สารบัญ
15 ความสัมพันธ์: บันเทิงคดีแนววิทยาศาสตร์การฆ่าคนการ์ตูนญี่ปุ่นวิชวลโนเวลวิดีโอเกมวิดีโอเกมผู้เล่นคนเดียวสำนักพิมพ์คะโดะกะวะดีวีดีไมโครซอฟท์ วินโดวส์ไอโอเอสเพลย์สเตชันพอร์เทเบิลเอกซ์บอกซ์ 36014 กันยายน6 เมษายน720p
- มังงะของสำนักพิมพ์คาโดกาวะโชเต็ง
- มังงะที่ตีพิมพ์ในปี พ.ศ. 2553
- มังงะที่ตีพิมพ์ในปี พ.ศ. 2554
- มังงะที่ตีพิมพ์ในปี พ.ศ. 2555
- วิดีโอเกมที่มีฉากในโตเกียว
- วิดีโอเกมที่ออกวางจำหน่ายในปี พ.ศ. 2552
- วิดีโอเกมประวัติศาสตร์ประยุกต์
- วิดีโอเกมเกี่ยวกับการเดินทางข้ามเวลา
- เกมสำหรับเพลย์สเตชัน วิตา
บันเทิงคดีแนววิทยาศาสตร์
ันเทิงคดีแนววิทยาศาสตร์ หรือ ไซไฟเป็นนิยายที่เสนอมุมมองเกี่ยวกับผลกระทบต่อบุคคลหรือสังคม จากวิทยาศาสตร์หรือเทคโนโลยีในจินตนาการ.
ดู สไตนส์;เกทและบันเทิงคดีแนววิทยาศาสตร์
การฆ่าคน
การฆ่าคน (murder) เป็นการกระทำให้มนุษย์ถึงแก่ความตาย จัดเป็นอาชญากรรมประเภทหนึ่ง ทางนิติศาสตร์แบ่งเป็นสองประเภท คือ การทำให้คนตายโดยเจตนา (homicide) และการทำให้คนตายโดยไม่เจตนา (manslaughter) การฆ่าคนทั้งสองประเภท ผู้กระทำต้องระวางโทษหนักหรือเบาตามกฎหมายแล้วแต่กรณี.
การ์ตูนญี่ปุ่น
การ์ตูนญี่ปุ่น เป็นคำที่ใช้เรียก หนังสือการ์ตูน หรือภาพยนตร์การ์ตูนที่มาจากประเทศญี่ปุ่น ลักษณะของการ์ตูนญี่ปุ่น ตัวละครในเนื้อเรื่องจะมีลักษณะเฉพาะตัว และเนื้อเรื่องที่แตกต่างกัน โดยส่วนมากแล้ว ภาพของคนและสัตว์ที่ปรากฏในการ์ตูนญี่ปุ่นมักจะมีสัดส่วนผิดเพี้ยนไปจากความจริง เช่นมีทรวดทรงที่เล็ก-ใหญ่กว่าปกติ หรือดวงตาที่โตกว่าปกติ แตกต่างจากการ์ตูนฝั่งตะวันตกที่มักจะเขียนภาพคนและสัตว์ออกมาในลักษณะเหมือนจริง ในภาษาญี่ปุ่นและหลายประเทศที่รับเอาวัฒนธรรมการ์ตูนญี่ปุ่นเข้าไปจะเรียกหนังสือการ์ตูนญี่ปุ่นเป็นศัพท์เฉพาะว่า มังงะ และเรียกภาพยนตร์การ์ตูนจากญี่ปุ่นว่า อะนิเมะ (ตัดทอนมาจากคำว่า Animation ในภาษาอังกฤษ).
ดู สไตนส์;เกทและการ์ตูนญี่ปุ่น
วิชวลโนเวล
วิชวลโนเวล เป็นประเภทของวิดีโอเกมที่มีจุดเด่นที่กราฟิก ซึ่งมักจะเป็นภาพแบบการ์ตูนญี่ปุ่น เนื้อหาของเกมเป็นแบบอินเตอแรกทีฟ คือเป็นการดำเนินเรื่องโต้ตอบกับตัวละครต่าง ๆ.
วิดีโอเกม
กม ''ป็อง'' ถือได้ว่าเป็นวิดีโอเกมส์ชนิดแรกที่เกิดขึ้น เกม ''Space Invaders'' เป็นอีกหนึ่งเกมดังในยุคกำลังพัฒนาของวิดีโอเกม เกม ''Pac-Man'' เป็นเกมที่โด่งดังที่สุดในขณะวิดีโอเกมกำลังพัฒนา วิดีโอเกม (Video game) คือ เครื่องเกมอิเล็กทรอนิกส์ที่มนุษย์ใช้ส่วนต่อประสานกับผู้ใช้ (user interface) ส่งผลการกระทำ (input) กลับเข้าไปยังหน่วยประมวลผลกลาง (Central Processor Unit) ในตัวเครื่อง ให้คิดคำนวณแล้วแสดงผลโต้ตอบกลับมาด้วย แสง-เสียง-การสั่น-หรือภาพบนจอภาพ วิดีโอ คำว่า วิดีโอ ในวิดีโอเกม แต่เดิมหมายถึงอุปกรณ์แสดงภาพแบบแรสเตอร์ แต่ปัจจุบันสามารถใช้เรียกอุปกรณ์แสดงภาพใด ๆ ก็ได้ที่สร้างภาพสองมิติหรือสามมิติขึ้นมา ตัวอย่างเช่นคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล และเครื่องเล่นวิดีโอเกม อุปกรณ์เหล่านี้เป็นไปได้ตั้งแต่เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ ไปจนถึงอุปกรณ์มือถือขนาดเล็ก วิดีโอเกมแบบเฉพาะอย่างเช่น เกมตู้ เคยมีแพร่หลายในอดีต แต่ปัจจุบันค่อย ๆ มีใช้น้อยลง วิดีโอเกมได้พัฒนาไปจนกลายเป็นอุตสาหกรรมและงานศิลปะ อุปกรณ์นำข้อมูลเข้าเป็นที่ใช้กันในการบังคับวิดีโอเกมเรียกว่า อุปกรณ์ควบคุมเกม (game controller) และแตกต่างกันไปในเครื่องเล่นแบบต่าง ๆ ตัวอย่างเช่น อุปกรณ์ควบคุมอาจประกอบด้วยเพียงแค่ปุ่มกดและก้านควบคุม (joystick) หรืออาจมีปุ่มกดถึงสิบปุ่ม และอาจจะมีมากกว่าหนึ่งก้านควบคุมก็ได้ เกมคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลยุคแรกจำเป็นต้องใช้คีย์บอร์ดในการเล่นเกม หรือต้องการให้ผู้ใช้ซื้อก้านควบคุมที่มีปุ่มกดอย่างน้อยหนึ่งปุ่มด้วย เกมคอมพิวเตอร์สมัยใหม่จำนวนมากให้ผู้เล่นหรือต้องการให้ผู้เล่นใช้คีย์บอร์ดควบคู่ไปกับเมาส์ อุปกรณ์ควบคุมเกมที่พบได้บ่อยกันคือ เกมแพด เมาส์ คีย์บอร์ด และก้านควบคุม ในหลายปีที่ผ่านมานี้ มีวิธีการนำข้อมูลเข้าเพิ่มเติมเช่น การให้ผู้เล่นสังเกตการณ์ในเครื่องเล่นที่ใช้กล้อง และระบบจอสัมผัสบนโทรศัพท์มือถือ วิดีโอเกมโดยทั่วไปใช้วิธีการเพิ่มเติมมากมายเพื่อสร้างปฏิสัมพันธ์และสารสนเทศให้กับผู้เล่น เสียงออดิโอในวิดีเกมนั้นเกือบจะเป็นสากล คือใช้อุปกรณ์ผลิตเสียง อย่างเช่น ลำโพง และหูฟัง ผลป้อนกลับอาจมาจากอุปกรณ์ต่อพ่วงสัมผัส (haptic peripheral) เช่นระบบการสั่น หรือผลป้อนกลับโดยใช้กำลัง (force feedback) บางครั้งการสั่นใช้กระตุ้นผลป้อนกลับแบบใช้กำลัง ผู้เล่นบางส่วนเชื่อว่าวิดีโอเกมสามารถพัฒนาทักษะทางจิตใจได้.
วิดีโอเกมผู้เล่นคนเดียว
วิดีโอเกมผู้เล่นคนเดียว (Single-player video game) หรือ โหมดผู้เล่นคนเดียว คือโหมดการเล่นมาตรฐานแบบหนึ่งของเกมคอมพิวเตอร์แบบออฟไลน์ทั่วไป ซึ่งตัวเกมจะรองรับให้ผู้เล่นคนเดียวดำเนินบทบาทตามเนื้อเรื่องจนจบ คำว่า "เกมผู้เล่นคนเดียว" มักจะหมายถึง เกมที่สามารถเล่นได้เพียงคนเดียว ในขณะที่ "โหมดผู้เล่นคนเดียว" หมายถึง ผู้เล่นสามารถปรับเลือกที่จะเล่นโหมดหลายผู้เล่นได้ เกมคอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่ในยุคเริ่มต้นมักจะเป็นเกมผู้เล่นคนเดียว ขณะที่เกมสองผู้เล่นได้ปรากฏขึ้นพร้อมกับคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล และในปี ค.ศ.
ดู สไตนส์;เกทและวิดีโอเกมผู้เล่นคนเดียว
สำนักพิมพ์คะโดะกะวะ
ริษัทคะโดะกะวะโชะเท็งจำกัด (株式会社角川書店, Kabushiki-gaisha Kadokawa Shoten) สำนักพิมพ์ยักษ์ใหญ่ของญี่ปุ่นอีกบรัษัทหนึ่ง ตั้งอยู่ในกรุงโตเกียว คาโดคาวะ งานพิมพ์เป็นหนังสือประเภทคอมมิค และนิตยสารการ์ตูน อาทิเช่น นิวไทป์ เป็นต้น และเมื่อไม่นานมานี้ ได้ขยายงานเกี่ยวกับด้านมัลติมีเดีย (วิดีโอเกม) และ ภาพยนตร์ อีกด้วย (คะโดะกะวะพิกเชอร์).
ดู สไตนส์;เกทและสำนักพิมพ์คะโดะกะวะ
ดีวีดี
right ดีวีดี (Digital Versatile Disc; ชื่อย่อ DVD) เป็นแผ่นข้อมูลแบบบันทึกด้วยแสง (optical disc) ที่ใช้บันทึกข้อมูลต่างๆ เช่น ภาพยนตร์ โดยให้คุณภาพของภาพและเสียงที่ดี ดีวีดีถูกพัฒนามาใช้แทนซีดีรอม โดยใช้แผ่นที่มีขนาดเดียวกัน (เส้นผ่าศูนย์กลาง 12 เซนติเมตร) แต่ว่าใช้การบันทึกข้อมูลที่แตกต่างกัน และความละเอียดในการบันทึกที่หนาแน่นกว่า เดิมทีดีวีดีมาจากชื่อย่อว่า digital video disc แต่ในภายหลังผู้ผลิตบางรายเห็นว่าควรเปลี่ยนชื่อเป็น digital versatile disc ปัจจุบันตามคำนิยามอย่างเป็นทางการแล้ว DVD ไม่ได้ย่อมาจากชื่อเต็มแต่อย่างใด ความเร็วในการเขียนแผ่นดีวีดี 1x มีค่าเท่ากับ 10.5 Mb/s หรือราวๆ 1.32 MB/s เครื่องเขียนแผ่นดีวีดี (DVD Writer) คือ เครื่องสำหรับการบันทึกข้อมูลลงบนแผ่นดีวีดี.
ไมโครซอฟท์ วินโดวส์
มโครซอฟท์ วินโดวส์ (Microsoft Windows) เป็นระบบปฏิบัติการ ซึ่งพัฒนาโดยบริษัทไมโครซอฟท์ เปิดตัวเมื่อปี พ.ศ. 2528 (ค.ศ. 1985 โดยรุ่นแรกของวินโดวส์ คือ วินโดวส์ 1.0) และครองความนิยมในตลาดคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล มากกว่า 90% ของการใช้งานทั่วโลก รายละเอียดโดยสังเขปของวินโดวส์รุ่นต่างๆ เรียงตามลำดับการเปิดตัว เป็นดังนี้.
ดู สไตนส์;เกทและไมโครซอฟท์ วินโดวส์
ไอโอเอส
อโอเอส (ก่อนหน้านี้ใช้ชื่อ ไอโฟนโอเอส) คือระบบปฏิบัติการบนอุปกรณ์พกพา (สมาร์ตโฟน,แท็บเล็ตคอมพิวเตอร์) พัฒนาและจำหน่ายโดยแอปเปิล (บริษัท) เปิดตัวครั้งแรกในปี 2007 เพื่อใช้บนไอโฟน และได้มีการพัฒนาเพิ่มเติมเพื่อใช้บนอุปกรณ์พกพาอื่นๆ ของแอปเปิล เช่น ไอพอดทัช (ในเดือนกันยายน 2007), ไอแพด (ในเดือนมกราคม 2010), ไอแพด มินิ (พฤศจิกายน 2012) และ แอปเปิลทีวี รุ่นที่ 2 (ในเดือนกันยายน 2010) ไอโอเอสแตกต่างจากวินโดวส์โฟนของไมโครซอฟท์และแอนดรอยด์ (ระบบปฏิบัติการ)ของกูเกิล ตรงที่แอปเปิลไม่อนุญาตให้นำไอโอเอสไปติดตั้งบนอุปกรณ์ที่ไม่ใช่อุปกรณ์ของแอปเปิล ในเดือนสิงหาคม 2013 แอปสโตร์ของแอปเปิลมีแอปพลิเคชันมากกว่า 900,000 แอปพลิเคชัน และ 375,000 ที่ออกแบบมาเพื่อ ไอแพด แอปพลิเคชันเหล่านี้มียอดดาวโหลดน์รวมกันมากกว่า 5 หมื่นล้านครั้ง ไอโอเอสมีส่วนแบ่ง 21% ของส่วนแบ่งระบบปฏิบัติการบนอุปกรณ์พกพาในไตรมาสที่ 4 ของปี 2012 ซึ่งเป็นรองจากแอนดรอยของกูเกิลเท่านั้น ในเดือนมิถุนายน 2012 ไอโอเอสมีส่วนแบ่งคิดเป็น 65% ของการบริโภคข้อมูลบนอุปกรณ์พกพา (ซึ่งรวม ไอพอดทัช และ ไอแพด) ในกลางปี 2012 มีอุปกรณ์ไอโอเอสมากกว่า 410 ล้านเครื่องที่เปิดใช้งาน จากการอ้างอิงจากงานแถลงเปิดตัวต่อสื่อโดยแอปเปิลใน วันที่ 12 กันยายน 2012 มีอุปกรณ์ไอโอเอส 400 ล้านตัวที่จำหน่ายไปแล้วในเดือนมิถุนายน 2012 ส่วนต่อประสานกับผู้ใช้ (user interface) ของไอโอเอสมีพื้นฐานแนวคิดมาจาก "การควบคุมโดยตรง" (direct manipulation) ด้วยการใช้มัลติทัช องค์ประกอบของการควบคุมก็คือการใช้นิ้วเลื่อน, สวิทช์ และปุ่ม เพื่อเป็นการควบคุมอุปกรณ์รวมถึงท่าทางอย่างอื่น เช่น การนำนิ้วมือ (มากกว่าสองนิ้ว) บีบเข้าหาศูนย์กลาง (swipe), แตะเบาๆ (tap), การนำนิ้วสองนิ้วบีบเขาหาศูนย์กลาง (pinch), การนำนิ้วสองนิ้วกางออกจากศูนย์กลาง (reverse pinch) ซึ่งทั้งหมดนี้มีความหมายที่เจาะจงในบริบทต่างๆ ของไอโอเอสและถือเป็นการใช้งานแบบส่วนต่อประสานกับผู้ใช้แบบมัลติทัช ภายในอุปกรณ์ที่ติดตั้งไอโอเอสจะมีเซนเซอร์ตรวจจับการเคลื่อนไหวเพื่อใช้กับบางแอปพลิเคชันเพื่อตอบสนองการสั่นของอุปกรณ์ หรือการหมุนอุปกรณ์ที่คำนวณในรูปแบบสามมิติ ไอโอเอสมีต้นกำเนิดมาจากแมคโอเอสเท็นซึ่งได้รากฐานมาจากดาร์วินและแอปพลิเคชันเฟรมเวริค์ต่างๆ ไอโอเอสคือรุ่นพกพาของแมคโอเอสเท็นที่ใช้บนคอมพิวเตอร์ของแอปเปิล รุ่นหลักของไอโอเอสจะมีการเปิดตัวทุกๆ ปี จนถึงปัจจุบันนี้ ได้มีการปล่อยตัว iOS 10 ซึ่งเป็นรุ่นล่าสุดในวันที่ 13 มิถุนายน..
เพลย์สเตชันพอร์เทเบิล
ลย์สเตชันพอร์เทเบิล (Pตัวมนสิด layStation Portable ย่อว่า PSP) เป็นเครื่องเกมพกพาซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์ของโซนี่ คอมพิวเตอร์ เอนเตอร์เทนเมนท์ โซนี่ประกาศเปิดตัวโครงการ PSP ครั้งแรกในงาน E³ 2003 และเผยโฉมตัวเครื่องเมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม พ.ศ.
ดู สไตนส์;เกทและเพลย์สเตชันพอร์เทเบิล
เอกซ์บอกซ์ 360
อกซ์บอกซ์ 360 (XBox 360) เป็นเครื่องเล่นวิดีโอเกมรุ่นที่สองถัดจากเอกซ์บอกซ์ของไมโครซอฟท.
ดู สไตนส์;เกทและเอกซ์บอกซ์ 360
14 กันยายน
วันที่ 14 กันยายน เป็นวันที่ 257 ของปี (วันที่ 258 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 108 วันในปีนั้น.
6 เมษายน
วันที่ 6 เมษายน เป็นวันที่ 96 ของปี (วันที่ 97 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 269 วันในปีนั้น.
720p
720p เป็นชื่อของความละเอียดในการแสดงผล เลข 720 หมายถึงจำนวนเส้นตามความละเอียดในแนวตั้ง ส่วนตัวอักษร p หมายถึงวิธีการแสดงเส้นแบบ โปรเกรสซีฟ หรือ non-อินเตอร์เลซ 720p ถือเป็นความละเอียดหนึ่งของโทรทัศน์ความละเอียดสูง (HDTV) โดยมีอัตราส่วนแบบ จอกว้างที่ 16:9 ซึ่งมีขนาดจริงที่ 1280×720 หมวดหมู่:อภิธานศัพท์โทรทัศน์ หมวดหมู่:ความละเอียดโทรทัศน์.
ดูเพิ่มเติม
มังงะของสำนักพิมพ์คาโดกาวะโชเต็ง
- ∀กันดั้ม
- กันดั้ม: G โนะ เรคอนกิสต้า
- กันด๊าม กันดั้ม
- กายเวอร์ อมนุษย์เกราะชีวะ
- การ์ดไฟท์!! แวนการ์ด
- ชมรมนักสืบแคลมป์
- ชอบ คำนี้ให้ด้วยดวงใจบริสุทธิ์
- ชัฟเฟิล!
- ซากุราดะ รีเซ็ต ภารกิจฆ่าเวลา
- ซินามอโรล
- ดี.เอ็น.แองเจิ้ล
- ตำนานประหลาดสุนัขทั้งแปดแห่งบูรพาทิศ
- ตำนานผู้กล้า ไรดีน
- น้องสาวของผมไม่น่ารักขนาดนั้นหรอก
- บันทึกมรณะ เกมล่าท้าอนาคต
- ประธานนักเรียนสุดซ่า สภานักเรียนสุดป่วน
- ปริศนารักสลักแค้นข้ามภพ
- ผมน่ะหรือคือราชาปีศาจ!
- มฤตยูเหนือนรก
- มหาสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์
- มาครอสฟรอนเทียร์
- มิโกะ คนทรงหุ่นเทวะ
- ลักกีสตาร์ (มังงะ)
- ลาสต์ เอ็กไซล์
- ลิตเติลบัสเตอส์!
- สมองกลนักสู้
- สมาคมคนหนีโลก
- สามัญขยันรั่ว
- สาวน้อยยอดนักสืบ
- สไตนส์;เกท
- อนาเธอร์
- เคโรโระ ขบวนการอ๊บอ๊บป่วนโลก
- เทพบุตรถังแตก
- เอวานเกเลี่ยน โครงการพัฒนาอิคาริ ชินจิ
- เอ็กซ์ พลังล้างโลก
- แกแล็คซี่แองเจล
- แบล็ค ร็อค ชูตเตอร์
- แอร์ (วิชวลโนเวล)
- โคบาโตะ
- โค้ด กีอัส
- โชเน็น อนเมียวจิ จอมเวทปราบมาร
- โมบิลสูท กันดั้ม
- โมบิลสูท กันดั้ม 0080 : วอร์อินเดอะพอกเก็ต
- โมบิลสูท กันดั้ม 08th ทีม
- โมบิลสูท กันดั้ม ยูนิคอร์น
- โมบิลสูท วิกทอรี่ กันดั้ม
- โรงเรียนป่วน ก๊วนคนบ๊อง
- โรงเรียนเวทมนตร์แม่มดน้อยฝึกหัด
- โรมิโอ × จูเลียต
มังงะที่ตีพิมพ์ในปี พ.ศ. 2553
- กัปตันซึบาสะ
- การเดินทางของคิโนะ
- การ์ดไฟท์!! แวนการ์ด
- คลับบ้าฮาต๊อง
- คะระ โนะ เคียวไก
- คาแรคเตอร์ผู้พิทักษ์
- ซากุราดะ รีเซ็ต ภารกิจฆ่าเวลา
- ดิจิมอนครอสวอร์ส
- ตัวฉันกับวันสิ้นโลก
- ปฐมบทสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์
- มาครอสฟรอนเทียร์
- ยามซากุระร่วงโรย
- ยูกิโอ ZEXAL
- รีไรต์
- ลิตเติลบัสเตอส์!
- สัญญามรณะ ธิดาอเวจี
- สาวเรียวกังหัวใจเกินร้อย
- สไตนส์;เกท
- อนาเธอร์
- อสูรรับใช้ของยาย 0 สนิท
- ฮาร์ตแคชพรีเคียว!
- เครยอนชินจัง
- เพื่อนเกรียนข้างโต๊ะ
- เรือนรก ศพคืนชีพ
- แอกเซลเวิลด์
- แองเจิลบีทส์! แผนพิชิตนางฟ้า
- โกลเด้นบอย
- โค้ด กีอัส
- โซะ ระ โนะ โวะ โตะ
- โนรางามิ เทวดาขาจร
- โมบิลสูท กันดั้ม ยูนิคอร์น
- โมบิลไฟท์เตอร์ จีกันดั้ม
- โอกามิซัง
มังงะที่ตีพิมพ์ในปี พ.ศ. 2554
- C³
- Evergreen (มังงะ)
- ซากุระโซว หอพักสร้างฝัน
- ซิลเวอร์สปูน
- ตัวฉันกับวันสิ้นโลก
- น้องสาวของผมไม่น่ารักขนาดนั้นหรอก
- บันทึกใสจากวัยฝัน
- บุษบาภาษาศิลป์
- ปฏิวัติหัตถ์ราชัน
- ปฐมบทสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์
- ประธานนักเรียนสุดซ่า สภานักเรียนสุดป่วน
- ภารกิจล้างพันธุ์นรก
- ยูกิโอ ZEXAL
- รักลวงป่วนใจ
- รักไร้เสียง
- รับน้องกระต่ายซักแก้วมั้ยคะ?
- รีไรต์
- ลาสต์ เอ็กไซล์
- ลิตเติลบัสเตอส์!
- สวีตพรีเคียว♪
- สาวน้อยยอดนักสืบ
- สาวน้อยเวทมนตร์ มาโดกะ
- สาวเรียวกังหัวใจเกินร้อย
- สไตนส์;เกท
- องค์ชายจิตป่วนกับน้องเหมียวยิ้มยาก
- อนาเธอร์
- เซนต์เซย์ย่า ภาค The Lost Canvas จ้าวนรกฮาเดส
- เทพพิทักษ์จอมยุ่ง เนียลโกะ
- เพลงรักสองหัวใจ
- เพอร์โซนา 4
- แบล็ค ร็อค ชูตเตอร์
- โตเกียวกูล
- โมบิลสูท เซต้ากันดั้ม
- โมบิลไฟท์เตอร์ จีกันดั้ม
- โรงเรียนลูกผู้ชาย
- โรเซน ไมเดน
- โลกใหม่หมายเลขหก
- ไม่หล่อแต่เร้าใจ!!
มังงะที่ตีพิมพ์ในปี พ.ศ. 2555
- A แชนแนล สี่แสบซ่า บ้าขั้นเอ
- กูรุ กูรุ คาถาพาต๊อง
- คลับบ้าฮาต๊อง
- ซัมเมอร์รักจากต่างดาว
- ดอกไม้ มิตรภาพ และความทรงจำ
- ตัวฉันกับวันสิ้นโลก
- ปฏิวัติหัตถ์ราชัน
- ปริศนา! นักล่าผี
- ปริศนาความทรงจำ
- ผู้กล้าซึนซ่าส์กับจอมมารสู้ชีวิต!
- ยอดนักปรุงโซมะ
- ยูกิโอ ZEXAL
- ลิตเติลบัสเตอส์!
- วัยมันส์คนพันธุ์ A
- ศึกตำนาน 7 อัศวิน
- สาวน้อยเวทมนตร์ มาโดกะ
- สึซึมิยะ ฮารุฮิ
- สไตนส์;เกท
- สไมล์พรีเคียว!
- อะโหยัยโง่
- เงาแดง
- เจ้าหญิงปีศาจ
- เทวทูตแห่งโลกมืด
- เธอกับฉันเพื่อนกันหนึ่งสัปดาห์
- เพอร์โซนา 4
- เมื่อผมกับเธอ XXX
- เลิฟไลฟ์! ปฏิบัติการไอดอลจำเป็น
- เล่มนี้ต้องพิมพ์ซ้ำ!
- แอกเซลเวิลด์
- โค้ด กีอัส
- โยไควอทช์
- ไซคิหนุ่มพลังจิตอลเวง
- ไฮคิว!! คู่ตบฟ้าประทาน
วิดีโอเกมที่มีฉากในโตเกียว
- คอลล์ออฟดิวตี: อินฟินิตวอร์แฟร์
- คาออส;เฮด
- สไตนส์;เกท
- เทคเคน แท็กทัวร์นาเมนท์ 2
- โอเวอร์วอตช์
- ไครซิสฟอร์ซ
วิดีโอเกมที่ออกวางจำหน่ายในปี พ.ศ. 2552
- Lost Saga
- คอลล์ออฟดิวตี: มอเดิร์นวอร์แฟร์ 2
- คาเมนไรเดอร์ ไคลแม็กซ์ฮีโร่ส์
- ซามูไรโชดาวน์ แอนโธโลจี
- ดับเบิลยูดับเบิลยูอี เลเจนด์สออฟเรสเซิลเมเนีย
- นีดฟอร์สปีด: ชิฟต์
- นีดฟอร์สปีด: ไนโตร
- บาโยเน็ตตา
- มาดากัสการ์ คาร์ทซ์
- มายซิมส์ เรซซิ่ง
- สไตนส์;เกท
- อัสแซสซินส์ครีด 2
- อัสแซสซินส์ครีด 2: ดิสคัฟเวอรี
- อัสแซสซินส์ครีด: บลัดไลนส์
- อินาสึมะอีเลฟเวน 2 เคียวอิ โนะ ชินเรียคุฉะ
- เดอะซิมส์ 3
- เรซิเดนต์อีวิล 5
- แองเจิ้ลสาวพิทักษ์จักรวาล
- แอ็งกรีเบิดส์ (วิดีโอเกม)
- แฮร์รี่ พอตเตอร์กับเจ้าชายเลือดผสม (วิดีโอเกม)
- โทระโดระ! ยายเสือใสกับนายหน้าโหด
- โปรโตไทป์ (วิดีโอเกม)
- โรซาริโอ้ บวก แวมไพร์
- ไฟนอลแฟนตาซี XIII
วิดีโอเกมประวัติศาสตร์ประยุกต์
- S.T.A.L.K.E.R.
- S.T.A.L.K.E.R.: Clear Sky
- คอมมานด์ & คองเคอร์
- คอมมานด์ & คองเคอร์: ยูริ รีเวนจ์
- คอมมานด์ & คองเคอร์: เรดอเลิร์ต
- คอมมานด์ & คองเคอร์: เรดอเลิร์ต 2
- คอมมานด์ & คองเคอร์: เรดอเลิร์ท 3
- คอลล์ออฟดิวตี: มอเดิร์นวอร์แฟร์ 2
- ชาโดว์แดนเซอร์: เดอะซีเครตออฟชิโนะบิ
- ซิวิไลเซชัน V
- สงครามซากุระ
- สไตนส์;เกท
- อัสแซสซินส์ครีด
- เมทัลเกียร์
- เมทัลเกียร์โซลิด 2: ซันส์ออฟลิเบอร์ตี
- เมทัลเกียร์โซลิด 3: สเนกอีตเตอร์
- ไบโอช็อก อินฟินิต
วิดีโอเกมเกี่ยวกับการเดินทางข้ามเวลา
- คอมมานด์ & คองเคอร์: ยูริ รีเวนจ์
- คอมมานด์ & คองเคอร์: เรดอเลิร์ต
- คอมมานด์ & คองเคอร์: เรดอเลิร์ต 2
- คอมมานด์ & คองเคอร์: เรดอเลิร์ท 3
- ดราก้อนเควสต์ VII
- ดราก้อนเควสต์ XI
- ทรอปิโก 5
- บาโยเน็ตตา
- สไตนส์;เกท
- เอมไพร์เอิร์ธ
- ไฟนอลแฟนตาซี VIII
- ไฟนอลแฟนตาซี XIII-2
- ไลฟ์อิสสเตรนจ์
เกมสำหรับเพลย์สเตชัน วิตา
- กริม ฟันดันโก
- คันไตคอลเลกชัน
- คาออส;เฮด
- คาเมนไรเดอร์ แบทไทรด์วอร์ส
- ซากุระโซว หอพักสร้างฝัน
- ซามูไรวอริเออร์ 2
- ดราก้อนเควสต์ บิลเดอร์
- ดิ อะเมซิ่ง สไปเดอร์แมน (วิดีโอเกม พ.ศ. 2555)
- นีดฟอร์สปีด: โมสท์วอนเต็ด (วิดีโอเกม พ.ศ. 2555)
- บุษบาภาษาศิลป์
- พิชิตรัก พิทักษ์โลก
- พี่น้องปริศนาโรงเรียนมหาเวท
- ฟรุตนินจา
- ฟีฟ่า 14
- ฟีฟ่า 15
- มหาสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์
- มาร์เวลพินบอล
- ยามเมื่อเหล่าจักจั่นกรีดร้อง
- รักลวงป่วนใจ
- รีไรต์
- ลิตเติลบัสเตอส์!
- วอริเออร์โอโรจิ 3
- สาวน้อยเวทมนตร์ มาโดกะ
- สไตนส์;เกท
- อันเดอร์เทล
- อัลติเมตมาร์เวล vs. แคปคอม 3
- อัสแซสซินส์ครีด 3: ลิเบอเรชัน
- อัสแซสซินส์ครีด โครนิเคิล
- อินจัสติส: ก็อดส์อมองอัส
- เจสตาร์วิกตอรีวีเอส
- เจ็ตแพก จอยไรด์
- เดอะวอล์กกิงเดด (วิดีโอเกม)
- เทพพิทักษ์จอมยุ่ง เนียลโกะ
- เทวทูตแห่งโลกมืด
- เทอราเรีย
- เพอร์โซนา 4
- เรย์แมน เลเจนดส์
- เลิฟไลฟ์! ปฏิบัติการไอดอลจำเป็น
- เวิลด์ ทริกเกอร์
- แคลนนาด (วิชวลโนเวล)
- แองเจลีค
- แอร์ (วิชวลโนเวล)
- แอ็งกรีเบิดส์ สตาร์วอร์ส
- ไดนาสตีวอริเออร์ 8
- ไมน์คราฟต์
- ไมน์คราฟต์: สตอรีโหมด
- ไมเคิลแจ็กสัน: ดิเอกซพีเรียนซ์