สารบัญ
28 ความสัมพันธ์: บอร์โดชาร์ล มาร์แตลชาร์เลอมาญชาวกอทชาวมัวร์ชาวยิวชาววิซิกอทชนเบอร์เบอร์พระเจ้าเปแป็งพระวรกายเตี้ยกอลมุสลิมยุทธการที่ตูร์รัฐเคาะลีฟะฮ์อุมัยยะฮ์ราชอาณาจักรอารากอนราชอาณาจักรนาวาร์ราชอาณาจักรแฟรงก์อัลอันดะลุสอาณาจักรชายแดนคาบสมุทรไอบีเรียตูลูซประเทศอันดอร์ราปัมโปลนาแม่น้ำเอโบรแคว้นกาตาลุญญาแคว้นอากีแตนเทือกเขาพิเรนีสเคานต์แห่งบาร์เซโลนาเซปทิเมเนีย
บอร์โด
อร์โด (Bordeaux,, บางครั้งในไทยมีสะกดว่า บอร์โดซ์ และ บอร์กโดซ์) เป็นเมืองท่าตั้งอยู่ทางภาคตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศฝรั่งเศส เป็นเมืองหลักของจังหวัดฌีรงด์และของแคว้นนูแวลากีแตน มีชื่อเสียงอย่างมากมายจากไร่องุ่นที่พบเห็นในตลอดเส้นทางเข้าสู่เมืองและไวน์ประจำแคว้นตั้งแต่ศตวรรษที่ 18 โดยสถานที่ทำไวน์สำคัญ ๆ ที่ผู้รักไวน์ชาวไทยน่าจะรู้จักก็คือ แซ็งเตมีลียง, โปยัก (Pauillac), แซ็งแต็สแต็ฟ (Saint-Estèphe) และโซแตร์น (Sauternes) มีแม่น้ำการอนไหลผ่านและออกสู่มหาสมุทรแอตแลนติกที่เมืองซูลัก-ซูร์-แมร์ และยังมีท่าเรือปอร์เดอลาลูน (Port de la Lune) ที่ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นมรดกโลกจากองค์การยูเนสโกตั้งแต่ปีค.ศ.
ดู ภูมิภาคชายแดนฮิสปาเนียและบอร์โด
ชาร์ล มาร์แตล
ร์ล มาร์แตล (Charles Martel; ราว ค.ศ. 688 – 22 ตุลาคม ค.ศ. 741) เป็นผู้นำทางการทหารและการเมืองของชาวแฟรงก์ ดำรงมีตำแหน่งสมุหราชมนเทียรในสมัยราชวงศ์เมรอแว็งเฌียง และเป็นประมุขในทางพฤตินัยในช่วงว่างระหว่างรัชกาล ค.ศ.
ดู ภูมิภาคชายแดนฮิสปาเนียและชาร์ล มาร์แตล
ชาร์เลอมาญ
ร์เลอมาญ (Charlemagne) หรือชื่อในภาษาเยอรมันคือ คาร์ลมหาราช (Karl der Große) เป็นกษัตริย์แห่งชาวแฟรงก์ (ฝรั่งเศสโบราณ) ตั้งแต่ปี..
ดู ภูมิภาคชายแดนฮิสปาเนียและชาร์เลอมาญ
ชาวกอท
อตาลันด์ทางใต้ของสวีเดนที่อาจจะเป็นต้นกำเนิดของชนกอท ชาวกอท (Goths) เป็นชนเผ่าเจอร์มานิคตะวันออกที่มีที่มาจากกึ่งตำนานสแกนด์ซา (Scandza) ที่เชื่อกันว่าอยู่ในบริเวณที่เป็นเยอตาลันด์ (Götaland) ในสวีเดนปัจจุบัน ชนกอทข้ามทะเลบอลติกก่อนคริสต์ศตวรรษที่ 2 มายังบริเวณที่ได้รับชื่อว่ากอทิสแกนด์ซา (Gothiscandza) ที่เชื่อว่าอยูในบริเวณตอนใต้ของบริเวณวิสตูลาในพอเมอเรเลีย (Pomerelia) ในโปแลนด์ปัจจุบัน อารยธรรมวีลบาร์ค (Wielbark culture) เป็นอารยธรรมที่เกี่ยวเนื่องกับการเริ่มมาตั้งถิ่นฐานของชนกอทและการกลืนตัวกับชนที่ตั้งถิ่นฐานอยู่ในบริเวณนั้น ตั้งแต่กลางคริสต์ศตวรรษที่ 2 เป็นต้นมากลุ่มชนกอทก็เริ่มโยกย้ายถิ่นฐานไปทางตะวันออกเฉียงใต้ตามลำวิสตูลาแม่น้ำวิสตูลาไปจนถึงซิทเธีย (Scythia) บนฝั่งทะเลดำ ในยูเครนปัจจุบัน และได้ทิ้งร่องรอยทางโบราณคดีไว้ในวัฒนธรรมเชอร์นยาคอฟ (Chernyakhov culture) ตลอดคริสต์ศตวรรษที่ 3 จนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 4 ชนกอทซิทเธียก็แยกเป็นสองกลุ่ม: เทอร์วิงกิ (Thervingi) และ กรูทุงกิ (Greuthungi) แบ่งแยกกันโดยแม่น้ำนีสเตอร์ (Dniester River) ในช่วงเวลานี้ชนกอทก็รุกรานจักรวรรดิโรมันเป็นระยะ ๆ ระหว่างสมัยที่เรียกว่าสงครามกอทิก ต่อมาชนกอทก็ยอมรับคริสต์ศาสนา ในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 4 ฮั่นก็มารุกรานดินแดนกอททางตะวันออก ชนกอทบางกลุ่มถูกปราบปรามและในที่สุดก็เข้าไปเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิฮันนิค (Hunnic Empire) อีกกลุ่มหนึ่งถูกผลักดันเข้าไปเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิโรมัน ในคริสต์ศตวรรษที่ 5 และที่ 6 ชนกอทก็แยกตัวออกเป็นวิซิกอทและออสโตรกอท ทั้งสองกลุ่มก่อตั้งรัฐที่มีอำนาจหลังจากจักรวรรดิโรมันในคาบสมุทรไอบีเรียและอิตาลี ชนกอทหันมานับถือคริสต์ศาสนาลัทธิแอเรียน โดยวูลฟิลานักสอนศาสนาครึ่งกอทผู้ต่อมาย้ายไปตั้งถิ่นฐานในเมอเซีย (ต่อมาเป็นบริเวณในบัลแกเรีย) กับกลุ่มผู้ติดตาม วูลฟิลาแปลพระคัมภีร์ไบเบิลเป็นภาษากอทิค แม้ว่ากอทจะมีอำนาจในคาบสมุทรไอบีเรียและอิตาลีแต่ก็มาพ่ายแพ้ต่อจักรพรรดิจัสติเนียนที่ 1 ผู้พยายามฟื้นฟูจักรวรรดิโรมันขึ้นอีกครั้งหนึ่ง ต่อมากอทก็ถูกรุกรานโดยชนแวนดัล (Vandals) และต่อมาชนลอมบาร์ด การที่มีการติดต่อกับประชาชนโรมันของอดีตจักรวรรดิโรมันอยู่เป็นเวลานานทำให้ในที่สุดกอทก็เปลี่ยนไปยอมรับนิกายโรมันคาทอลิก ความเสื่อมโทรมของกลุ่มชนกอทมาเร่งให้เร็วขึ้นเมื่อได้รับความพ่ายแพ้ต่อมัวร์เมื่อต้นคริสต์ศตวรรษที่ 8 ภาษาและวัฒนธรรมของกอทก็เริ่มสูญหายไป นอกจากบางส่วนที่ไปปรากฏในวัฒนธรรมอื่น ในคริสต์ศตวรรษที่ 16 กลุ่มออสโตรกอทที่หลงเหลืออยู่ก็ไปปรากฏตัวที่ไครเมีย แต่การบ่งถึงเชื้อชาติก็ไม่เป็นที่แน่นอน.
ดู ภูมิภาคชายแดนฮิสปาเนียและชาวกอท
ชาวมัวร์
ชาวมัวร์ (Moors) ในยุคกลาง คำว่า “มัวร์” เป็นคำที่หมายถึงชนมุสลิมที่อาศัยอยู่ที่คาบสมุทรไอบีเรียและแอฟริกาเหนือซึ่งเดิมเป็นชนอาหรับ หรือ เบอร์เบอร์ คำนี้ใช้เฉพาะในการอ้างอิงทางประวัติศาสตร์ ปัจจุบันคำนี้ไม่ใช้แล้ว คำนี้จะใช้กล่าวถึงชนมุสลิมในประเทศสเปนแม้แต่ในปัจจุบันนี้ถึงแม้ว่าจะเป็นคำโบราณและไม่ถูกต้อง เพราะคำนี้รวมชนมุสลิมและชนที่ไม่ใช่มุสลิมที่เป็นชาวอาหรับ เบอร์เบอร์ และชาวอาฟริกาอื่นๆ หรือบางครั้งก็รวมชนมุสลิมในคาบสมุทรไอบีเรียด้วย ในภาษาสเปนคำนี้เป็นคำที่ถือผิว หมวดหมู่:ชาวอาหรับ.
ดู ภูมิภาคชายแดนฮิสปาเนียและชาวมัวร์
ชาวยิว
ว (ภาษาฮิบรู: יהודים) หรือที่เรียกว่า ชาวยิว (Jewish people) เป็นชนชาติและกลุ่มศาสนพันธุ์หนึ่ง ซึ่งมีเชื้อสายมาจากวงศ์วานอิสราเอลหรือชนเผ่าฮีบรูในแผ่นดินตะวันออกใกล้ยุคโบราณ ซึ่งคัมภีร์ฮีบรูได้ระบุว่า ชาวยิวเป็นชนชาติที่พระเจ้าทรงเลือกสรรที่จะอุปถัมป์ค้ำชูไว้เหนือชาติอื่นๆ ด้วยความเชื่อว่ายิวเป็นชนชาติที่พระเจ้าทรงค้ำชูและมีศาสนายูดาห์เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวนี้เอง ทำให้แม้ชาวยิวจะกระจัดกระจายไปในหลายดินแดน แต่ก็ยังคงความเป็นกลุ่มก้อนและมีการสืบทอดความเป็นยิวจากรุ่นสู่รุ่นอย่างไม่มีเสื่อมถอย ปัจจุบันบุคคลเชื้อสายยิวทั่วทั้งโลกมีอยู่ราว 14.4 ถึง 17.5 ล้านคน ซึ่งส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในประเทศอิสราเอลและสหรัฐอเมริก.
ดู ภูมิภาคชายแดนฮิสปาเนียและชาวยิว
ชาววิซิกอท
้นทางการอพยพของชาววิซิกอท วิซิกอท (Visigoths, Visigothi, Wisigothi, แปลว่า "กอทตะวันตก") เป็นหนึ่งในชาติพันธุ์สองสาขาหลักของชาวกอท ซึ่งเป็นชนเผ่าเจอร์มานิคตะวันออกกลุ่มหนึ่ง โดยอีกสาขาหนึ่งในกลุ่มนี้คือชาวออสโตรกอทหรือ "กอทตะวันออก" สันนิษฐานกันว่าชาวกอททั้งสองสาขานี้มีต้นกำเนิดอยู่แถบประเทศยูเครนในปัจจุบัน ชาววิซิกอทเป็นหนึ่งในอนารยชนกลุ่มชนเจอร์มานิคต่าง ๆ ที่เข้ามารุกรานจักรวรรดิโรมันตอนปลายในสมัยการอพยพ เนื่องจากประชากรที่เพิ่มจำนวนขึ้น ความขาดแคลนอาหาร ประกอบกับการถูกกดดันจากอนารยชนชาวฮัน ที่มาจากเอเชียกลาง จนกระทั่งในปี ค.ศ.
ดู ภูมิภาคชายแดนฮิสปาเนียและชาววิซิกอท
ชนเบอร์เบอร์
นเบอร์เบอร์ (Berber people) เป็นกลุ่มชาติพันธ์ของแอฟริกาเหนือทางตะวันตกของลุ่มแม่น้ำไนล์ ผู้ที่ตั้งถิ่นฐานกระจัดกระจายอยู่ในบริเวณตั้งแต่มหาสมุทรแอตแลนติกไปจนถึงโอเอซิสซิวา (Siwa oasis) ในอียิปต์ และจากบริเวณเมดิเตอร์เรเนียนไปจนถึงแม่น้ำไนเจอร์ ในประวัติศาสตร์ชนเบอร์เบอร์พูดภาษากลุ่มเบอร์เบอร์ซึ่งเป็นสาขาหนึ่งของตระกูลภาษาแอโฟรเอชีแอติก ในปัจจุบันชนเบอร์เบอร์บางกลุ่มพูดภาษาอาหรับ ชนเบอร์เบอร์ที่พูดภาษากลุ่มเบอร์เบอร์ในบริเวณที่ว่านี้มีด้วยกันราว 30 ถึง 40 ล้านคนที่ส่วนใหญ่ตั้งถิ่นฐานหนาแน่นอยู่ในบริเวณแอลจีเรียและโมร็อกโก และเบาบางลงไปทางตะวันออกไปทางมาเกรบ (Maghreb) และเลยไปจากนั้น บริเวณของชนเบอร์เบอร์ ชนเบอร์เบอร์เรียกตนเองด้วยชื่อต่าง ๆ ที่รวมทั้ง “Imazighen” (เอกพจน์ “Amazigh”) ที่อาจจะแปลว่า “ชนอิสระ” ตามความเห็นของนักการทูตและนักประพันธ์ชาวอาหรับเลโอ อาฟริคานัส “Amazigh” แปลว่า “คนอิสระ” แต่ความเห็นนี้ก็ยังเป็นที่โต้แย้งกันเพราะไม่มีรากของความหมายของ “M-Z-Gh” ที่แปลว่า “อิสระ” ในภาษากลุ่มเบอร์เบอร์สมัยใหม่ นอกจากนั้นก็ยังมีคำภาษา Tuareg “amajegh” ที่แปลว่า “ศักดิ์ศรี” (noble) คำเรียกนี้ใช้กันทั่วไปในโมร็อกโก แต่ในบริเวณอื่นในท้องถิ่นก็มีคำอื่นที่เฉพาะเจาะจงลงไปอีกเช่น “Kabyle” หรือ “Chaoui” ที่มักจะใช้กันมากกว่า ในประวัติศาสตร์ชนเบอร์เบอร์ก็รู้จักกันในชื่อต่างๆ เช่นในลิเบียโบราณโดยชาวกรีกโบราณ ว่า “นูมิเดียน” และ “มอเนเทเนีย” โดยโรมัน และ “มัวร์” โดยชายยุโรปในยุคกลาง ภาษาอังกฤษสมัยปัจจุบันอาจจะแผลงมาจากภาษาอิตาลีหรืออาหรับแต่รากที่ลึกไปกว่านั้นไม่เป็นที่ทราบ ชาวเบอร์เบอร์ที่มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักกันก็ได้แก่นักประพันธ์ชาวโรมันอพูเลียส (Apuleius), จักรพรรดิโรมันเซ็พติมิอัส เซเวอรัส และ นักบุญออกัสตินแห่งฮิปโป ชาวเบอร์เบอร์ที่มีชื่อเสียงในปัจจุบันคือดารานักฟุตบอลซีเนอดีน ซีดาน.
ดู ภูมิภาคชายแดนฮิสปาเนียและชนเบอร์เบอร์
พระเจ้าเปแป็งพระวรกายเตี้ย
ระเจ้าเปแป็งพระวรกายเตี้ย (Pepin the Short หรือ Pippin the Short) (ค.ศ. 714 – 24 กันยายน ค.ศ. 768) นอกจากจะทรงได้รับฉายานามว่า "the Short" แล้วก็ยังรู้จักกันในพระนามอื่นด้วยเช่น "เปแป็งผู้เยาว์" หรือ "เปแป็งที่ 3" เปแปงเดิมเป็นสมุหราชมนเทียร (Mayor of the Palace) และดยุกแห่งแฟรงก์ ตั้งแต่ ค.ศ.
ดู ภูมิภาคชายแดนฮิสปาเนียและพระเจ้าเปแป็งพระวรกายเตี้ย
กอล
แผนที่ของ กอล ราว 100 ปีก่อนคริสตกาล แสดงให้เห็นตำแหน่งสัมพันธ์กับเผ่าเคลติก กอล (Gaul) เป็นชื่อเก่าแก่ในประวัติศาสตร์ ใช้ในยุคโรมันเพื่อเรียกขานดินแดนทางยุโรปตะวันตก ซึ่งปัจจุบันเทียบได้ประมาณบริเวณประเทศฝรั่งเศสและเบลเยี่ยม และอาจรวมไปถึงหุบเขาโพ ในสวิตเซอร์แลนด์ตะวันตก บางส่วนของเนเธอร์แลนด์และเยอรมนีทางฝั่งตะวันตกของแม่น้ำไรน์ ในภาษาอังกฤษ คำว่า กอล อาจหมายถึงผู้คนที่อาศัยอยู่ในย่านนั้น (ภาษาฝรั่งเศสเรียก Gaulois) พลเมืองในอดีตสามารถพูดภาษากอล (Gaulish) ได้อย่างกว้างขวาง (เป็นภาษาที่พัฒนามาจากเคลติกยุคต้น) โดยแพร่หลายในดินแดนบริเตน ไอบีเรีย ไอร์แลนด์ ไปจนกระทั่งถึงอนาโทเลียกลางในยุคโรมัน คำในภาษาละตินของ กอล ยังคงมีใช้อยู่ในคำภาษากรีกยุคใหม่สำหรับใช้เรียกประเทศฝรั่งเศส คือ กัลเลีย (Gallia) กอลภายใต้การนำของ Brennus บุกยึดโรมันได้ในราวทศวรรษ 390 ก่อนคริสตกาล ในแดนอีเจี้ยน มีการอพยพครั้งใหญ่ของชาวกอลตะวันออก จากดินแดนเทรซ ทางตอนเหนือของกรีซ ในราวปี 281 ก่อนคริสตกาล ผู้นำของชาวกอลอีกคนหนึ่งซึ่งมีชื่อว่า Brennus เหมือนกัน เป็นผู้นำของกองทัพขนาดใหญ่ ได้หวนกลับจากการทำลายล้างวิหารอพอลโลในเมืองเดลฟีในกรีซในวินาทีสุดท้าย เล่ากันว่าเขาได้รับเตือนโดยเสียงฟ้าร้องและสายฟ้า ในเวลาเดียวกับที่ชาวเคลต์กำลังอพยพ นักรบกว่า 10,000 นาย พร้อมด้วยบรรดาผู้หญิง เด็ก และทาส ได้เดินทางผ่านดินแดนเทรซพอดี ชาวกอลสามกลุ่มใหญ่ได้เดินทางข้ามดินแดนเทรซไปยังเอเชียไมเนอร์ตามคำเชิญของ Nicomedes ที่ 1 กษัตริย์แห่ง Bithynia พระองค์ได้ส่งคำร้องขอความช่วยเหลือเพื่อสู้กับน้องชายของพระองค์เอง ในเวลาต่อมาชาวกอลก็ตั้งถิ่นฐานลงทางตะวันออกของ Phrygia และ Cappadocia ในแคว้นอนาโทเลียกลาง ดินแดนซึ่งปัจจุบันรู้จักกันในชื่อ กาลาเทีย (Galatia).
ดู ภูมิภาคชายแดนฮิสปาเนียและกอล
มุสลิม
มุสลิม ผู้นับถือศาสนาอิสลาม หากเป็นบุรุษจะเรียกว่า มุสลิม หรือเป็นสตรีจะเรียกว่า มุสลิมะฮ์ หรือเรียกโดยรวมว่า อิสลามิกชน คำว่า "มุสลิม" เป็นคำที่ยืมมาจากภาษาอาหรับ مسلم แปลว่า ผู้ศิโรราบ ผู้ภักดี มนุษย์ทุกคนสามารถเป็นมุสลิมได้โดยการปฏิญาณตน มุสลิมนั้นไม่จำกัดเผ่าพันธุ์ อายุ เพศ และวรรณะ ผู้ที่เป็นมุสลิมจะต้องปฏิบัติตามศาสนวินัยต่าง ๆ ของอิสลาม (ทั้งวาญิบ และฮะรอม) ผู้ที่เป็นมุสลิมต้องปฏิบัติตามหลักศาสนกิจ 5 ประการดังนี้ คือ การกล่าวคำปฏิญานตนเข้ารับอิสลาม, การละหมาด 5 เวลาในแต่ละวัน, การถือศีลอดในเดือนรอมดอน, การบริจาคทาน (ซะกาต), และการทำฮัจญ์ ผู้ที่เป็นมุสลิมมีหลักความเชื่อหลัก 6 ประการ นั่นคือ เชื่อในพระเจ้าองค์เดียว (อัลลอฮ์), เชื่อในบรรดามลาอีกะฮ์, เชื่อในคัมภีร์ที่ถูกประทานมาจากพระเจ้า, เชื่อในบรรดาศาสนทูตต่างๆ, เชื่อในวันสิ้นโลก (วันกียามะฮ์), และเชื่อในกฎแห่งความดีความชั่ว (กอดอและกอดัร).
ดู ภูมิภาคชายแดนฮิสปาเนียและมุสลิม
ยุทธการที่ตูร์
ทธการตูร์ หรือ ยุทธการปัวติเยร์ (Battle of Tours หรือ Battle of Poitiers, معركة بلاط الشهداء (ma‘arakat Balâṭ ash-Shuhadâ’) ยุทธการแห่งราชสำนักผู้พลีชีพ) (10 ตุลาคม ค.ศ.
ดู ภูมิภาคชายแดนฮิสปาเนียและยุทธการที่ตูร์
รัฐเคาะลีฟะฮ์อุมัยยะฮ์
รัฐอุมัยยะห์ (بنو أمية) เป็นรัฐเคาะลีฟะฮ์แห่งแรกที่ถูกสถาปนาโดยมุอาวียะห์ อิบนุ อบี สุฟยาน (Muahwiya Ibn Abi Sufyan I, ค.ศ. 661 - ค.ศ.
ดู ภูมิภาคชายแดนฮิสปาเนียและรัฐเคาะลีฟะฮ์อุมัยยะฮ์
ราชอาณาจักรอารากอน
ราชอาณาจักรอารากอน (Reino de Aragón; Kingdom of Aragon) เป็นราชอาณาจักรที่ตั้งอยู่ในบริเวณตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศสเปนระหว่างปี ค.ศ.
ดู ภูมิภาคชายแดนฮิสปาเนียและราชอาณาจักรอารากอน
ราชอาณาจักรนาวาร์
ราชอาณาจักรนาวาร์ (Kingdom of Navarre; Reino de Navarra; Royaume de Navarre) เดิมชื่อ “ราชอาณาจักรแพมโพลนา” เป็นราชอาณาจักรในยุโรปที่ตั้งอยู่สองฝั่งเหนือใต้ของเทือกเขาพิเรนีสทางด้านมหาสมุทรแอตแลนติก ราชอาณาจักรนาวาร์ก่อตั้งขึ้นเมื่อ Íñigo I of Pamplona ผู้นำบาสค์ (Basque) ผู้ได้รับเลือกและประกาศให้เป็นพระเจ้าแผ่นดินแห่งแพมโพลนา (ราว ค.ศ.
ดู ภูมิภาคชายแดนฮิสปาเนียและราชอาณาจักรนาวาร์
ราชอาณาจักรแฟรงก์
ราชอาณาจักรแฟรงก์ (Frankish Kingdom) หรือ ฟรังเกีย (Francia) เป็นดินแดนที่ตั้งถิ่นฐานและปกครองโดยชาวแฟรงก์ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 3 ถึงคริสต์ศตวรรษที่ 10 อาณาบริเวณเกิดจากการรณรงค์ที่ต่อเนื่องกันตั้งแต่ชาร์ล มาร์แตล (Charles Martel) พระเจ้าเปแป็งพระวรกายเตี้ย และชาร์เลอมาญ-- พ่อ, ลูก, และหลาน--มามั่นคงเมื่อต้นคริสต์ศตวรรษที่ 9 ธรรมเนียมของการแบ่งดินแดนของพ่อระหว่างลูกชายหมายความว่าดินแดนแฟรงก์ปกครองเป็นอย่างหลวม ๆ เป็นจักรวรรดิที่แบ่งย่อยเป็นส่วนย่อย ๆ (ราชอาณาจักร หรือ อนุราชอาณาจักร) ที่ตั้งและจำนวนอนุราชอาณาจักรก็ต่างกันไปตามเวลา แต่ฟรังเกียโดยทั่วไปมาหมายถึงบริเวณหนึ่งที่เรียกว่าออสเตรเชีย ที่มีศูนย์กลางอยู่ในบริเวณแม่น้ำไรน์ และแม่น้ำเมิซ (Meuse) ทางตอนเหนือของยุโรป แต่กระนั้นบางครั้งก็จะครอบคลุมไปถึงนิวสเตรีย (Neustria) ทางเหนือของแม่น้ำลัวร์ และทางตะวันตกของแม่น้ำแซนในที่สุดบริเวณนี้ก็เคลื่อนมาทางปารีส และมาสิ้นสุดลงในบริเวณลุ่มแม่น้ำแซนรอบ ๆ ปารีส ที่ยังใช้ชื่ออีล-เดอ-ฟร็องส์ และเป็นชื่อในที่สุดก็กลายเป็นชื่อของราชอาณาจักรฝรั่งเศสทั้งราชอาณาจักร.
ดู ภูมิภาคชายแดนฮิสปาเนียและราชอาณาจักรแฟรงก์
อัลอันดะลุส
อัลอันดะลุส (الأندلس; Al-Andalus) เป็นชื่อภาษาอาหรับของบริเวณคาบสมุทรไอบีเรียและเซ็พติเมเนียที่ปกครองโดยอาหรับและชาวมุสลิมในแอฟริกาเหนือ (ที่เรียกโดยทั่วไปว่ามัวร์) ในช่วงเวลาต่าง ๆ กันระหว่าง..
ดู ภูมิภาคชายแดนฮิสปาเนียและอัลอันดะลุส
อาณาจักรชายแดน
ริเวณชายแดนแห่งสเปน-ฝรั่งเศส บริเวณชายแดน หรือ อาณาจักรชายแดน หรือ อาณาจักรมาร์ช (March หรือ Mark) คือบริเวณชายแดนที่คล้ายคลึงกับพรมแดนเช่นภูมิภาคชายแดนเวลส์ (Welsh Marches) ซึ่งเป็นบริเวณระหว่างอังกฤษและเวลส์ หรือ ภูมิภาคชายแดนฮิสปาเนีย (Marca Hispanica) ที่ชาร์เลอมาญทรงกำหนดขึ้นในปี..
ดู ภูมิภาคชายแดนฮิสปาเนียและอาณาจักรชายแดน
คาบสมุทรไอบีเรีย
มุทรไอบีเรีย คาบสมุทรไอบีเรีย (Iberian Peninsula; Península Ibérica; Península Ibérica; Península Ibèrica) ตั้งอยู่บริเวณตะวันตกเฉียงใต้ของทวีปยุโรป มีพื้นที่ประมาณ 582,860 ตารางกิโลเมตร ตั้งอยู่ระหว่างทะเลเมดิเตอร์เรเนียนกับมหาสมุทรแอตแลนติก เป็นคาบสมุทรที่ใหญ่เป็นอันดับ 2 ของทวีปยุโรปรองจากคาบสมุทรสแกนดิเนเวีย ทางทิศเหนือติดกับเทือกเขาพิเรนีสและประเทศฝรั่งเศส ทางทิศตะวันออกติดกับทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ทิศตะวันตกติดกับมหาสมุทรแอตแลนติก ทิศใต้สุดติดกับช่องแคบยิบรอลตาร์ คาบสมุทรไอบีเรียมีความยาวประมาณ 900 กิโลเมตร กว้างโดยเฉลี่ยประมาณ 900 กิโลเมตร รูปร่างคล้ายสีเหลี่ยมพื้นผ้า พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบสูงและเทือกเขา พื้นที่ทางตะวันออกเฉียงใต้บริเวณเทือกเขาเซียร์ราเนบาดา เป็นบริเวณแห้งแล้งมากแห่งหนึ่งในคาบสมุทร เมืองที่สำคัญที่อยู่ในคาบสมุทรไอบีเรีย ได้แก่ มาดริด บาร์เซโลนา บาเลนเซีย เซบียา บิลบาโอ ลิสบอน โปร์ตู และยิบรอลตาร.
ดู ภูมิภาคชายแดนฮิสปาเนียและคาบสมุทรไอบีเรีย
ตูลูซ
ตูลูซ (Toulouse) เป็นเทศบาลในจังหวัดโอต-การอน ทางตอนใต้ของประเทศฝรั่งเศส เป็นเมืองหลวงของแคว้นมีดี-ปีเรเน ซึ่งติดกับประเทศสเปน แต่มีพรมแดนธรรมชาติ คือ เทือกเขาพิเรนีสคั่นไว้ ตูลูซเป็นเมืองใหญ่อันดับที่สี่ของประเทศฝรั่งเศส ปัจจุบันมีประชากรอยู่ราว 1,300,000 คน เป็นศูนย์กลางด้านอุตสาหกรรมการบินของโลก โดยเป็นที่ตั้งของสำนักงานใหญ่และโรงงานของแอร์บัส นอกจากนี้ยังเป็นที่ตั้งของสำนักงานใหญ่ของอินเทลภาคพื้นยุโรปตลอดจนหน่วยงานด้านอวกาศของฝรั่ง.
ดู ภูมิภาคชายแดนฮิสปาเนียและตูลูซ
ประเทศอันดอร์รา
อันดอร์รา (Andorra) หรือ ราชรัฐอันดอร์รา (Principat d'Andorra) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล มีพื้นที่ขนาดเล็ก อยู่ในทางตะวันตกเฉียงใต้ของทวีปยุโรป อยู่ในเทือกเขาพิเรนีสทางตะวันออก มีอาณาเขตติดกับประเทศฝรั่งเศสและสเปน เดิมเคยเป็นประเทศอยู่โดดเดี่ยว ปัจจุบันอันดอร์รานับเป็นประเทศที่มั่งคั่งประเทศหนึ่ง โดยมีรายได้หลักจากการท่องเที่ยว และยังเป็นประเทศที่มีการเก็บภาษีที่ต่ำมากด้ว.
ดู ภูมิภาคชายแดนฮิสปาเนียและประเทศอันดอร์รา
ปัมโปลนา
ปัมโปลนา (Pamplona) หรือ อิรุญญา (Iruña) เป็นเมืองโบราณ เมืองหลักของแคว้นนาวาร์ ประเทศสเปน มีชื่อเสียงจากการมีงานเทศกาลเพื่อเฉลิมฉลองนักบุญเฟร์มิน จัดขึ้นทุกปีระหว่างวันที่ 6 ถึง 14 กรกฎาคม โดยปล่อยให้ฝูงวัวกระทิงวิ่งไปตามถนนในเมืองและประชาชนเข้าล่อให้วัวกระทิงขวิดด้วยความสนุกสนาน เชื่อว่าสร้างขึ้นโดยขุนพลชาวโรมันชื่อ ปอมเปย์ เมื่อราว 75-74 ปีก่อนคริสต์ศักราช ต่อมาถูกรุกรานโดยพวกวิซิกอทและตกอยู่ใต้อำนาจของพวกมัวร์ในคริสต์ศตวรรษที่ 5 จนพระเจ้าชาร์เลอมาญ กษัตริย์ของพวกแฟรงก์ซึ่งต่อมาได้เป็นจักรพรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ได้ยึดเมืองนี้จากพวกมัวร์ ในปี..
ดู ภูมิภาคชายแดนฮิสปาเนียและปัมโปลนา
แม่น้ำเอโบร
อโบร (Ebro) หรือ เอบรา (Ebre) เป็นแม่น้ำขนาดใหญ่สายหนึ่งทางภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศสเปนและมีความยาวที่สุดในประเทศ เริ่มต้นที่เมืองฟอนติเบร (ในจังหวัดกันตาเบรีย) ไหลไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ผ่านเมืองมิรันดาเดเอโบร, โลกรอญโญ, ซาราโกซา, ฟลิช, ตูร์โตซา และอัมโปสตา ก่อนออกสู่ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนที่ดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำในจังหวัดตาร์ราโกนา แคว้นกาตาลุญญา ปากแม่น้ำเอโบรเป็นหนึ่งในพื้นที่ชุ่มน้ำที่ใหญ่ที่สุดในภูมิภาคเมดิเตอร์เรเนียนตะวันตก โดยดินแดนสามเหลี่ยมที่ปากแม่น้ำนั้นมีอัตราการขยายตัวอย่างรวดเร็วนับตั้งแต่ในอดีต มีหลักฐานคือเมืองอัมโปสตาซึ่งเคยเป็นท่าเรือในคริสต์ศตวรรษที่ 4 แต่ปัจจุบันตั้งอยู่ห่างจากชายฝั่งลึกเข้าไปในแผ่นดิน ลักษณะที่ค่อนข้างกลมของพื้นที่ดินดอนแสดงให้เห็นความสมดุลระหว่างการทับถมของตะกอนจากแม่น้ำเอโบรกับการกร่อนของตะกอนเองที่เกิดจากคลื่นในทะเล ดินดอนสามเหลี่ยมปากน้ำเอโบรเป็นพื้นที่เกษตรกรรมสำหรับปลูกข้าว ผลไม้ และผัก นอกจากนี้ยังมีหาด ที่ลุ่มชื้นแฉะ และแอ่งเกลือจำนวนมากซึ่งเป็นที่อยู่อาศัยของนกต่าง ๆ กว่า 300 ชนิด พื้นที่ส่วนใหญ่ของดินดอนจึงได้รับการระบุให้เป็นอุทยานธรรมชาติดินดอนสามเหลี่ยมปากน้ำเอโบรเมื่อ..
ดู ภูมิภาคชายแดนฮิสปาเนียและแม่น้ำเอโบร
แคว้นกาตาลุญญา
กาตาลุญญา (Catalunya; Cataluña), กาตาลุญญอ (อารัน: Catalonha) หรือ แคทาโลเนีย (Catalonia) เป็นภูมิภาคหนึ่งทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือสุดของคาบสมุทรไอบีเรีย ปัจจุบัน สถานะทางรัฐธรรมนูญของภูมิภาคนี้เป็นประเด็นข้อพิพาทระหว่างราชอาณาจักรสเปนซึ่งถือว่ากาตาลุญญาเป็นแคว้นปกครองตนเองแห่งหนึ่งของตน กับฌานาราลิตัตดากาตาลุญญา (ทบวงการปกครองในท้องถิ่น) ซึ่งถือว่ากาตาลุญญาเป็นสาธารณรัฐเอกราชหลังจากที่สภานิติบัญญัติกาตาลุญญาประกาศเอกราชจากสเปนเมื่อวันที่ 27 ตุลาคม..
ดู ภูมิภาคชายแดนฮิสปาเนียและแคว้นกาตาลุญญา
แคว้นอากีแตน
อากีแตน (Aquitaine) เป็นอดีตแคว้นในประเทศฝรั่งเศส (ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของแคว้นนูแวลากีแตน) ตั้งอยู่บริเวณทิศตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศฝรั่งเศส ติดกับมหาสมุทรแอตแลนติกและเทือกเขาพิเรนีส ติดกับพรมแดนประเทศสเปน.
ดู ภูมิภาคชายแดนฮิสปาเนียและแคว้นอากีแตน
เทือกเขาพิเรนีส
ทือกเขาพิเรนีสตอนกลาง ยอดเขาบูกาเตในเขตสงวนธรรมชาติเนอูวีเยย์ เทือกเขาพิเรนีส (Pyrenees; Pirineus; Pyrénées; Pirineos; Pirinioak) เป็นทิวเขาในยุโรปตะวันตกเฉียงใต้ที่เป็นพรมแดนธรรมชาติระหว่างประเทศฝรั่งเศสกับประเทศสเปน เทือกเขานี้ยังแบ่งคาบสมุทรไอบีเรียออกจากฝรั่งเศสและมีความยาวประมาณ 430 กิโลเมตร (267 ไมล์) จากมหาสมุทรแอตแลนติก (อ่าวบิสเคย์) จนถึงทะเลเมดิเตอร์เรเนียน (แหลมแกร็วส์) ส่วนใหญ่แล้ว ยอดเขาหลัก ๆ จะเป็นแนวพรมแดนฝรั่งเศส-สเปน ซึ่งมีอันดอร์ราแทรกอยู่ตรงกลาง ข้อยกเว้นหลักของกฎนี้คือ บัลดารันที่เป็นของสเปน แต่ตั้งอยู่ทางลาดเขาด้านเหนือของทิวเขา ส่วนข้อผิดปกติอื่น ๆ ได้แก่ ซาร์ดัญญา และดินแดนส่วนแยกของสเปนที่ชื่อยิบิอ.
ดู ภูมิภาคชายแดนฮิสปาเนียและเทือกเขาพิเรนีส
เคานต์แห่งบาร์เซโลนา
นต์แห่งบาร์เซโลนา (Count of Barcelona) เป็นประมุขคนสำคัญของกาตาลุญญาระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 9 จนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 17 เคาน์ตีแห่งบาร์เซโลนาก่อตั้งขึ้นโดยชาร์เลอมาญหลังจากที่ทรงได้รับชัยชนะต่อดินแดนทางตอนเหนือของแม่น้ำเอโบร ดินแดนเหล่านี้ที่เรียกว่า "ภูมิภาคชายแดนฮิสปาเนีย" ถูกแบ่งออกเป็นเคาน์ตีย่อย ๆ ที่รวมทั้งเคาน์ตีบาร์เซโลนาที่มักจะเป็นอาณาจักรหลักของภูมิภาค ความสัมพันธ์ระหว่างเคาน์ตีกับประมุขแฟรงก์เริ่มห่างเหินขึ้นโดยเฉพาะเมื่อราชวงศ์กาเปเซียงมาแทนที่ราชวงศ์การอแล็งเฌียง ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 เคานต์แห่งบาร์เซโลนาก็รวมราชวงศ์ (dynastic union) กับราชอาณาจักรอารากอนภายใต้ประมุขร่วมกัน ในปี..
ดู ภูมิภาคชายแดนฮิสปาเนียและเคานต์แห่งบาร์เซโลนา
เซปทิเมเนีย
ซปทิเมเนียในปี ค.ศ. 537 เซปทิเมเนีย (Septimania) คือภูมิภาคประวัติศาสตร์ที่ตั้งอยู่ในบริเวณตะวันตกของมณฑลแกลเลียนาร์โบเนนซิสของโรมัน ที่ตกมาอยู่ภายใต้การปกครองของทีโอโดริกที่ 2 กษัตริย์วิซิกอท ในปี..
ดู ภูมิภาคชายแดนฮิสปาเนียและเซปทิเมเนีย
หรือที่รู้จักกันในชื่อ Hispanic MarchMarca HispanicaSpanish MarchSpanish MarchesUpper Markภูมิภาคชายแดนสเปน