สารบัญ
16 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2526พ.ศ. 2549มีนาคมสยามอินเตอร์มัลติมีเดียสถานีโทรทัศน์คันไซสแควร์เอนิกซ์อะนิเมะคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลคอมิเก็ตประเทศไทยนวนิยายภาพโดจินชิเพลย์สเตชัน 2เซเน็ง26 กันยายน5 เมษายน
- การ์ตูนญี่ปุ่นแนวรหัสคดี
- การ์ตูนญี่ปุ่นแนวเขย่าขวัญ
- ซีรีส์อนิเมะทางโทรทัศน์ที่เริ่มออกอากาศตั้งแต่ พ.ศ. 2563
- ซีรีส์อนิเมะทางโทรทัศน์ที่เริ่มออกอากาศตั้งแต่ พ.ศ. 2564
- มังงะที่ตีพิมพ์ในปี พ.ศ. 2548
- มังงะที่ตีพิมพ์ในปี พ.ศ. 2565
- สตูดิโอดีน
- อนิเมะที่เลื่อนการฉายเนื่องจากการระบาดทั่วของโควิด-19
- อนิเมะและมังงะเกี่ยวกับจักรวาลคู่ขนาน
- เกมสำหรับเพลย์สเตชัน วิตา
- เมเดียลิงก์
พ.ศ. 2526
ทธศักราช 2526 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1983 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู ยามเมื่อเหล่าจักจั่นกรีดร้องและพ.ศ. 2526
พ.ศ. 2549
ทธศักราช 2549 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2006 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.
ดู ยามเมื่อเหล่าจักจั่นกรีดร้องและพ.ศ. 2549
มีนาคม
มีนาคม เป็นเดือนสามของปี ในทั้งปฏิทินเกรกอเรียนและปฏิทินจูเลียน เป็นหนึ่งในเจ็ดเดือนที่มี 31 วัน เดือนมีนาคมในซีกโลกเหนือมีฤดูกาลเทียบเท่ากับเดือนกันยายนในซีกโลกใต้ ในซีกโลกเหนือ วันที่ 1 มีนาคมเป็นวันเข้าสู่ฤดูใบไม้ผลิทางอุตุนิยมวิทยา ส่วนในซีกโลกใต้ วันเดียวกันเป็นการเข้าสู่ฤดูใบไม้ร่วงทางอุตุนิยมวิทยา เดือนมีนาคมมีวันในสัปดาห์เริ่มต้นตรงกับเดือนพฤศจิกายนทุกปี และเดือนกุมภาพันธ์เฉพาะปีปกติสุรทิน เดือนมีนาคมสิ้นสุดวันในสัปดาห์เดียวกับเดือนมิถุนายนทุกปี ในปีอธิกสุรทิน เดือนมีนาคมเริ่มต้นในวันเดียวกับเดือนกันยายนและธันวาคมของปีก่อนหน้า ในปีปกติสุรทิน เดือนมีนาคมเริ่มต้นในวันเดียวกับเดือนมิถุนายนปีก่อนหน้า คำว่า "March" ในภาษาอังกฤษ มาจากโรมโบราณ เมื่อเดือนมีนาคมเป็นเดือนแรกของปี และได้ชื่อภาษาละตินว่า "มาร์ติอุส" (Martius) ตามมาร์ส หรือแอรีส เทพแห่งสงครามของกรีก ในโรม ซึ่งมีลักษณะอากาศแบบเมดิเตอร์เรเนียน เดือนมีนาคมเป็นเดือนแรกของฤดูใบไม้ผลิ จุดเริ่มต้นปีตามหลักเหตุผล และการเริ่มต้นฤดูกาลศึกสงคราม เดือนมกราคมเป็นเดือนแรกของปีปฏิทินในรัชสมัยกษัตริย์นูมา ปอมปิเลียส (ประมาณ 713 ปีก่อน ค.ศ.) หรือในรัชสมัยกษัตริย์เดเซมวีร์ราว 450 ก่อน..
ดู ยามเมื่อเหล่าจักจั่นกรีดร้องและมีนาคม
สยามอินเตอร์มัลติมีเดีย
ริษัท สยาม อินเตอร์ มัลติมีเดีย จำกัด (มหาชน) (Siam Inter Multimedia Public Company Limited).
ดู ยามเมื่อเหล่าจักจั่นกรีดร้องและสยามอินเตอร์มัลติมีเดีย
สถานีโทรทัศน์คันไซ
ตราสัญลักษณ์เก่า ใช้ตั้งแต่ พ.ศ. 2507 - พ.ศ. 2558 คันไซเทเลแคสติงคอปอร์เรชัน (Kansai Telecasting Corporation ชื่อสถานี: สถานีโทรทัศน์คันไซ; ชื่อย่อ: KTV, 関テレ) เป็นสถานีโทรทัศน์หนึ่งในเครือข่ายฟุจินิวส์เน็ตเวิร์ก (FNN) และ ฟุจิเน็ตเวิร์กซิสเตม (FNS) ซึ่งเป็นสถานีเครือข่ายเดียวกันกับ สถานีโทรทัศน์ฟุจิ ตั้งอยู่ที่จังหวัดโอซะกะ ประเทศญี่ปุ่น แพร่ภาพในเขตพื้นที่ภูมิภาคคันไซ และเป็นบริษัทย่อยของฮันกีวฮันชินโตโฮกรุ๊ป (阪急阪神東宝グループ) KTV ก่อตั้งเมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ.
ดู ยามเมื่อเหล่าจักจั่นกรีดร้องและสถานีโทรทัศน์คันไซ
สแควร์เอนิกซ์
แควร์เอนิกซ์ หรือ บริษัท สแควร์เอนิกซ์ โฮลดิงส์ มหาชนจำกัด (株式会社スクウェア・エニックス・ホールディングス คะบุชิกิ-ไงฉะ ซุกุเอะอะ เอะนิกกุซุ โฮรุดิงงุซุ; Square Enix Holdings Co., Ltd) คือ ชื่อของบริษัทผลิตเกม โดยเกมที่มีชื่อเสียงคือเกมชุด ไฟนอลแฟนตาซี ดราก้อนเควสต์ และ คิงดอมฮาร์ต สำนักงานใหญ่อยู่ที่ โยะโยะงิ ในชิบุยะ เมืองโตเกียว สแควร์เอนิกซ์ เป็นบริษัทที่เกิดจากการควบรวมกิจการระหว่าง บริษัทสแควร์ และ เอนิกซ์ ซึ่งมีผลตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน พ.ศ.
ดู ยามเมื่อเหล่าจักจั่นกรีดร้องและสแควร์เอนิกซ์
อะนิเมะ
รูปแบบอะนิเมะในปัจจุบัน อะนิเมะ (「アニメ」 anime) เป็นคำภาษาญี่ปุ่นที่มาจากภาษาอังกฤษว่า แอนิเมชั่น (animation) ซึ่งมาจาก ภาษาฝรั่งเศส อานีเม่ (animé) และจากภาษาละติน แปลว่าเคลื่อนไหว หรือภาพเคลื่อนไหว แต่ความหมายกลายจนเป็นคำเฉพาะของภาษาญี่ปุ่นแปลว่า ภาพยนตร์การ์ตูน ภายนอกประเทศญี่ปุ่น อะนิเมะหมายถึงภาพยนตร์การ์ตูนสัญชาติญี่ปุ่น ซึ่งส่วนใหญ่มีลักษณะทางศิลปะแตกต่างกับภาพยนตร์การ์ตูนจากแหล่งอื่น อะนิเมะส่วนใหญ่จะวาดขึ้นด้วยมือ แต่ปัจจุบันมีการนำคอมพิวเตอร์มาช่วยสร้างอะนิเมะอย่างแพร่หลาย อะนิเมะส่วนใหญ่สร้างขึ้นเพื่อให้ความบันเทิงเหมือนภาพยนตร์ โดยมีแนวเรื่องหลากหลายและครอบคลุมแนววรรณกรรมเกือบทุกแนว อะนิเมะส่วนใหญ่ถูกสร้างขึ้นเป็นตอน ๆ เพื่อฉายทางโทรทัศน์ ส่วนหนึ่งถูกสร้างเป็นภาพยนตร์การ์ตูนเรื่องยาวเพื่อฉายในโรงภาพยนตร์ และอีกส่วนหนึ่งถูกสร้างเป็นตอน ๆ เพื่อขายตรงในรูปแบบดีวีดี วีซีดี หรือวีดิโอ ดูมีการทำตอนเฉพาะที่เรียกว่า โอวีเอ อะนิเมะหลายเรื่องถูกดัดแปลงมาจากมังงะ นอกจากนี้ยังมีอะนิเมะที่ถูกนำไปดัดแปลงเป็นละครโทรทัศน์อีกด้ว.
ดู ยามเมื่อเหล่าจักจั่นกรีดร้องและอะนิเมะ
คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
วามหมายอื่น|PC แก้ความ ไฟล์:ashton 01.svg|thumbภาพวาดของgmail.com เครื่องพีซีอาจเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้ประจำบ้าน (home computer) หรืออาจพบใช้ในงานสำนักงานที่มักจะเชื่อมต่อกันเป็นระบบเครือข่ายท้องถิ่น (local area network) ลักษณะเด่นจะเป็นเครื่องที่ถูกใช้งานโดยคนเพียงคนเดียว ซึ่งต่างจากระบบประมวลผลแบบ batch processing หรือ time-sharing ที่มีความซับซ้อน ราคาแพง มีการใช้งานจากคนหมู่มากพร้อม ๆ กัน หรือระบบประมวลผลข้อมูลขนาดใหญ่ที่ต้องการทีมทำงานเต็มเวลาคอยควบคุมการทำงาน ผู้ใช้ "PC" ในยุคแรกต้องเขียนโปรแกรมขึ้นใช้งานเอง แต่มาในปัจจุบัน ผู้ใช้มีโปรแกรมให้เลือกใช้ที่หลากหลายทั้งแบบที่ซื้อขายเชิงพาณิชย์และไม่เชิงพาณิชย์ ซึ่งล้วนแล้วแต่ติดตั้งได้ง่าย คำว่า "คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล" เริ่มมีใช้ตั้งแต่ พ.ศ.
ดู ยามเมื่อเหล่าจักจั่นกรีดร้องและคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
คอมิเก็ต
การเข้าแถวเพื่อเข้าสู่งานคอมิเก็ต คอมิเก็ต หรือ คอมิก มาร์เก็ต (Comiket หรือ Comic Market) เป็นงานขายตรงโดจินชิที่ใหญ่ที่สุดในโลก จัดขึ้นที่โตเกียวบิกไซต์ ในกรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น ปีละสองครั้ง งานคอมิเก็ตครั้งแรกจัดขึ้นในเดือนธันวาคม พ.ศ.
ดู ยามเมื่อเหล่าจักจั่นกรีดร้องและคอมิเก็ต
ประเทศไทย
ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.
ดู ยามเมื่อเหล่าจักจั่นกรีดร้องและประเทศไทย
นวนิยายภาพ
นิยายภาพ คือบทประพันธ์ไม่ว่าจะร้อยแก้วหรือร้อยกรองอันมีภาพประกอบเหตุการณ์ในเนื้อเรื่อง แต่จะไม่เน้นการใช้ภาพในการดำเนินเรื่องเป็นหลักแบบการ์ตูน หมวดหมู่:วรรณกรรม.
ดู ยามเมื่อเหล่าจักจั่นกรีดร้องและนวนิยายภาพ
โดจินชิ
โดจินชิ หมายถึง สื่อสัญชาติญี่ปุ่นที่สร้างและจัดจำหน่ายโดยมือสมัครเล่น โดยอาจเป็นมังงะ อะนิเมะ นิยาย หนังสือรวมภาพเขียนหรืองานศิลปะ หรือวิดีโอเกม อย่างไรก็ดีศิลปินอาชีพหลายคนตีพิมพ์โดจินชิเพื่อเผยแพร่ผลงานของตนโดยไม่ผ่านสำนักพิมพ์ คำว่าโดจินชิสร้างมาจากคำว่า 同人 ซึ่งแปลว่า "กลุ่มคนที่มีความสนใจแบบเดียวกัน" และ 誌 ซึ่งแปลว่า "นิตยสาร" หรือ "การเผยแพร่" กลุ่มผู้สร้างโดจินชิมักเรียกตัวเองว่า "เซอร์เคิล" (サークル, circle) โดจินชิโดยส่วนมากจะเขียนโดยแฟนๆ ของการ์ตูนที่ได้รับความนิยม โดยนำตัวละครจากการ์ตูนที่ชื่นชอบมาเขียนเรื่องราวเพิ่มเติมออกไปตามแต่จินตนาการของแฟนๆ นับเป็นการตอบสนองความต้องการของแฟนการ์ตูนในแบบหนึ่ง อย่างไรก็ดีโดจินชิก็สามารถเป็นเรื่องที่ผู้วาดแต่งขึ้นมาเองก็ได้ เป็นทางเลือกสำหรับศิลปินหรือนักประพันธ์ที่ต้องการเผยแพร่ผลงานโดยไม่ต้องผ่านการกลั่นกรองหรือประเมินคุณค่าจากสำนักพิมพ์ การเผยแพร่ทำได้โดยจำหน่ายผลงานของตนได้ในงานขายตรงโดจินชิ ที่ใหญ่ที่สุดคืองานคอมิเก็ตจัดในหน้าร้อนและหน้าหนาวของทุกปีที่โตเกียวบิ๊กไซต์ มีผู้เข้าร่วมงานไม่ต่ำกว่าครั้งละ 400,000 คน นอกจากนี้ปัจจุบันนักเขียนโดจินชิยังสามารถจำหน่ายผลงานทางอินเทอร์เน็ต หรือทางร้านหนังสือซึ่งขายเฉพาะโดจินชิได้อีกด้วย นักเขียนการ์ตูนชาวญี่ปุ่นชื่อดังหลายคน อาทิ เคน อาคามัตสึ, คิโยฮิโกะ อะสึมะ, และCLAMP เผยแพร่ผลงานของตนในระยะแรกๆ เป็นโดจินชิ และปัจจุบันก็มีนักเขียนการ์ตูน นักออกแบบตัวละคร และศิลปินมีออาชีพหลายคนที่ยังเขียนโดจินชิควบคู่กับงานหลักไปด้วย เช่น มาริโอะ คาเนดะ, เคจิ โกโต, และ โทนี ทากะ ปัจจุบันการเขียนโดจินชิได้รับความนิยมมากขึ้นเรื่อยๆ ในประเทศไทย โดยมีการจัดงานขายตรงโดจินเป็นระยะๆ ตลอดทั้งปี อาทิ งานโคมิคอนโรด, งานคอมิกซีซัน เป็นต้น บางครั้งการ์ตูนโป๊ที่เป็นลายเส้นแบบการ์ตูนญี่ปุ่นอาจถูกเรียกรวม ๆ ว่าโดจินชิ เพื่อเลี่ยงการกล่าวถึงโดยตรง แม้ว่าโดจินชิไม่จำเป็นต้องมีฉากลามกอนาจารเสมอไปก็ตาม บางครั้งโดจินชิยังอาจหมายความเฉพาะเจาะจงถึงการ์ตูนยะโอะอิ (ชายรักชาย) หรือการ์ตูนยุริ (หญิงรักหญิง) หมวดหมู่:การ์ตูนญี่ปุ่น.
ดู ยามเมื่อเหล่าจักจั่นกรีดร้องและโดจินชิ
เพลย์สเตชัน 2
ลย์สเตชัน 2 (อังกฤษ: PlayStation 2; ญี่ปุ่น: プレイステーション2) หรือที่รู้จักกันในชื่อ พีเอสทู (PS2) เป็น เครื่องเล่นวิดีโอเกม ที่ผลิตโดย โซนี่คอมพิวเตอร์เอนเตอร์เทนเมนท์ พัฒนาต่อมาจากเพลย์สเตชัน การพัฒนาเริ่มต้นในเดือนเมษายน พ.ศ.
ดู ยามเมื่อเหล่าจักจั่นกรีดร้องและเพลย์สเตชัน 2
เซเน็ง
ซเน็ง เป็นแนวการ์ตูนญี่ปุ่นที่เน้นกลุ่มผู้ชายอายุ 18-25 ปีเป็นกลุ่มเป้าหมายหลัก มีเนื้อหาที่หลากหลาย เช่น แนวทดลอง แนวเน้นความน่ารักของตัวละครเป็นจุดขาย และแนวที่เน้นความรุนแรง ด้วยเหตุนี้การ์ตูนแนวเซเน็งหลายเรื่องจึงถูกจัดอยู่ในกลุ่มโชโจะ และโชเน็น ด้วย การที่จะบอกว่าการ์ตูนเรื่องใดเป็นการ์ตูนเซเน็งคือการดูว่าตัวอักษรคันจิเป็นตัวอะไร ถ้ามีกำกับส่วนมากจะเป็นแนวเซเน็ง ถ้าไม่มีแสดงว่าการ์ตูนเรื่องนั้นมีเป้าหมายเป็นกลุ่มอื่น การดูนิตยสารที่ตีพิมพ์ก็เป็นอีกวิธีหนึ่ง โดยนิตยสารการ์ตูนที่ขึ้นต้นชื่อด้วยคำว่า "ยัง" (young) คือ ต่ำกว่า 16 ห้ามอ่าน มักจะเป็นนิตยสารการ์ตูนเซเน็ง เช่น ยังจัมป์ ยังแอนิมอล เป็นต้น นิตยสารการ์ตูนเซเน็ง อื่น ๆ ที่มีชื่อเสียง ได้แก่ อุลตร้าจัมป์ อาฟเตอร์นูน และบิ๊กคอมิก.
ดู ยามเมื่อเหล่าจักจั่นกรีดร้องและเซเน็ง
26 กันยายน
วันที่ 26 กันยายน เป็นวันที่ 269 ของปี (วันที่ 270 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 96 วันในปีนั้น.
ดู ยามเมื่อเหล่าจักจั่นกรีดร้องและ26 กันยายน
5 เมษายน
วันที่ 5 เมษายน เป็นวันที่ 95 ของปี (วันที่ 96 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 270 วันในปีนั้น.
ดู ยามเมื่อเหล่าจักจั่นกรีดร้องและ5 เมษายน
ดูเพิ่มเติม
การ์ตูนญี่ปุ่นแนวรหัสคดี
- การหายตัวไปของสึซึมิยะ ฮารุฮิ
- คนปีศาจ
- คนสืบผี
- คินดะอิจิ กับคดีฆาตกรรมปริศนา
- จอมโจรอัจฉริยะ
- ตามล่านักฆ่าแอนดรอยด์
- ทเวนตี้เซนจูรี่บอย
- นัตซึเมะกับบันทึกพิศวง
- บันทึกมรณะ เกมล่าท้าอนาคต
- ปกรณัมของเหล่าภูต
- ปริศนาความทรงจำ
- ยามเมื่อเหล่าจักจั่นกรีดร้อง
- อนาเธอร์
- อภิมหาบรรลัยกัลป์
- อีเดน ออฟ ดิ อีสท์
- เซ็ตไตโชเน็น
- เดธโน้ต
- เทคก้าแมนเบลด
- แมดแลกซ์
- โรงเรียนนักสืบ Q
- โลกใหม่หมายเลขหก
การ์ตูนญี่ปุ่นแนวเขย่าขวัญ
- กายเวอร์ อมนุษย์เกราะชีวะ
- ภารกิจล้างพันธุ์นรก
- ยามเมื่อเหล่าจักจั่นกรีดร้อง
- อนาเธอร์
ซีรีส์อนิเมะทางโทรทัศน์ที่เริ่มออกอากาศตั้งแต่ พ.ศ. 2563
- การ์ดไฟท์!! แวนการ์ด
- พี่น้องปริศนาโรงเรียนมหาเวท
- ยามเมื่อเหล่าจักจั่นกรีดร้อง
- รับน้องกระต่ายซักแก้วมั้ยคะ?
- เรลกัน แฟ้มลับคดีวิทยาศาสตร์
- เสน่ห์สาวข้าวปั้น
- ไดตะลุยแดนเวทมนตร์
ซีรีส์อนิเมะทางโทรทัศน์ที่เริ่มออกอากาศตั้งแต่ พ.ศ. 2564
- การ์ดไฟท์!! แวนการ์ด
- พี่น้องปริศนาโรงเรียนมหาเวท
- ยามเมื่อเหล่าจักจั่นกรีดร้อง
- ราชันย์แห่งภูต
- ศึกตำนาน 7 อัศวิน
- เสน่ห์สาวข้าวปั้น
- โยไควอทช์
มังงะที่ตีพิมพ์ในปี พ.ศ. 2548
- Ef: A Fairy Tale of the Two.
- NG ไลฟ์
- กัปตันซึบาสะ
- ครอสเกม
- คาแรคเตอร์ผู้พิทักษ์
- ชานะ นักรบเนตรอัคคี
- ซาโยนาระ คุณครูผู้สิ้นหวัง
- ซินามอโรล
- ซี.เอ็ม.บี. พิพิธภัณฑ์พิศวง
- ตำนานประหลาดสุนัขทั้งแปดแห่งบูรพาทิศ
- ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส สงครามจักรกลทะลุจักรวาล
- บากิ
- ปริศนารักสลักแค้นข้ามภพ
- ผมน่ะหรือคือราชาปีศาจ!
- ผ่ากฎอลเวง
- ฝากใจไปถึงเธอ
- มหัศจรรย์สาวน้อย พริตตี้เคียว
- มหาสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์
- ยมทูตสีขาว
- ยามเมื่อเหล่าจักจั่นกรีดร้อง
- สงครามเวหา ฟาฟเนอร์
- สตรอเบอรี่ พานิค!
- สัญญามรณะ ธิดาอเวจี
- สามพลังป่วนพิทักษ์โลก
- สึซึมิยะ ฮารุฮิ
- อัฟกานิสตัง
- อิคิงามิ สาส์นสั่งตาย
- เกมกลคนอัจฉริยะ GX
- เกมหลอก คนลวง
- เกราะเหล็กไหล ไลน์บาร์เรลส์
- เค็งโก เซ็นระเค ซุอิเอบุ อุมิโช
- เจ้าหญิงคิลาล่า
- เจ้าหญิงปีศาจ
- เจ้าหญิงแฝดแห่งแดนมหัศจรรย์
- เจ้าหนูนักซิ่งสิงห์ภูเขา
- เซเว่นโกสต์
- แคลนนาด (วิชวลโนเวล)
- แบล็กแจ็ก หมอปีศาจ
- แองเจิ้ลสาวพิทักษ์จักรวาล
- โคโดโมะ โนะ จิคัง
- โชเน็น อนเมียวจิ จอมเวทปราบมาร
- โรงเรียนวุ่น ชุลมุนอลเวง
มังงะที่ตีพิมพ์ในปี พ.ศ. 2565
- กัชเบล
- ยามเมื่อเหล่าจักจั่นกรีดร้อง
- ศึกวิหารเทพเจ้า
- เซนต์เซย์ย่า
- โกลด์ไลตัน
- โมบิลสูท กันดั้ม
สตูดิโอดีน
- Get Ride! แอมไดรเวอร์
- ซามูไรดีปเปอร์ เคียว
- ซีปัง
- ตำนานประหลาดสุนัขทั้งแปดแห่งบูรพาทิศ
- ท่านมาเรียมองเราอยู่นะ
- นูระหลานจอมภูต
- ประธานนักเรียนสุดซ่า สภานักเรียนสุดป่วน
- ผมน่ะหรือคือราชาปีศาจ!
- ผ่ากฎอลเวง
- พริ้นเซส พริ้นเซส
- พลังอักษะ เฮตาเลีย
- มหาสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์
- ยามเมื่อเหล่าจักจั่นกรีดร้อง
- ศึกตำนาน 7 อัศวิน
- สัญญามรณะ ธิดาอเวจี
- อิกโคคุ บ้านพักหรรษา
- อินิเชียล ดี
- ฮาเมรุน แห่งบทเพลงกำราบมาร
- เกมมหัศจรรย์คนพันลึก
- เก็ตแบ็คเกอร์ (อย่างนี้ต้องเอาคืน)
- เซเว่นโกสต์
- เรฟ ผจญภัยเหนือโลก
- เสน่ห์สาวข้าวปั้น
- แวมไพร์ไนท์
- โชเน็น อนเมียวจิ จอมเวทปราบมาร
- โรเซน ไมเดน
- โลกบ้องแบ๊วของแมวตัวกลม
- ไชน์นิงเทียร์ส ครอส วินด์
อนิเมะที่เลื่อนการฉายเนื่องจากการระบาดทั่วของโควิด-19
- การ์ดไฟท์!! แวนการ์ด
- ยามเมื่อเหล่าจักจั่นกรีดร้อง
- หนูน้อยจอมซ่า มารุโกะจัง
- อันปังแมน
อนิเมะและมังงะเกี่ยวกับจักรวาลคู่ขนาน
- ดิจิมอนครอสวอร์ส
- ดิจิมอนฟรอนเทียร์
- ดิจิมอนเซฟเวอร์ส
- ดิจิมอนเทมเมอร์ส
- ดิจิมอนแอดเวนเจอร์
- ดิจิมอนแอดเวนเจอร์ 02
- ดิจิมอนแอดเวนเจอร์ tri.
- บันทึกมรณะ เกมล่าท้าอนาคต
- บาคุกัน มอนสเตอร์บอลทะลุมิติ
- ผู้กล้าซึนซ่าส์กับจอมมารสู้ชีวิต!
- ยามเมื่อเหล่าจักจั่นกรีดร้อง
- สัญญามรณะ ธิดาอเวจี
- สึบาสะ สงครามเทพข้ามมิติ
เกมสำหรับเพลย์สเตชัน วิตา
- กริม ฟันดันโก
- คันไตคอลเลกชัน
- คาออส;เฮด
- คาเมนไรเดอร์ แบทไทรด์วอร์ส
- ซากุระโซว หอพักสร้างฝัน
- ซามูไรวอริเออร์ 2
- ดราก้อนเควสต์ บิลเดอร์
- ดิ อะเมซิ่ง สไปเดอร์แมน (วิดีโอเกม พ.ศ. 2555)
- นีดฟอร์สปีด: โมสท์วอนเต็ด (วิดีโอเกม พ.ศ. 2555)
- บุษบาภาษาศิลป์
- พิชิตรัก พิทักษ์โลก
- พี่น้องปริศนาโรงเรียนมหาเวท
- ฟรุตนินจา
- ฟีฟ่า 14
- ฟีฟ่า 15
- มหาสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์
- มาร์เวลพินบอล
- ยามเมื่อเหล่าจักจั่นกรีดร้อง
- รักลวงป่วนใจ
- รีไรต์
- ลิตเติลบัสเตอส์!
- วอริเออร์โอโรจิ 3
- สาวน้อยเวทมนตร์ มาโดกะ
- สไตนส์;เกท
- อันเดอร์เทล
- อัลติเมตมาร์เวล vs. แคปคอม 3
- อัสแซสซินส์ครีด 3: ลิเบอเรชัน
- อัสแซสซินส์ครีด โครนิเคิล
- อินจัสติส: ก็อดส์อมองอัส
- เจสตาร์วิกตอรีวีเอส
- เจ็ตแพก จอยไรด์
- เดอะวอล์กกิงเดด (วิดีโอเกม)
- เทพพิทักษ์จอมยุ่ง เนียลโกะ
- เทวทูตแห่งโลกมืด
- เทอราเรีย
- เพอร์โซนา 4
- เรย์แมน เลเจนดส์
- เลิฟไลฟ์! ปฏิบัติการไอดอลจำเป็น
- เวิลด์ ทริกเกอร์
- แคลนนาด (วิชวลโนเวล)
- แองเจลีค
- แอร์ (วิชวลโนเวล)
- แอ็งกรีเบิดส์ สตาร์วอร์ส
- ไดนาสตีวอริเออร์ 8
- ไมน์คราฟต์
- ไมน์คราฟต์: สตอรีโหมด
- ไมเคิลแจ็กสัน: ดิเอกซพีเรียนซ์
เมเดียลิงก์
- A แชนแนล สี่แสบซ่า บ้าขั้นเอ
- กินทามะ
- คนเก่งทะลุโลก
- คุโรโกะ นายจืดพลิกสังเวียนบาส
- ซากุระ มือปราบไพ่ทาโรต์
- มายฮีโร่ อคาเดเมีย
- ยอดนักปรุงโซมะ
- ยามเมื่อเหล่าจักจั่นกรีดร้อง
- ยูกิโอ ดูเอลมอนสเตอร์
- อินิเชียล ดี
- แขนกล คนแปรธาตุ: บราเธอร์ฮูด
- โค้ด กีอัส
- โซลอีทเตอร์
- โตเกียวกูล
- โนเกม โนไลฟ์
- โยไควอทช์
- โรงเรียนเฮฟเว่น (การ์ตูน)
- ไซเบอร์ฟอร์มูล่า
- ไฮคิว!! คู่ตบฟ้าประทาน
หรือที่รู้จักกันในชื่อ HigurashiHigurashi no Naku Koro niฮิกุระชิ โนะ นะคุ โคะโระ นิฮิกุราชิแว่วเสียงเรไร