สารบัญ
12 ความสัมพันธ์: กลุ่มภาษาพม่า-โลโลภาษามรูภาษาลาชิภาษาจิ่งพัวภาษาจีนกลางภาษาไป๋มณฑลยูนนานรัฐชานรัฐกะฉิ่นตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่าประเทศพม่าประเทศจีน
- ภาษาในประเทศพม่า
กลุ่มภาษาพม่า-โลโล
กลุ่มภาษาพม่า-โลโล (Lolo-Burmese languages) เป็นภาษาที่มีผู้พูดในพม่าและจีนตอนใต้ เป็นกลุ่มย่อยของตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า ภาษาน่าซีจัดอยู่ในกลุ่มนี้แต่การจัดจำแนกย่อยลงไปอีกยังไม่แน่นอน อาจจัดให้เป็นสาขาย่อยที่สามนอกเหนือจากกลุ่มภาษาพม่าและกลุ่มภาษาโลโล ภาษาปยูที่เป็นต้นกำเนิดของภาษาพม่าอาจมีความเชื่อมโยงกับกลุ่มภาษาพม่า-โลโล แต่ไม่มีหลักฐานเพียงพอสำหรับการจัดจำแนก ทำให้ถูกจัดให้เป็นตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่าที่จัดจำแนกไม่ได้ ภาษามรูซึ่งเป็นภาษาที่จัดจำแนกไม่ได้อีกภาษาหนึ่งเชื่อว่ามีความสัมพันธ์กับกลุ่มภาษาพม่า-โลโลเช่นกัน.
ดู ภาษาไจ้หว่าและกลุ่มภาษาพม่า-โลโล
ภาษามรู
วมรู ชาวมรูอาศัยในบริเวณตอนล่างทางขวามือของแผนที่บังกลาเทศ ภาษามรู (Mru language) หรือภาษามารู ภาษามูรุง มีผู้พูดทั้งหมด 51,230 คน พบในบังกลาเทศ 30,000 คน (พ.ศ.
ภาษาลาชิ
ษาลาชิ (Lachi) มีผู้พูดทั้งหมด 7,920 - 9,016 คน (พ.ศ. 2543) อยู่ในเวียดนามตามแนวชายแดนจีน 7,860 คน (พ.ศ. 2533) รวมภาษาลาชิดำ 2,500 คน และภาษาลาชิผมยาว 4,500 คน มีผู้พูดในจีนราว 60 คน (พ.ศ.
ภาษาจิ่งพัว
ษาจิ่งพัว (หรือภาษาจิงผ่อ ภาษาจิ่งเปา ภาษาฉิ่งโป ภาษากะฉิ่น) ใช้พูดในรัฐกะฉิ่นประเทศพม่าและในจีน จนบางครั้งมีผู้เรียกว่าภาษากะฉิ่น เนื่องจากเป็นภาษาของชนชาติจิ่งพัว ซึ่งเป็นชนชาติหลักของกลุ่มชนชาติคะฉิ่น นอกจากนี้มีผู้พูดในจีนอีกราว 40.000 คน เมื่อ..
ภาษาจีนกลาง
ษาจีนกลาง (จีนตัวเต็ม: 官話, จีนตัวย่อ: 官话, พินอิน: Guānhuà, ภาษาอังกฤษ: Mandarin) เป็นภาษาหลักของภาษาจีนและเป็น 1 ใน 6 ของภาษาราชการของสหประชาชาติ ในปัจจุบันมีผู้ใช้มากกว่า 800 ล้านคนทั่วโลก.
ภาษาไป๋
ษาไป๋ (ชื่อในภาษาของตน: Bairt‧ngvrt‧zix; อักษรจีนตัวเต็ม: 白語, อักษรจีนตัวย่อ: 白语; พินยิน: Báiyǔ) เป็นภาษาที่ใช้พูดในมณฑลยูนนาน ประเทศจีน มีผู้พูดมากกว่าล้านคน แบ่งได้เป็นสามสำเนียงหลัก เป็นภาษาที่มีเสียงวรรณยุกต์และมีสระมาก ไม่มีระบบการเขียนเป็นของตนเอง อยู่ในตระกูลทิเบต-พม่า มีคำยืมจากภาษาจีนกลางราว 70% การเรียงประโยคเป็นแบบประธาน-กริยา-กรรม แบบเดียวกับภาษาจีน.
มณฑลยูนนาน
มณฑลยูนนาน หรือ หยุนหนาน มีชื่อย่อว่า หยุน(云)หรือ เตียน(滇)มีชื่อในภาษาไทยถิ่นเหนือว่า วิเทหราช ตั้งอยู่ทิศตะวันตกเฉียงใต้ของจีน มีเมืองหลวงชื่อ คุนหมิง มีเนื้อที่ 394,100 ก.ม.
รัฐชาน
รัฐชาน หรือ รัฐฉาน (ရှမ်းပြည်နယ်, ช้าน ปหฺยี่แหน่; ไทใหญ่:; เมิ้งไต๊) บ้างเรียก รัฐไทใหญ่ เป็นรัฐหนึ่งในประเทศพม.
รัฐกะฉิ่น
รัฐกะฉิ่น (ကချင်ပြည်နယ်; กะฉิ่น: Jingphaw Mungdaw) เป็นเขตปกครองหนึ่ง ตั้งอยู่ทางตอนเหนือสุดของประเทศพม.
ตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า
ตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า เป็นตระกูลย่อยของตระกูลภาษาจีน-ทิเบต ใช้พูดในเอเชียกลาง และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ รวมทั้ง พม่า ทิเบต ภาคเหนือของไทย ภาคกลางของจีน ภาคเหนือของเนปาล ภูฏาน อินเดียและปากีสถาน ภาษากลุ่มนี้มี 350 ภาษา ภาษาพม่ามีผู้พูดมากที่สุด (ประมาณ 32 ล้านคน) มีผู้พูดภาษาทิเบตทุกสำเนียงอีกราว 8 ล้านคน นักภาษาศาสตร์บางคนเช่น George van Driem เสนอให้จัดตระกูลทิเบต-พม่าขึ้นเป็นตระกูลใหญ่ และให้กลุ่มภาษาจีนมาเป็นกลุ่มย่อยแทนแต่ยังไม่ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวาง.
ดู ภาษาไจ้หว่าและตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า
ประเทศพม่า
ม่า หรือ เมียนมา (မြန်မာ,, มฺยะหฺม่า) มีชื่อทางการว่า สาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า หรือ สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา (ပြည်ထောင်စု သမ္မတ မြန်မာနိုင်ငံတော်, ปหฺยี่เด่าง์ซุ ตัมมะดะ มฺยะหฺม่า ไหฺน่หฺงั่นด่อ) เป็นรัฐเอกราชในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพรมแดนติดกับอินเดีย บังกลาเทศ จีน ลาว และไทย หนึ่งในสามของพรมแดนพม่าที่มีความยาว 1,930 กิโลเมตรเป็นแนวชายฝั่งตามอ่าวเบงกอลและทะเลอันดามัน ด้วยพื้นที่ 676,578 ตารางกิโลเมตร ประเทศพม่าเป็นประเทศที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 40 ของโลก และใหญ่เป็นอันดับที่ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สำมะโนของประเทศในปี 2557 เผยว่าประเทศพม่ามีประชากรน้อยกว่าที่คาดการณ์ โดยมีบันทึกประชากร 51 ล้านคน มีเมืองหลวง คือ กรุงเนปยีดอ และนครใหญ่สุด คือ ย่างกุ้ง อารยธรรมช่วงต้นของประเทศพม่ามีนครรัฐปยูที่พูดภาษาตระกูลทิเบต-พม่าในพม่าตอนบน และราชอาณาจักรมอญในพม่าตอนล่าง ในคริสต์ศตวรรษที่ 9 ชาวพม่าได้เข้าครอบครองบริเวณลุ่มแม่น้ำอิรวดีตอนบน และสถาปนาราชอาณาจักรพุกามในช่วงคริสต์ทศวรรษที่ 1050 ภาษาและวัฒนธรรมพม่าพร้อมด้วยศาสนาพุทธนิกายเถรวาทค่อย ๆ ครอบงำในประเทศ อาณาจักรพุกามล่มสลายเพราะการบุกครองของมองโกลและรัฐหลายรัฐกำเนิดขึ้น ในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ราชวงศ์ตองอูสร้างเอกภาพอีกครั้ง และช่วงสั้น ๆ เป็นจักรวรรรดิใหญ่สุดในประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ต้นศตวรรษที่ 19 ราชวงศ์คองบองได้ปกครองพื้นที่ประเทศพม่าและควบคุมมณีปุระและอัสสัมในช่วงสั้น ๆ ด้วย บริติชพิชิตพม่าหลังสงครามอังกฤษ-พม่าทั้งสามครั้งในคริสต์ศตวรรษที่ 19 และประเทศกลายเป็นอาณานิคมบริติช ประเทศพม่าได้รับเอกราชใน..
ประเทศจีน
ประเทศจีน มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐประชาชนจีน (People's Republic of China (PRC)) เป็นรัฐเอกราชในเอเชียตะวันออก เป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดในโลก กว่า 1,300 ล้านคน เป็นรัฐพรรคการเมืองเดียวปกครองโดยพรรคคอมมิวนิสต์จีน มีเมืองหลวงอยู่ที่กรุงปักกิ่ง ประเทศจีนแบ่งการปกครองออกเป็น 22 มณฑล (ไม่รวมพื้นที่พิพาทไต้หวัน) 5 เขตปกครองตนเอง 4 เทศบาลนคร (ปักกิ่ง เทียนจิน เซี่ยงไฮ้ และฉงชิ่ง) และ 2 เขตบริหารพิเศษ ได้แก่ ฮ่องกงและมาเก๊า ประเทศจีนมีพื้นที่ 9.6 ล้านตารางกิโลเมตร นับเป็นประเทศที่มีพื้นที่ทั้งหมดใหญ่ที่สุดในโลกเป็นอันดับ 3 หรือ 4 แล้วแต่วิธีการวัด ลักษณะภูมิประเทศของจีนมีความหลากหลาย ตั้งแต่ป่าสเต็ปป์และทะเลทรายในพื้นที่แห้งแล้งทางตอนเหนือของประเทศติดกับประเทศมองโกเลียและไซบีเรียของรัสเซีย และป่าฝนกึ่งโซนร้อนในพื้นที่ชื้นทางใต้ซึ่งติดกับเวียดนาม ลาว และพม่า ส่วนภูมิประเทศทางตะวันตกนั้นขรุขระและเป็นที่สูง โดยมีเทือกเขาหิมาลัยและเทือกเขาเทียนชานกั้นเป็นพรมแดนตามธรรมชาติกับประเทศอินเดีย เนปาล และเอเชียกลาง ในทางตรงกันข้าม แนวชายฝั่งด้านตะวันออกของจีนแผ่นดินใหญ่นั้นเป็นที่ราบต่ำ และมีแนวชายฝั่งยาว 14,500 กิโลเมตร (ยาวที่สุดเป็นอันดับที่ 11 ของโลก) ซึ่งติดต่อกับทะเลจีนใต้ทางใต้ และทะเลจีนตะวันออกทางตะวันออก นอกจากนี้ยังมีประเทศที่เป็นเกาะอยู่ใกล้เคียง ได้แก่ เกาหลี และญี่ปุ่น อารยธรรมจีนโบราณ ซึ่งถือว่าเป็นหนึ่งอารยธรรมยุคแรกเริ่มของโลก เจริญรุ่งเรืองในลุ่มแม่น้ำเหลืองอันอุดมสมบูรณ์ ซึ่งไหลผ่านที่ราบลุ่มจีนเหนือ จีนยึดระบบการเมืองแบบราชาธิปไตยหลายสหัสวรรษ จีนรวมกันเป็นปึกแผ่นครั้งแรกในสมัยราชวงศ์ฉินเมื่อ 221 ปีก่อนคริสตกาล ส่วนราชวงศ์สุดท้าย ราชวงศ์ชิง สิ้นสุดลงในปี..
ดูเพิ่มเติม
ภาษาในประเทศพม่า
- ตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า
- ภาษากอกบอรอก
- ภาษาคูมี
- ภาษางาลา
- ภาษาชัก
- ภาษาดาไอ
- ภาษาตังซา
- ภาษาปยู
- ภาษาปลัง
- ภาษาพม่า
- ภาษามณีปุระ
- ภาษามลายูเกอดะฮ์
- ภาษามอญ
- ภาษามอแกน
- ภาษามอแกลน
- ภาษามึน
- ภาษายะไข่
- ภาษายะไข่ถิ่นรามรี
- ภาษาลีสู่
- ภาษาล่าหู่
- ภาษาว้า
- ภาษาเขิน
- ภาษาเนปาล
- ภาษาเรียง
- ภาษาเลาโว
- ภาษาโซตุง
- ภาษาโรฮีนจา
- ภาษาไจ้หว่า
- ภาษาไซเฟ
- ภาษาไทยถิ่นเหนือ
- ภาษาไทยถิ่นใต้
- ภาษาไทลื้อ
- ภาษาไทใต้คง
- ภาษาไทใหญ่
- อักษรฟราเซอร์
หรือที่รู้จักกันในชื่อ ภาษาไซวา