โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

รัฐบาลโชกุนอาชิกางะ

ดัชนี รัฐบาลโชกุนอาชิกางะ

รัฐบาลโชกุนอาชิกางะ หรือที่มักรู้จักในชื่อ รัฐบาลโชกุนมูโรมาจิ เป็นระบอบการปกครองโดยกลุ่มทหารในญี่ปุ่นระหว่างปี..

17 ความสัมพันธ์: ภาษาญี่ปุ่นยุคเซ็งโงกุระบบเจ้าขุนมูลนายระบอบเผด็จการรัฐบาลเอโดะอาชิกางะ โยชิมิตสึจักรพรรดิญี่ปุ่นจักรพรรดิโคงงจังหวัดฟูกูโอกะคันเรคณาธิปไตยตระกูลอาชิกางะโชกุนโอดะ โนบูนางะโทโฮกุไดเมียวเคียวโตะ

ภาษาญี่ปุ่น

ษาญี่ปุ่น (日本語) เป็นภาษาทางการของประเทศญี่ปุ่น ปัจจุบันมีผู้ใช้ทั่วโลกราว 130 ล้านคน นอกเหนือจากประเทศญี่ปุ่นแล้ว รัฐอังกาอูร์ สาธารณรัฐปาเลา ได้กำหนดให้ภาษาญี่ปุ่นเป็นภาษาทางการภาษาหนึ่ง นอกจากนี้ภาษาญี่ปุ่นยังถูกใช้ในหมู่ชาวญี่ปุ่นที่ย้ายไปอยู่นอกประเทศ นักวิจัยญี่ปุ่น และนักธุรกิจต่างๆ คำภาษาญี่ปุ่นได้รับอิทธิพลมาจากภาษาต่างประเทศเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะภาษาจีน ที่ได้นำมาเผยแพร่มาในประเทศญี่ปุ่นเมื่อกว่า 1,500 ปีที่แล้ว และตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 19 เป็นต้นมา ก็ได้มีการยืมคำจากภาษาต่างประเทศที่ไม่ใช่ภาษาจีนมาใช้อีกเป็นจำนวนมาก โดยเฉพาะภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียน เช่นคำที่มาจากภาษาดัตช์ ビール (bier แปลว่า เบียร์) และ コーヒー (koffie แปลว่า กาแฟ).

ใหม่!!: รัฐบาลโชกุนอาชิกางะและภาษาญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

ยุคเซ็งโงกุ

ซ็งโงกุ เป็นช่วงเวลาของความไม่สงบใน ญี่ปุ่น อันเกิดจากอำนาจการปกครองของ โชกุนตระกูลอาชิกางะในยุคมูโรมาจิเสื่อมลง ทำให้บรรดาไดเมียวผู้ปกครองแคว้นต่าง ๆ ในญี่ปุ่นต่างพากันตั้งตนเป็นอิสระ โดยเฉพาะไดเมียวที่อยู่ห่างจากเมืองหลวงเกียวโตมาก และทำสงครามกันเอง ทำให้ญี่ปุ่นลุกเป็นไฟ บ้านเมืองไม่มีขื่อแป โชกุนที่เกียวโตไม่สามารถทำอะไรได้เพราะเป็นเพียงหุ่นเชิดของไดเมียวที่มีอำนาจ สมัยเซ็งโงกุเป็นสมัยแห่งวีรบุรุษ โดยเฉพาะวีรบุรุษทั้งสามที่รวมประเทศญี่ปุ่นให้กลับเป็นหนึ่งเดียวอีกครั้งเป็นการสิ้นสุดสมัยเซ็งโงกุ ได้แก่ โอดะ โนบูนางะ, โทโยโตมิ ฮิเดโยชิ, และ โทกูงาวะ อิเอยาซุ อักษรคันจิของคำว่ายุคเซ็งโงกุ ตรงกับคำว่า "ยุคจ้านกว๋อ" ในภาษาจีน หมายถึง "ยุครณรัฐ" ซึ่งเกิดขึ้นอยู่ในช่วงระหว่าง 477-222 ปีก่อน..

ใหม่!!: รัฐบาลโชกุนอาชิกางะและยุคเซ็งโงกุ · ดูเพิ่มเติม »

ระบบเจ้าขุนมูลนาย

ระบบเจ้าขุนมูลนาย, ระบบฟิวดัลหรือระบบเจ้าครองนคร (feudalism) เป็นระบอบการปกครองในอดีต สยามเรียกว่า ระบบศักดิน.

ใหม่!!: รัฐบาลโชกุนอาชิกางะและระบบเจ้าขุนมูลนาย · ดูเพิ่มเติม »

ระบอบเผด็จการ

ระบอบเผด็จการ (Dictatorship) หมายถึง รูปแบบการปกครองแบบอัตตาธิปไตย ซึ่งรัฐบาลอยู่ภายใต้การบริหารของบุคคลเพียงคนเดียว หรือ ผู้เผด็จการ โดยไม่มีการสืบทอดตำแหน่งตามสายเลือด คำว่า เผด็จการ อาจมีได้หลายความหมายเช่น.

ใหม่!!: รัฐบาลโชกุนอาชิกางะและระบอบเผด็จการ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐบาลเอโดะ

รัฐบาลเอโดะ หรือ รัฐบาลโชกุนโทกูงาวะ เป็นฝ่ายบริหารของประเทศญี่ปุ่นซึ่งใช้ระบอบศักดินา สถาปนาโดยโทกูงาวะ อิเอะยะสุ (徳川家康 Tokugawa Ieyasu) มีผู้ปกครองสูงสุดเป็นโชกุน (将軍 shōgun) ซึ่งต้องมาจากตระกูลโทกูงาวะ (徳川氏 Tokugawa-shi) เท่านั้น ในสมัยที่ประเทศญี่ปุ่นถูกปกครองโดยรัฐบาลโชกุนนั้น จะเรียกว่ายุคเอโดะ (江戸時代 edo-jidai) ตามชื่อเมืองเอโดะ ซึ่งรัฐบาลโชกุนสถาปนาให้เป็นเมืองหลวงแห่งใหม่ ปัจจุบัน คือกรุงโตเกียว (東京 Tōkyō) มีปราสาทเอโดะ (江戸城 Edo-jō) เป็นศูนย์กลางการปกครองตั้งแต่ ค.ศ. 1603 - 1868 จนกระทั่งถูกสมเด็จพระจักรพรรดิเมจิ (明治天皇 Meiji-tennō) ล้มล้างไปในการปฏิรูปสมัยเมจิ (明治維新 Meiji Ishin) หลังจากยุคเซงโงะกุ (戦国時代 Sengoku-jidai) หรือยุคไฟสงคราม โอดะ โนะบุนะงะ (織田 信長 Oda Nobunaga) และโทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะชิ (豊臣 秀吉 Toyotomi Hideyoshi) ได้ร่วมกันรวมอำนาจสู่ศูนย์กลาง และตั้งเป็นรัฐบาลกลางขึ้นอีกครั้งในยุคอะซึจิ-โมะโมะยะมะ (あづちももやまじだい Azuchi momoyama jidai) ซึ่งเป็นยุคสั้นๆ ก่อนยุคเอโดะ ต่อมา หลังจากยุทธการเซะกิงะฮะระ (関ヶ原の戦い Sekigahara no Tatakai) ซึ่งเป็นการรบครั้งใหญ่ในค.ศ. 1600 การปกครองและอำนาจทั้งหมด ได้ตกอยู่ในมือของโทกูงาวะ อิเอะยะสุโดยเบ็ดเสร็จ และสถาปนาตนเองเป็นโชกุนในปี ค.ศ. 1603 ซึ่งเป็นไปตามประเพณีโบราณ ที่ผู้เป็นโชกุนจะต้องสืบเชื้อสายจากต้นตระกูลมินะโมะโตะ (源 Minamoto) ในยุคของโทกูงาวะ ต่างจากยุคโชกุนก่อนๆ คือมีการนำระบบชนชั้นที่เริ่มใช้โดยโทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะชิ มาใช้อีกครั้งอย่างเข้มงวด โดยชนชั้นนักรบ หรือซามูไร (侍 Samurai) อยู่บนสุด ตามด้วยชาวนา ช่างฝีมือ และพ่อค้า การใช้ระบบชนชั้นอย่างเข้มงวดและไม่ยืดหยุ่นได้ทำให้เกิดจลาจลมาตลอดสมัย ภาษีที่เรียกเก็บจากชนชั้นชาวนานั้น อยู่ในอัตราคงที่โดยไม่คำนึงถึงอัตราเงินเฟ้อหรือการเปลี่ยนแปลงอื่นๆของค่าเงิน ส่งผลให้รายได้ภาษีที่เรียกเก็บจากชนชั้นซามูไร ผู้เป็นเจ้าของที่ดินมีมูลค่าลดลงเรื่อยๆตลอดยุค ซึ่งสาเหตุนี้ ก่อให้เกิดการเผชิญหน้าระหว่างซามูไรผู้ทรงเกียรติแต่ฐานะทางการเงินต่ำลงเรื่อยๆจากการจ่ายภาษี กับชาวนาผู้มีอันจะกิน เกิดเป็นการปะทะกันหลายต่อหลายครั้งที่เริ่มจากเหตุการณ์เล็กๆรุกลามเป็นเหตุการณ์วุ่นวาย อย่างไรก็ตาม ไม่มีสิ่งใดเปลี่ยนแปลงระบบสังคมยุคเอโดะได้ ตราบจนการเข้ามาของชาวตะวันตก เมื่อปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 กลุ่มไดเมียวผู้มีอำนาจ เช่น ตระกูลชิมะสึ (島津氏 Shimazu-shi) ได้ร่วมมือกับสมเด็จพระจักรพรรดิและพระบรมวงศานุวงศ์ ซึ่งในสมัยเอโดะเคยทรงเพียงศักดิ์แต่ไร้อำนาจ เพื่อโค่นล้มระบอบโชกุนในโดยสงครามโบะชิน (戊辰戦争 Boshin Sensō) ส่งผลให้เกิดการปฏิรูปเมจิโดยจักรพรรดิเมจิ รัฐบาลโชกุนโทกูงาวะถูกล้มล้างโดยสมบูรณ์ในค.ศ. 1868 โดยมีโทกูงาวะ โยชิโนบุ (徳川 慶喜 Tokugawa Yoshinobu) เป็นโชกุนคนที่ 15 และเป็นโชกุนคนสุดท้ายของญี่ปุ่น จากนั้น ญี่ปุ่นก็เข้าสู่ยุคเมจิ (明治時代 Meiji-jidai)อันมีการฟื้นฟูราชวงศ์มายังเมืองเอโดะ และเปลี่ยนชื่อเป็นกรุงโตเกียวดังเช่นปัจจุบัน.

ใหม่!!: รัฐบาลโชกุนอาชิกางะและรัฐบาลเอโดะ · ดูเพิ่มเติม »

อาชิกางะ โยชิมิตสึ

อาชิกางะ โยชิมิตสึ เป็นโชกุนคนที่ 3 แห่ง ตระกูลอาชิกางะ โดยในสมัยโชกุนโยชิมิตสึสามารถรวบรวมราชวงศ์เหนือ-ใต้ให้เป็นหนึ่งเดียวได้สำเร็.

ใหม่!!: รัฐบาลโชกุนอาชิกางะและอาชิกางะ โยชิมิตสึ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิญี่ปุ่น

ักรพรรดิแห่งญี่ปุ่น เป็น "สัญลักษณ์แห่งรัฐและเอกภาพของประชาชน" ตามรัฐธรรมนูญแห่งญี่ปุ่น..

ใหม่!!: รัฐบาลโชกุนอาชิกางะและจักรพรรดิญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิโคงง

ักรพรรดิโคงง (Emperor Kōgon) จักรพรรดิผู้อ้างสิทธิใน ราชบัลลังก์ดอกเบญจมาศ พระองค์ที่ 1 ตามที่ได้บันทึกไว้ใน รายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น ทรงครองสิริราชสมบัติระหว่างปี ค.ศ. 1331 - ค.ศ. 1333.

ใหม่!!: รัฐบาลโชกุนอาชิกางะและจักรพรรดิโคงง · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดฟูกูโอกะ

ังหวัดฟูกูโอกะ เป็นจังหวัดในประเทศญี่ปุ่น ตั้งอยู่บริเวณภาคคีวชู มีเมืองหลักอยู่ที่เมืองฟูกูโอกะ นอกจากนี้ยังมีความสัมพันธ์เป็นเมืองพี่น้องกับกรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: รัฐบาลโชกุนอาชิกางะและจังหวัดฟูกูโอกะ · ดูเพิ่มเติม »

คันเร

ันเร หรือ คันเรียว คือ ตำแหน่งการเมืองชั้นสูงในญี่ปุ่นสมัยเจ้าขุนมูลนาย มักถือกันว่า เป็นผู้ช่วยของโชกุน และนับแต..

ใหม่!!: รัฐบาลโชกุนอาชิกางะและคันเร · ดูเพิ่มเติม »

คณาธิปไตย

ณาธิปไตย (oligarchy, ὀλιγαρχία (oligarkhía)) เป็นรูปแบบโครงสร้างอำนาจซึ่งอำนาจอยู่กับกลุ่มบุคคลจำนวนน้อยอย่างชะงัด บุคคลเหล่านี้อาจมีเชื้อเจ้า มั่งมี มีความสัมพันธ์ทางครอบครัว หมู่คณะหรือควบคุมทางทหาร รัฐเช่นนี้มักถูกควบคุมโดยไม่กี่ตระกูลที่มีชื่อเสียงซึ่งส่งผ่านอิทธิพลของตระกูลจากรุ่นสู่รุ่น ตลอดประวัติศาสตร์ คณาธิปไตยในบางประเทศได้เป็นทรราช ต้องอาศัยภาระจำยอมของสาธารณะจึงจะอยู่ได้ แม้คณาธิปไตยในประเทศอื่นจะค่อนข้างผ่อนปรน อริสโตเติลริเริ่มการใช้คำนี้เป็นคำไวพจน์ของการปกครองโดยคนรวย ซึ่งคำที่ถูกต้อง คือ ธนาธิปไตย (plutocracy) แต่คณาธิปไตยไม่จำเป็นต้องเป็นการปกครองด้วยความมั่งมีเสมอไป ด้วยผู้ปกครองในระบอบคณาธิปไตยเป็นกลุ่มมีเอกสิทธิได้ง่าย ๆ และไม่จำเป็นต้องเชื่อมโยงทางสายเลือดดังเช่นในราชาธิปไตย บางนครรัฐในสมัยกรีกโบราณปกครองแบบคณาธิปไต.

ใหม่!!: รัฐบาลโชกุนอาชิกางะและคณาธิปไตย · ดูเพิ่มเติม »

ตระกูลอาชิกางะ

ตราประจำตระกูลอาชิกางะ ตระกูลอาชิกางะ หรือ อาชิกากะ เป็นตระกูลของซามูไรญี่ปุ่น ซึ่งดำรงตำแหน่งโชกุนของรัฐบาลโชกุนอาชิกางะในยุคมูโรมาจิ เป็นผู้ปกครองประเทศญี่ปุ่นในทางพฤตินัย ตระกูลอาชิกางะสืบเชื้อสายมาจากตระกูลมินาโมโตะซึ่งสืบเชื้อสายมาจากพระจักรพรรดิเซวะ เรียกว่า ตระกูลเซวะเก็นจิ สาขาซึ่งตั้งรกรากอยู่ที่แคว้นคาวาจิ (จังหวัดโอซากะในปัจจุบัน) เรียกว่า ตระกูลคาวาจิเก็นจิ หนึ่งในสมาชิกของตระกูลคาวาจิเก็นจิ คือ มินาโมโตะ โนะ โยชิอิเอะ เป็นซามูไรที่มีชื่อเสียงในยุคเฮอัง มินาโมโตะ โนะ โยชิอิเอะ มีบุตรชายชื่อว่า มินาโมโตะ โนะ โยชิจิกะ เป็นปู่ทวดของโชกุนคนแรก มินาโมโตะ โนะ โยริโตโมะ นอกจากนี้ มินาโมโตะ โนะ โยชิอิเอะ ยังมีบุตรชายอีกคนชื่อว่า มินาโมโตะ โนะ โยชิกูนิ ซึ่งมินาโมโตะ โนะ โยชิกูนิ มีบุตรชายคนโตชื่อว่า มินาโมโตะ โนะ โยชิชิเงะ โยชิชิเงะเดินทางไปตั้งรกรากที่เมืองนิตตะ ในแคว้นโคซูเกะ ปัจจุบันคือเมืองโอตะจังหวัดกุมมะ เป็นบรรพบุรุษของตระกูลนิตตะ ตระกูลยามานะ และตระกูลโทกูงาวะ มินาโมโตะ โนะ โยชิกูนิ มีบุตรชายคนที่สอง ชื่อว่า มินาโมโตะ โนะ โยชิยาซุ โยชิยาซุเดินทางไปตั้งรกรากที่เมืองอาชิกางะ ในแคว้นชิมตสึเกะ (ปัจจุบันคือจังหวัดโทจิงิ) เป็นบรรพบุรุษของตระกูลอาชิกางะ มินาโมโตะ โนะ โยชิยาซุ มีบุตรชายชื่อว่า อาชิกางะ โยชิกาเนะ อาชิกางะ โยชิกาเนะ มีบทบาทและมีความดีความชอบต่อโชกุนคนแรก มินาโมโตะ โนะ โยริโตโมะ ในสงครามเก็มเป อาชิกางะ โยชิกาเนะ สมรสกับ โฮโจ โทกิโกะ ซึ่งเป็นบุตรสาวของโฮโจ โทกิมาซะ และเป็นน้องสาวของนางโฮโจ มาซาโกะ เท่ากับว่าอาชิกางะ โยชิกาเนะ เป็นน้องเขยของโชกุนมินาโมโตะ โนะ โยริโตโมะ แม้ว่าต้นตระกูลอาชิกางะจะมีผลงานโดดเด่นในสงครามเก็มเป แต่ตลอดยุคคามากูระ ตระกูลอาชิกางะมีบทบาททางการเมืองเพียงเล็กน้อย อย่างไรก็ตามรัฐบาลโชกุนคามากูระและตระกูลโฮโจยังคงให้เกียรติตระกูลอาชิกางะด้วยการส่งสตรีจากตระกูลโฮโจมาสมรสกับตระกูลอาชิกางะอย่างต่อเนื่อง ในยุคคามากูระ ผู้นำตระกูลอาชิกางะทุกคนมีภรรยาเอกมาจากตระกูลโฮโจ พงศาวลี ตระกูลอาชิกางะ และตระกูลสาขาย่อยต่าง ๆ นอกจากนี้ตระกูลอาชิกางะยังแตกสาขาย่อยออกไปเป็นตระกูลต่าง ๆ อีกมากมาย ได้แก.

ใหม่!!: รัฐบาลโชกุนอาชิกางะและตระกูลอาชิกางะ · ดูเพิ่มเติม »

โชกุน

กุน เป็นผู้ใช้อำนาจเผด็จการทหารแห่งญี่ปุ่นระหว่าง..

ใหม่!!: รัฐบาลโชกุนอาชิกางะและโชกุน · ดูเพิ่มเติม »

โอดะ โนบูนางะ

อดะ โนบุนางะ เป็นไดเมียว และหนึ่งในสามผู้ยิ่งใหญ่แห่งยุคเซงโงกุ เป็นหนึ่งในสามผู้รวบรวมญี่ปุ่นจากความแตกแยกในยุคเซงโงก.

ใหม่!!: รัฐบาลโชกุนอาชิกางะและโอดะ โนบูนางะ · ดูเพิ่มเติม »

โทโฮกุ

ทโฮกุ แปลตรงตัวว่า "ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ" เป็นอนุภูมิภาคของญี่ปุ่น ดินแดนที่ครอบคลุมพื้นที่หนึ่งในสี่ทางเหนือของเกาะฮนชู มีชื่อเดิมว่า "มิชิโนะกุ" แปลว่าถนนภายในหรือถนนสายแคบ เนื่องจากในอดีตนั้นยากต่อการเข้าถึง ด้วยภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นเทือกเขาขรุขระ และฤดูหนาวอันโหดร้าย โทโฮกุเป็นดินแดนที่ยังคงธรรมชาติอันสวยงาม และเป็นแหล่งของน้ำพุร้อนจำนวนนับไม่ถ้วน นอกจากนั้น โทโฮกุยังเป็นดินแดนแห่งตำนานเรื่องเล่าขานมากมาย และเป็นแห่งสุดท้ายที่ยังคงอนุรักษ์วิถีชีวิตขนบประเพณีญี่ปุ่นโบราณอยู่ รวมถึงหัตถกรรมพื้นเมืองที่ยังคงอนุรักษ์ไว้ ภายใต้ความเจริญและอารยธรรมสมัยใหม่ที่หลั่งไหลเข้ามา อนุภูมิอากาศในโทโฮกุ ถูกแบ่งโดยเทือกเขาที่เป็นแนวยาวจากเหนือลงมาเป็นสองด้าน คือทางด้านฝั่งทะเลญี่ปุ่น จะมีอากาศหนาวเย็น หิมะตกหนักในฤดูหนาว ในขณะที่ทางด้านฝั่งมหาสมุทรแปซิฟิกจะมีอากาศอบอุ่นกว่า ประชากรที่อาศัยอยู่ในแถบโทโฮกุ ปัจจุบันมีอยู่ประมาณ 9 ล้านคน ลดลงจากปี..

ใหม่!!: รัฐบาลโชกุนอาชิกางะและโทโฮกุ · ดูเพิ่มเติม »

ไดเมียว

ไดเมียว (แปลว่า มูลนาย) นั้นเป็นตำแหน่งเจ้าเมืองที่มีความสำคัญรองลงมาจากโชกุนและไดเมียวจากหลายตระกูลก็ได้เป็นโชกุนในเวลาต่อมา พวกตระกูลที่มีฐานะเป็นไดเมียวเรียกกันว่า โคตรตระกูล หมวดหมู่:ซะมุไร หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์ญี่ปุ่น หมวดหมู่:ไดเมียว.

ใหม่!!: รัฐบาลโชกุนอาชิกางะและไดเมียว · ดูเพิ่มเติม »

เคียวโตะ

ียวโตะ หรือ เกียวโต อาจหมายถึง.

ใหม่!!: รัฐบาลโชกุนอาชิกางะและเคียวโตะ · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Ashikaga shogunateรัฐบาลโชกุนมุโระมะชิรัฐบาลโชกุนมูโรมาจิรัฐบาลโชกุนอะชิกะงะรัฐบาลโชกุนอะชิคะงะ

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »