งแรกตั้งแต่ยุคหินเก่า การกล่าวถึงญี่ปุ่นเป็นลายลักษณ์อักษรครั้งแรกปรากฏในบันทึกของราชสำนักจีนตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 1 ญี่ปุ่นได้รับอิทธิพลจากจีนในหลายด้าน เช่นภาษา การปกครองและวัฒนธรรม แต่ขณะเดียวกันก็มีการปรับเปลี่ยนให้เป็นเอกลักษณ์ของตนเอง จึงทำให้ญี่ปุ่นมีวัฒนธรรมที่โดดเด่นมาจนปัจจุบัน อีกหลายศตวรรษต่อมา ญี่ปุ่นก็รับเอาเทคโนโลยีตะวันตกและนำมาพัฒนาประเทศจนกลายเป็นประเทศที่ก้าวหน้าและมีอิทธิพลมากที่สุดในเอเชียตะวันออก หลังจากแพ้สงครามโลกครั้งที่สอง ญี่ปุ่นก็มีการเปลี่ยนแปลงทางการปกครองโดยการใช้รัฐธรรมนูญใหม่ใน..
ดู ยุคเซ็งโงกุและประเทศญี่ปุ่น
โชกุน
กุน เป็นผู้ใช้อำนาจเผด็จการทหารแห่งญี่ปุ่นระหว่าง..
โอดะ โนบูนางะ
อดะ โนบุนางะ เป็นไดเมียว และหนึ่งในสามผู้ยิ่งใหญ่แห่งยุคเซงโงกุ เป็นหนึ่งในสามผู้รวบรวมญี่ปุ่นจากความแตกแยกในยุคเซงโงก.
ดู ยุคเซ็งโงกุและโอดะ โนบูนางะ
โทกูงาวะ อิเอยาซุ
ทกูงาวะ อิเอยาซุ คือผู้สถาปนาบะกุฟุ (รัฐบาลทหาร) ที่เมืองเอะโดะ (โตเกียวในปัจจุบัน) และเป็นโชกุนคนแรกจากตระกูลโทกูงาวะที่ปกครองประเทศญี่ปุ่น ตั้งแต่สิ้นสุด ศึกเซะกิงะฮะระและเริ่มต้นยุคเอะโดะ เมื่อปี..
ดู ยุคเซ็งโงกุและโทกูงาวะ อิเอยาซุ
โทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะชิ
ทโยโตมิ ฮิเดโยชิ (2 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1537 – 18 กันยายน ค.ศ. 1598) เป็นไดเมียวคนสำคัญของญี่ปุ่นในยุคอะซุชิ-โมะโมะยะมะ เนื่องจากได้สร้างวีรกรรมต่อจากโอดะ โนบุนาง.
ดู ยุคเซ็งโงกุและโทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะชิ
โตเกียว
ตเกียว หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่ามหานครโตเกียว (Tokyo Metropolis) หรือเรียกเอะโดะหรือเอโดะ เป็นเมืองหลวงของประเทศญี่ปุ่น มีระบบการปกครองแบบพิเศษซึ่งรวมการปกครองในรูปแบบจังหวัดและเมืองไว้ด้วยกัน ทั้งนี้ เขตอภิมหานครโตเกียวจัดว่าเป็นเขตเมืองที่ใหญ่ที่สุดในโลก โดยรวมเขตปริมณฑลแล้วมีประชากรอาศัยอยู่ราว 35,237,000 คน) เฉพาะในตัวเมืองโตเกียว 23 แขวงการปกครองพิเศษ มีประชากรในเขตเมืองประมาณ 12 ล้านคน ถือเป็นเมืองที่มีประชากรมากที่สุดในโลกเมืองหนึ่ง ประชากรทั้งหมดของโตเกียวมีทั้งหมดกว่า 35 ล้านคน โตเกียวตั้งอยู่บริเวณภูมิภาคคันโตของญี่ปุ่น คำว่า "โตเกียว" หมายถึง "นครหลวงตะวันออก" ในโตเกียวยังเป็นที่ตั้งของพระราชวังหลวงของสมเด็จพระจักรพรรดิ กรุงโตเกียวเคยเป็นเจ้าภาพการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกปี 1964 และจะเป็นเจ้าภาพครั้งที่ 2 ในปี 2020 ระหว่างวันที่ 24 กรกฎาคม – 9 สิงหาคม พ.ศ.
ไดเมียว
ไดเมียว (แปลว่า มูลนาย) นั้นเป็นตำแหน่งเจ้าเมืองที่มีความสำคัญรองลงมาจากโชกุนและไดเมียวจากหลายตระกูลก็ได้เป็นโชกุนในเวลาต่อมา พวกตระกูลที่มีฐานะเป็นไดเมียวเรียกกันว่า โคตรตระกูล หมวดหมู่:ซะมุไร หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์ญี่ปุ่น หมวดหมู่:ไดเมียว.
เคียวโตะ
ียวโตะ หรือ เกียวโต อาจหมายถึง.
ดูเพิ่มเติม
ยุคมูโรมาจิ
- ยุคราชสำนักเหนือ-ใต้
- ยุคเซ็งโงกุ
- รัฐบาลโชกุนอาชิกางะ
หรือที่รู้จักกันในชื่อ Sengoku periodยุคเซงโกกุยุคเซ็งโงะกุสมัยเซ็งโงะกุเซงโงะกุ