โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียม

ดัชนี สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียม

มเด็จพระราชาธิบดีเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียม (3 พฤศจิกายน 1901 - 25 กันยายน 1983) เป็นพระมหากษัตริย์แห่งชาวเบลเยียม ตั้งแต่ปี..

78 ความสัมพันธ์: บรัสเซลส์ชุทซ์ชทัฟเฟิลฟรันซิสโก ฟรังโกพ.ศ. 2444พ.ศ. 2452พ.ศ. 2457พ.ศ. 2477พ.ศ. 2482พ.ศ. 2483พ.ศ. 2487พ.ศ. 2488พ.ศ. 2489พ.ศ. 2493พ.ศ. 2494พระเจ้ามักซีมีเลียนที่ 1 โยเซฟแห่งบาวาเรียพระเจ้ามิเกลแห่งโปรตุเกสพระเจ้าหลุยส์-ฟีลิปที่ 1 แห่งฝรั่งเศสพระเจ้าฌูเอาที่ 6 แห่งโปรตุเกสพระเจ้าเลออปอลที่ 1 แห่งเบลเยียมกองทัพเบลเยียมการนัดหยุดงานทั่วไปการ์โลตา โคอากีนาแห่งสเปน สมเด็จพระราชินีแห่งโปรตุเกสฝ่ายอักษะมารีอา อะเมเลียแห่งเนเปิลส์และซิซิลี สมเด็จพระราชินีแห่งฝรั่งเศสมิถุนายนระบอบนาซีรัฐบาลพลัดถิ่นรัฐสภารัฐซัคเซินรายพระนามพระมหากษัตริย์เบลเยียมลอนดอนลิเลียง เจ้าหญิงแห่งเรธีลีแยฌวินสตัน เชอร์ชิลสภาสามัญชนแห่งสหราชอาณาจักรสมเด็จพระราชาธิบดีอัลแบร์ที่ 2 แห่งเบลเยียมสมเด็จพระราชาธิบดีโบดวงแห่งเบลเยียมสมเด็จพระราชินีอัสตริดแห่งเบลเยียมสมเด็จพระราชินีนาถวิลเฮลมินาแห่งเนเธอร์แลนด์สมเด็จพระเจ้าอัลแบร์ที่ 1 แห่งเบลเยียมสหรัฐสหราชอาณาจักรสงครามกลางเมืองสงครามโลกครั้งที่สองหลุยส์-มารีแห่งออร์เลอ็อง สมเด็จพระราชินีแห่งเบลเยียมอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ผู้สำเร็จราชการผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์จอมพลธงชาติเบลเยียม...ดยุกแห่งบราบันต์คาร์ล อันโทน เจ้าชายแห่งโฮเอินโซลเลิร์นซัคเซิน-โคบูร์กและโกทาประเทศฝรั่งเศสประเทศสวิตเซอร์แลนด์ประเทศออสเตรียประเทศเบลเยียมปารีสแกรนด์ดัชเชสโฌเซฟีน-ชาร์ล็อตแห่งลักเซมเบิร์กไฮน์ริช ฮิมม์เลอร์เอกอัครราชทูตเอลิซาเบธแห่งบาวาเรีย สมเด็จพระราชินีแห่งเบลเยียมเจนีวาเจ้าชายชาลส์ เคานต์แห่งฟลานเดอร์เจ้าชายฟิลิป เคานต์แห่งแฟลนเดอส์เจ้าชายอาแล็กซ็องดร์แห่งเบลเยียมเจ้าชายเลโอโปลด์ ดยุกแห่งบราบันต์เจ้าหญิงมารี-คริสตินแห่งเบลเยียมเจ้าหญิงมารี-แอ็สเมราลดาแห่งเบลเยียมเจ้าหญิงมารีแห่งโฮเฮนซอลเลิร์น-ซิกมาริงเงินเจ้าหญิงอเดเลดแห่งโลเวนสไตน์-เวิร์ทเฮล์ม-โรเซนเบิร์กเจ้าหญิงแคโรไลน์แห่งบาเดินเจ้าหญิงโยเซฟินแห่งบาเดินเขตวัลลูน16 กรกฎาคม23 กุมภาพันธ์24 พฤษภาคม3 พฤศจิกายน ขยายดัชนี (28 มากกว่า) »

บรัสเซลส์

รัสเซลส์ (Brussels), บรูว์แซล (Bruxelles) หรือ บรึสเซิล (Brussel; Brüssel) เรียกอย่างเป็นทางการว่า เขตนครหลวงบรัสเซลส์ หรือ เขตบรัสเซลส์ (All text and all but one graphic show the English name as Brussels-Capital Region.) (Région de Bruxelles-Capitale, Brussels Hoofdstedelijk Gewest) เป็นเมืองหลวงของประเทศเบลเยียม และเป็นศูนย์กลางหรือเมืองหลวงอย่างไม่เป็นทางการของสหภาพยุโรป (อียู) เขตบรัสเซลส์แบ่งการปกครองย่อยเป็นเทศบาลจำนวน 19 แห่ง รวมถึง เทศบาลนครบรัสเซลส์ (City of Brussels) ซึ่งอยู่ใจกลางเขตมีอาณาเขตเพียง 32.61 ตร.กม.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียมและบรัสเซลส์ · ดูเพิ่มเติม »

ชุทซ์ชทัฟเฟิล

ทซ์ชทัฟเฟิล (Schutzstaffel "ᛋᛋ" ที่เป็นอักษรรูน) หรือ เอ็สเอ็ส (SS) เป็นองค์กรกำลังกึ่งทหารสังกัดพรรคนาซีภายใต้คำสั่งของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ เดิมมีชื่อองค์กรว่า ซาล-ซุทซ์ (Saal-Schutz) ซึ่งมีสมาชิกเป็นอาสาสมัครของพรรคนาซีเพื่อคุ้มกันและดูแลความปลอดภัยในการประชุมพรรคที่เมืองมิวนิก เมื่อไฮน์ริช ฮิมม์เลอร์เข้าร่วมองค์กรในปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียมและชุทซ์ชทัฟเฟิล · ดูเพิ่มเติม »

ฟรันซิสโก ฟรังโก

ฟรันซิสโก เปาลีโน เอร์เมเนคิลโด เตโอดูโล ฟรังโก อี บาอามอนเด ซัลกาโด ปาร์โด (Francisco Paulino Hermenegildo Teódulo Franco y Bahamonde Salgado Pardo) หรือที่เป็นที่รู้จักกันในชื่อ จอมพลฟรันซิสโก ฟรังโก (Francisco Franco) และ เอลโกว์ดีโย หรือ "ท่านผู้นำ" (El Coudillo) (เกิด 4 ธันวาคม พ.ศ. 2435 - ถึงแก่กรรม 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2518) เป็นจอมพลและผู้เผด็จการชาวสเปนในช่วงปี พ.ศ. 2479-2518 เกิดที่เมืองเอลเฟร์โรล แคว้นกาลิเซีย ทางภาคตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศสเปน จบการศึกษาจากโรงเรียนนายร้อยโตเลโดในปี พ.ศ. 2453 ได้รับประสบการณ์ในการรบเป็นอย่างมากในสงครามโมร็อกโก และได้เป็นนายพลที่หนุ่มที่สุดของประเทศสเปนเมื่อปี พ.ศ. 2469 ระหว่างสมัยสาธารณรัฐสเปนที่ 2 (พ.ศ. 2474-2479) ฟรังโกได้เป็นผู้นำทำการปราบปรามกบฏชาวเหมืองอัสตูรีอัส และในปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียมและฟรันซิสโก ฟรังโก · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2444

ทธศักราช 2444 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1901 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียมและพ.ศ. 2444 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2452

ื พุทธศักราช 2452 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1909 เป็ๆนปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียมและพ.ศ. 2452 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2457

ทธศักราช 2457 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1914 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียมและพ.ศ. 2457 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2477

ทธศักราช 2477 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1934ยวห.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียมและพ.ศ. 2477 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2482

ทธศักราช 2561 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1939.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียมและพ.ศ. 2482 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2483

ทธศักราช 2483 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1940 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียมและพ.ศ. 2483 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2487

ทธศักราช 2487 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1944 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียมและพ.ศ. 2487 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2488

ทธศักราช 2488 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1945 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียมและพ.ศ. 2488 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2489

ทธศักราช 2489 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1946 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียมและพ.ศ. 2489 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2493

ทธศักราช 2493 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1950 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียมและพ.ศ. 2493 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2494

ทธศักราช 2494 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1951.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียมและพ.ศ. 2494 · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้ามักซีมีเลียนที่ 1 โยเซฟแห่งบาวาเรีย

มเด็จพระเจ้าแม็กซิมิเลียนที่ 1 โจเซฟแห่งบาวาเรีย (27 พฤษภาคม ค.ศ. 1756 – 13 ตุลาคม ค.ศ. 1825) ทรงเป็นกษัตริย์แห่งบาวาเรีย ระหว่างปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียมและพระเจ้ามักซีมีเลียนที่ 1 โยเซฟแห่งบาวาเรีย · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้ามิเกลแห่งโปรตุเกส

มเด็จพระเจ้ามิเกลที่ 1 แห่งโปรตุเกส (ภาษาอังกฤษ: Michael I; 26 ตุลาคม พ.ศ. 2345 ในลิสบอน - 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2409 ในชลูส์ คาร์ลส์โฮเฮ, บาวาเรีย) ทรงได้รับพระราชสมัญญาว่า "ผู้สมบูรณาญาสิทธิ์" (the Absolutist; ภาษาโปรตุเกส:o Absolutista) หรือ "ผู้อนุรักษนิยม" (the Traditionalist; ภาษาโปรตุเกส:o Tradicionalista) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรโปรตุเกสระหว่างปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียมและพระเจ้ามิเกลแห่งโปรตุเกส · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าหลุยส์-ฟีลิปที่ 1 แห่งฝรั่งเศส

ระเจ้าหลุยส์-ฟีลิปที่ 1 แห่งฝรั่งเศส (Louis-Philippe Ier; Louis-Philippe of France) (6 ตุลาคม พ.ศ. 2316 - 26 สิงหาคม พ.ศ. 2393) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งชาวฝรั่งเศส (King of the French) ตั้งแต่ 9 สิงหาคม พ.ศ. 2373 ถึง 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2391 รวม 18 ปี ต่อจากการสละราชสมบัติของพระเจ้าชาร์ลที่ 10 พระองค์ทรงเป็นที่รู้จักของประชาชนในนาม "พระมหากษัตริย์แห่งเดือนกรกฎาคม" โดยพระองค์ก็ถูกบังคับให้สละราชสมบัติในปีค.ศ. 1830 และเสด็จไปลี้ภัยที่ประเทศอังกฤษจนสิ้นพระชนม์ชีพ เป็นพระมหากษัตริย์พระองค์สุดท้ายแห่งฝรั่งเศส (ถ้าไม่นับรวมจักรพรรดินโปเลียนที่ 3 ซึ่งอยู่ในฐานะจักรพรรดิ).

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียมและพระเจ้าหลุยส์-ฟีลิปที่ 1 แห่งฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าฌูเอาที่ 6 แห่งโปรตุเกส

ระเจ้าฌูเอาที่ 6 แห่งโปรตุเกส (Dom João VI de Portugal, ออกเสียง) มีพระนามเต็มว่า ฌูเอา มารีอา ฌูเซ ฟรังซิชกู ชาวีเอร์ ดึ เปาลา ลูอิช อังตอนีอู ดูมิงกุช ราฟาเอล ดึ บรากังซา (João Maria José Francisco Xavier de Paula Luís António Domingos Rafael de Bragança; 13 พฤษภาคม พ.ศ. 2310 - 10 มีนาคม พ.ศ. 2369) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งสหราชอาณาจักรโปรตุเกส บราซิล และแอลการ์ฟ ตั้งแต..

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียมและพระเจ้าฌูเอาที่ 6 แห่งโปรตุเกส · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าเลออปอลที่ 1 แห่งเบลเยียม

ระเจ้าเลออปอลที่ 1 แห่งเบลเยียม (Léopold Georges Chrétien Frédéric, Leopold Georg Christian Friedrich; 16 ธันวาคม ค.ศ. 1790 – 10 ธันวาคม ค.ศ. 1865) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรเบลเยียม พระองค์แรกโดยมีพระอิสริยยศเป็น "พระมหากษัตริย์แห่งชาวเบลเยียม" (King of the Belgians) ตั้งแต่วันที่ 21 กรกฎาคม ค.ศ. 1831 ภายหลังจากการได้รับอิสรภาพจากเนเธอร์แลนด์ พระองค์ทรงเป็นต้นสายของพระราชวงศ์ซัคเซิน-โคบูร์กและโกทาสายเบลเยียม พระโอรสและธิดาของพระองค์รวมถึงสมเด็จพระเจ้าเลออปอลที่ 2 แห่งเบลเยียม และจักรพรรดินีคาร์ลอตตาแห่งเม็กซิโก พระองค์ยังเป็นพระปิตุจฉา (ลุง) และที่ปรึกษาสำคัญของสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร พระองค์พระราชสมภพที่โคบูรก์ และสวรรคตที่ลาเคน โดยพระอิสริยยศเมื่อพระราชสมภพคือ เจ้าชายแห่งซัคเซิน-โคบูรก์-ซาลเฟลด์ และต่อมาเป็น เจ้าชายแห่งซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา และดยุกแห่งแซกโซนี.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียมและพระเจ้าเลออปอลที่ 1 แห่งเบลเยียม · ดูเพิ่มเติม »

กองทัพเบลเยียม

กองทัพเบลเยียม (Armée belge, Belgisch leger) คือกองกำลังทหารของราชอาณาจักรเบลเยียม กองทัพเบลเยียมได้ก่อตั้งขึ้นภายหลังจากการประกาศอิสรภาพในเดือนตุลาคม..

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียมและกองทัพเบลเยียม · ดูเพิ่มเติม »

การนัดหยุดงานทั่วไป

การนัดหยุดงานทั่วไป (general strike) เป็นการนัดหยุดงานโดยมวลชนที่จำเป็น (critical mass) ของกำลังแรงงานในนคร ภูมิภาค หรือประเทศ ขณะที่การนัดหยุดงานทั่วไปมีขึ้นเพื่อจุดประสงค์ทางการเมือง ทางเศรษฐกิจหรือทั้งคู่ การนัดหยุดงานทั่วไปมีแนวโน้มได้รับแรงผลักดันจากความเห็นพ้องต้องกันในอุดมการณ์หรือชนชั้นของผู้เข้าร่วม นอกจากนี้ การนัดหยุดงานทั่วไปยังมีลักษณะของการมีส่วนร่วมของกรรมกรในกลุ่มคนที่ทำงาน และมีแนวโน้มข้องเกี่ยวกับทั้งชุมชน การนัดหยุดงานทั่วไปได้รับความนิยมเพิ่มขึ้นและลดลงตั้งแต่กลางคริสต์ศตวรรษที่ 19 และเป็นลักษณะของการนัดหยุดงานครั้งสำคัญในประวัติศาสตร์หลายครั้ง การนัดหยุดงานทั่วไป หมวดหมู่:กรรมกร หมวดหมู่:ยุทธวิธีการประท้วง.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียมและการนัดหยุดงานทั่วไป · ดูเพิ่มเติม »

การ์โลตา โคอากีนาแห่งสเปน สมเด็จพระราชินีแห่งโปรตุเกส

้าหญิงการ์โลตา โคอากีนาแห่งสเปน (Doña Carlota Joaquina; 25 เมษายน พ.ศ. 2318 - 7 มกราคม พ.ศ. 2373) ทรงเป็นเจ้าหญิงแห่งสเปนเมื่อครั้งประสูติและหลังจากนั้นทรงเป็นสมเด็จพระราชินีแห่งโปรตุเกส เป็นพระราชธิดาองค์โตในพระเจ้าการ์โลสที่ 4 แห่งสเปนกับเจ้าหญิงมาเรีย ลุยซาแห่งปาร์มา และพระนางเป็นพระมเหสีในพระเจ้าโจเอาที่ 6 แห่งโปรตุเก.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียมและการ์โลตา โคอากีนาแห่งสเปน สมเด็จพระราชินีแห่งโปรตุเกส · ดูเพิ่มเติม »

ฝ่ายอักษะ

ฝ่ายอักษะ (Axis Powers; Achsenmächte; Potenze dell'Asse; Suujikukoku.) หรือชื่อ อักษะ โรม-เบอร์ลิน-โตเกียว (Rome-Berlin-Tokyo Axis) เป็นกลุ่มประเทศมหาอำนาจทางการทหารซึ่งสู้รบกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สอง ประกอบด้วยสามประเทศหลัก คือ นาซีเยอรมนี อิตาลีและจักรวรรดิญี่ปุ่น ซึ่งทั้งสามร่วมลงนามกติกาสัญญาไตรภาคี เมื่อเดือนกันยายน..

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียมและฝ่ายอักษะ · ดูเพิ่มเติม »

มารีอา อะเมเลียแห่งเนเปิลส์และซิซิลี สมเด็จพระราชินีแห่งฝรั่งเศส

มเด็จพระราชินีมาเรีย อเมเรีย แห่งทูซิชิลี สมเด็จพระราชินีมาเรีย อมาเลียแห่งทูซิชิลี ทรงเป็นสมเด็จพระราชินีแห่งฝรั่งเศส ในพระเจ้าหลุยส์-ฟิลิปป์ที่ 1 แห่งฝรั่ง.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียมและมารีอา อะเมเลียแห่งเนเปิลส์และซิซิลี สมเด็จพระราชินีแห่งฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

มิถุนายน

มิถุนายน เป็นเดือนที่ 6 ของปี ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นหนึ่งในเดือน 4 เดือนที่มี 30 วัน ตามหลักโหราศาสตร์ เดือนมิถุนายนเริ่มต้นขึ้นเมื่อดวงอาทิตย์ยกเข้าสู่ราศีเมถุน และสิ้นสุดเมื่อยกเข้าสู่ราศีกรกฎ แต่ในทางดาราศาสตร์ ต้นเดือนมิถุนายนดวงอาทิตย์อยู่ในกลุ่มดาววัวและปลายเดือนไปอยู่ในกลุ่มดาวคนคู่ ชื่อในภาษาอังกฤษ "June" มีที่มาจากเทพเจ้าโรมันนามว่า จูโน (Juno) ส่วนในประเทศไทยเริ่มใช้ชื่อเดือนมิถุนายนในปี พ.ศ. 2432 ตรงกับสมัยรัชกาลที่ 5 โดยสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาเทววงศ์วโรปการ เป็นผู้เสนอให้ใช้ราศีกำหนดชื่อเดือน.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียมและมิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

ระบอบนาซี

นาซี (Nazism; บ้างสะกดว่า Naziism "JAPAN: Imitation of Naziism?"; Nationalsozialismus) หรือ ชาติสังคมนิยม เป็นอุดมการณ์และวิถีปฏิบัติของพรรคนาซีและนาซีเยอรมนีPayne, Stanley G. 1995.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียมและระบอบนาซี · ดูเพิ่มเติม »

รัฐบาลพลัดถิ่น

รัฐบาลพลัดถิ่น (government in exile) เป็นกลุ่มการเมืองซึ่งอ้างตัวเป็นรัฐบาลที่ชอบด้วยกฎหมายของรัฐเอกราชรัฐหนึ่ง แต่ไม่อาจใช้อำนาจตามกฎหมายในรัฐนั้น และจำต้องพำนักอยู่นอกรัฐดังกล่าว รัฐบาลพลัดถิ่นมักคาดหวังว่า วันหนึ่งจะได้กลับคืนบ้านเมืองและครองอำนาจอย่างเป็นทางการอีกครั้ง รัฐบาลพลัดถิ่นต่างจากรัฐตกค้าง (rump state) ตรงที่รัฐตกค้างยังสามารถควบคุมส่วนหนึ่งส่วนใดในดินแดนเดิมได้อยู่ เช่น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง แม้จักรวรรดิเยอรมันเข้ายึดครองประเทศเบลเยียมได้เกือบทั้งประเทศ แต่ประเทศเบลเยียมและพันธมิตรยังครองภาคตะวันตกซึ่งเป็นส่วนน้อยของประเทศได้อยู่ จึงชื่อว่าเป็นรัฐตกค้าง ถ้าเป็นรัฐบาลพลัดถิ่นจะตรงกันข้าม คือ ไม่สามารถครอบครองดินแดนไว้ได้เลย รัฐบาลพลัดถิ่นมักมีขึ้นในช่วงการรบซึ่งดินแดนถูกยึดครองไป หรือมักเป็นผลมาจากสงครามกลางเมือง การปฏิวัติ หรือรัฐประหาร เช่น ระหว่างที่เยอรมนีขยายดินแดนในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง รัฐบาลยุโรปหลายชาติได้เข้าลี้ภัยในสหราชอาณาจักรเพื่อไม่ตกอยู่ในกำมือพวกนาซี รัฐบาลพลัดถิ่นยังอาจจัดตั้งขึ้นเนื่องจากเชื่อถือกันอย่างกว้างขวางว่า รัฐบาลซึ่งกำลังผ่านบ้านครองเมืองอยู่นั้นขาดความชอบธรรม เช่น หลังเกิดสงครามกลางเมืองซีเรีย พันธมิตรกองทัพปฏิวัติและฝ่ายค้านซีเรียแห่งชาติ (National Coalition for Syrian Revolutionary and Opposition Forces) ได้รับการจัดตั้งขึ้นโดยมุ่งหมายจะล้มล้างการปกครองของพรรคบะอัธ (Ba'ath Party) ซึ่งกำลังอยู่ในอำนาจ รัฐบาลพลัดถิ่นจะมีประสิทธิภาพหรือไม่ เบื้องต้นขึ้นอยู่กับว่า ได้รับการสนับสนุนมากหรือไม่ ไม่ว่าจะเป็นการสนับสนุนจากรัฐบาลต่างชาติหรือจากพลเมืองประเทศตนเอง รัฐบาลพลัดถิ่นบางชุดกลายเป็นกองกำลังอันน่าเกรงขาม เพราะสามารถท้าทายผู้ปกครองประเทศนั้น ๆ ได้อย่างฉกาจฉกรรจ์ ขณะที่รัฐบาลพลัดถิ่นอื่น ๆ ส่วนใหญ่มักมีสถานะเชิงสัญลักษณ์เท่านั้น ปรากฏการณ์รัฐบาลพลัดถิ่นมีมาก่อนคำว่า "รัฐบาลพลัดถิ่น" จะได้รับการใช้จริง ในยุคกษัตริย์ พระเจ้าแผ่นดินหรือราชวงศ์ที่ถูกอัปเปหิเคยตั้งราชสำนักพลัดถิ่น เช่น ราชวงศ์สจวร์ตซึ่งถูกโอลิเวอร์ ครอมเวล (Oliver Cromwell) ถอดจากบัลลังก์ ก็ไปตั้งราชสำนักพลัดถิ่น และราชวงศ์บูร์บง (House of Bourbon) ก็ทำเช่นเดียวกันในช่วงปฏิวัติฝรั่งเศสและช่วงนโปเลียน (Napoleon) เถลิงอำนาจ ครั้นเมื่อระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญแพร่หลายขึ้น รัฐบาลกษัตริย์พลัดถิ่นก็เริ่มมีนายกรัฐมนตรีด้วยเหมือนกัน เช่น รัฐบาลพลัดถิ่นเนเธอร์แลนด์ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สองตั้ง Pieter Sjoerds Gerbrandy เป็นนายกรัฐมนตรี.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียมและรัฐบาลพลัดถิ่น · ดูเพิ่มเติม »

รัฐสภา

ผู้แทนราษฎรของออสเตรเลีย รัฐสภา เป็นสภานิติบัญญัติชนิดหนึ่ง รัฐสภาจะทำหน้าที่ออกกฎหมาย อภิปราย หารือกันระหว่างสมาชิกรัฐสภา ถกเถียงประเด็นทางการเมืองหรือกิจกรรมทางการเมืองอื่นๆ โดยรัฐสภาจะมีเฉพาะประเทศที่ใช้ใช้ระบอบการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ซึ่งสหราชอาณาจักรเป็นประเทศแรกในโลกที่มีระบบรัฐสภาและเป็นต้นแบบระบอบประชาธิปไตยในสมัยปัจจุบันด้วย เช่น ฝรั่งเศส สเปน สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น เป็นต้น.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียมและรัฐสภา · ดูเพิ่มเติม »

รัฐซัคเซิน

ซัคเซิน (Sachsen) หรือ แซกโซนี (Saxony) เป็นรัฐหนึ่งในประเทศเยอรมนี ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของประเทศ ได้ชื่อว่าเป็นเสรีรัฐที่มีประวัติศาสตร์เก่าแก่แห่งหนึ่ง มีเมืองเดรสเดินเป็นเมืองหลวง.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียมและรัฐซัคเซิน · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์เบลเยียม

ราชอาณาจักรเบลเยียม เริ่มก่อตั้งเมื่อปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียมและรายพระนามพระมหากษัตริย์เบลเยียม · ดูเพิ่มเติม »

ลอนดอน

ลอนดอน (London, ลันเดิน) เป็นเมืองหลวงของประเทศอังกฤษ และสหราชอาณาจักร และเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดของสหภาพยุโรป เป็นเมืองที่มีศูนย์กลางทางธุรกิจที่ใหญ่ที่สุดในโลก ลอนดอนเป็นหนึ่งในศูนย์กลางสำคัญทางธุรกิจ การเมือง วัฒนธรรม และประวัติศาสตร์ของโลก เป็นผู้นำด้านการเงิน การเมือง การสื่อสาร การบันเทิง แฟชั่น และศิลปะ ในอดีตเป็นเมืองหลวงของโลก เป็นเมืองที่เจริญที่สุดในโลก ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน เป็นเมืองที่มีอิทธิพลไปทั่วโลก ถือกันว่าเป็นเมืองสากลหลักของโลก จีดีพีของลอนดอน คิดเป็นร้อยละ 19.5 ของสหราชอาณาจักร ลอนดอนมีประชากรประมาณ 7.5 ล้านคน (ข้อมูลเมื่อปี พ.ศ. 2549) และประมาณ 12 - 14 ล้านคนถ้ารวมนครหลวงลอนดอนและปริมณฑล ลอนดอนเป็นเมืองที่ประกอบด้วยหลายชนชาติอย่างมาก ประชากรมีความหลากหลายทั้งด้านเชื้อชาติ วัฒนธรรม ศาสนา และภาษา ซึ่งประมาณว่ามีมากกว่า 300 ภาษา เราเรียกชาวลอนดอนว่า ลอนดอนเนอร์ (Londoner) ลอนดอนเป็นศูนย์กลางการคมนาคมในระดับนานาชาติ และเป็นเมืองท่องเที่ยวสำคัญของทวีปยุโรป โดยสนามบินที่ใหญ่ที่สุดในลอนดอน คือ ท่าอากาศยานนานาชาติฮีทโธรว.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียมและลอนดอน · ดูเพิ่มเติม »

ลิเลียง เจ้าหญิงแห่งเรธี

้าหญิงลิเลียงแห่งเบลเยียม (พระนามเดิม:แมรี ลิเลียง บาเอลส์, 28 พฤศจิกายน 2459 – 7 มิถุนายน 2545) หรือรู้จักกันในพระนาม ลิเลียง เจ้าหญิงแห่งเรธี เป็นพระชายาพระองค์ที่สองในสมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียม ลิเลียงประสูติเมื่อวันที่ 28 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียมและลิเลียง เจ้าหญิงแห่งเรธี · ดูเพิ่มเติม »

ลีแยฌ

ลีแยฌ (Liège), ลึททิช (Lüttich), เลยก์ (Luik) เป็นเมืองและเทศบาลในประเทศเบลเยียมและเป็นเมืองหลวงของจังหวัดลีแยฌ ตั้งอยู่ในหุบเขาริมแม่น้ำเมิส ใกล้กับพรมแดนทางตะวันออกของเบลเยียมซึ่งติดต่อกับประเทศเนเธอร์แลนด์และเยอรมนี ลีแยฌเป็นเมืองหลวงทางเศรษฐกิจของเขตวัลลูน มีประชากรประมาณ 197,000 คน มีชาวต่างชาติอาศัยอยู่ประมาณ 30,000 คน และมีประชากรบริเวณปริมณฑลประมาณ 600,000 คน ซึ่งถือได้ว่ามีผู้อยู่อาศัยมากที่สุดในวัลโลเนีย ลีแยฌเป็นเมืองใหญ่จากประชากรอันดับสามของประเทศเบลเยียมรองจากกรุงบรัสเซลส์และแอนต์เวิร์ป และเป็นเทศบาลใหญ่อันดับสี่รองจากแอนต์เวิร์ป เกนต์ และชาร์เลอรอย ในอดีตที่ตั้งของลีแยฌเคยเป็นรัฐในจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ชื่อ "ราชรัฐมุขนายกลีแยฌ" ซึ่งก่อตั้งตั้งแต่ ค.ศ. 980 แต่ได้ถูกยุบเลิกในปี ค.ศ. 1795 เมื่อพ่ายแพ้ต่อฝรั่งเศส มหาวิทยาลัยลีแยฌ (University of Liège: ULg) ก่อตั้งขึ้นในสมัยพระเจ้าวิลเลิมที่ 1 แห่งสหราชอาณาจักรเนเธอร์แลนด์ และเปิดอย่างเป็นทางการใน ค.ศ. 1817 ประมาณครึ่งคริสต์ศตวรรษที่ 20 ลีแยฌเป็นศูนย์กลางของอุตสาหกรรมเหมืองแร่ซึ่งนำความเจริญมาสู่วัลโลเนีย แต่ต่อมาได้มีการลดความสำคัญของอุตสาหกรรมเหมืองแร่และเหล็กลง ลีแยฌมีชื่อเล่นคือ La Cité Ardente (เมืองที่ร้อนแรง) โดยชื่อนี้มาจากนิยายอิงประวัติศาสตร์ชื่อเดียวกันโดย Henri Carton de Wiart ใน ค.ศ. 1904 ซึ่งในขณะนั้นชื่อนี้ยังไม่เคยถูกใช้.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียมและลีแยฌ · ดูเพิ่มเติม »

วินสตัน เชอร์ชิล

ซอร์วินสตัน ลีโอนาร์ด สเปนเซอร์-เชอร์ชิล (Winston Leonard Spencer-Churchill) เป็นรัฐบุรุษชาวอังกฤษผู้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักรสองสมัย ระหว่างปี 1940 ถึง 1945 และปี 1951 ถึง 1955 ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางว่าเป็นผู้นำที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในยุคสงครามของศตวรรษที่ 20 นอกจากนี้ วินสตันยังเป็นทหารในกองทัพอังกฤษ, นักประวัติศาสตร์, นักเขียน, ตลอดจนศิลปิน เขาได้รับรางวัลโนเบลสาขาอักษรศาสตร์ และยังเป็นบุคคลแรกที่ได้เป็น พลเมืองเกียรติยศแห่งสหรัฐอเมริกา ผู้คนมักนิยมเรียกเขาด้วยชื่อ "วินสตัน" แทนที่จะเรียกด้วยนามสกุล วินสตันเกิดในตระกูลชนชั้นสูงที่สืบเชื้อสายมาจากดยุกแห่งมาร์ลบะระ สาขาหนึ่งของตระกูลสเปนเซอร์ บิดาของเขาคือ ลอร์ดรันดอล์ฟ เชอร์ชิล นักการเมืองผู้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีคลัง ส่วนมารดาของเขาคือ เจนนี จีโรม นักสังคมสงเคราะห์ชาวอเมริกัน ในขณะที่ยังเป็นทหารหนุ่ม เขาได้ปฏิบัติภารกิจในบริติชอินเดีย และซูดาน และในสงครามโบเออร์ครั้งที่สอง เขามีชื่อเสียงขึ้นมาจากการเป็นนักข่าวสงครามและเขียนหนังสือเกี่ยวกับปฏิบัติการของเขา เขาเป็นผู้มีบทบาททางการเมืองแถวหน้ามาตลอดห้าสิบปี ได้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองและตำแหน่งในคณะรัฐมนตรีมากมาย ก่อนสงครามโลกครั้งที่หนึ่งเขาเป็นหัวหน้ากรรมการการค้า, รัฐมนตรีปิตุภูมิ, และรัฐมนตรียุติธรรม ระหว่างสงคราม เขายังคงดำรงตำแหน่งรัฐมนตรียุติธรรม จนกระทั่งความพ่ายแพ้ของอังกฤษในการทัพกัลลิโพลี ทำให้เขาต้องออกจากคณะรัฐบาลและไปประจำการราชการทหารอยู่ที่แนวหน้าภาคตะวันตกในตำแหน่งผู้บัญชาการกองพันลูกเสือที่ 6 จนกระทั่งเขาได้กลับคืนคณะรัฐบาลในตำแหน่งรัฐมนตรียุทธภัณฑ์ รัฐมนตรีว่าการสงคราม และ รัฐมนตรีน่านฟ้า และในปี 1921-1922 เป็นรัฐมนตรีว่าการอาณานิคม และต่อมาในปี 1924-1929 เป็นรัฐมนตรีคลังหลวง โดยเขาได้กำหนดให้สกุลเงินปอนด์กลับไปอิงค่าทองคำเหมือนกับยุคก่อนสงคราม ซึ่งทำให้เกิดภาวะเงินฝืดแพร่ไปทั้งเศรษฐกิจของสหราชอาณาจักร ภายหลังห่างหายจากงานการเมืองไปในทศวรรษที่ 1930 วินสตันก็ได้กลับมาทำงานการเมืองอีกครั้งเมื่อนาซีเยอรมนีเริ่มที่จะสั่งสมกำลังทหารและดูจะเป็นภัยคุกคามต่ออังกฤษ และแล้วการอุบัติขึ้นอย่างฉับพลันของสงครามโลกครั้งที่สอง ก็ทำให้เขาได้รับแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรียุติธรรมอีกครั้ง และภายหลังการลาออกของนายกรัฐมนตรี เนวิล เชมเบอร์ลิน ในวันที่ 10 พฤษภาคม 1940 วินสตันก็กลายเป็นนายกรัฐมนตรี คำประกาศหนักแน่นของเขาที่จะไม่เป็นผู้ยอมแพ้ได้ช่วยกระตุ้นให้ชาวอังกฤษหันมาต่อต้านนาซีเยอรมนี โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงต้นสงครามซึ่งเป็นช่วงเวลาที่ยากเย็นเมื่อสหราชอาณาจักรและอาณานิคมอังกฤษเป็นเพียงฝ่ายเดียวที่ลุกขึ้นอยู่ฝ่ายตรงข้ามกับอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ วินสตันได้กล่าวสุนทรพจน์ของเขาผ่านวิทยุกระจายเสียงปลุกขวัญกำลังใจชาวอังกฤษ เขาเป็นผู้นำของอังกฤษไปจนกระทั่งสามารถมีชัยเหนือนาซีเยอรมนีได้ แต่ทว่าการได้รับชัยชนะมาต้องแลกกับการสูญเสียการเป็นอภิมหาอำนาจของโลกให้กับสหรัฐอเมริกาไป เหล่าประเทศอาณานิคมที่ยึดครองได้แก่ อินเดีย มาเลเซีย พม่า เป็นต้นต่างก็ได้เรียกร้องเอกราชจนจำใจต้องยอมเป็นเหตุทำให้จักรวรรดิอังกฤษล่มสลายและกลายเป็นเครือจักรภพแห่งชาติแทน ภายหลังพรรคอนุรักษนิยมพ่ายการเลือกตั้งในปี 1945 เขาก็ทำหน้าที่เป็นผู้นำฝ่ายค้านต่อรัฐบาลพรรคแรงงาน เขาได้ออกมาเตือนอย่างเปิดเผยถึงอิทธิพลของโซเวียตในยุโรปผ่านมาตรการ "ม่านเหล็ก" และยังส่งเสริมความเป็นหนึ่งเดียวของยุโรป ภายหลังชนะเลือกตั้งในปี 1951 วินสตันก็กลับมาเป็นนายกรัฐมนตรีอีกครั้ง ในช่วงการดำรงตำแหน่งครั้งที่สองนี้ รัฐบาลของเขาเต็มไปด้วยข้อราชการต่างประเทศ ทั้งวิกฤตการณ์มาลายา, กบฎมาอูมาอูในเคนยา, สงครามเกาหลี ตลอดจนสนับสนุนการรัฐประหารในอิหร่าน ในปี 1953 เขาเริ่มเจ็บป่วยจากภาวะขาดเลือดในสมอง และลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีในปี 1955 แต่เขายังคงเป็นสมาชิกสภาสามัญชนไปจนถึงปี 1964 วินสตันถึงแก่อสัญกรรมด้วยวัย 90 ปีในปี 1965 โดยสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 พระราชทานรัฐพิธีศพให้เป็นเกียรติ เขายังคงได้รับการกล่าวถึงว่าเป็นหนึ่งในกลุ่มคนที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ชาติอังกฤษ ชื่อของเขาอยู่ในลำดับที่ 1 ของทำเนียบชาวอังกฤษผู้ยิ่งใหญ่ที่สุดตลอดกาลจากการจัดอันดับในปี 2002.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียมและวินสตัน เชอร์ชิล · ดูเพิ่มเติม »

สภาสามัญชนแห่งสหราชอาณาจักร

มัญชน (House of Commons) เป็นสภาล่างในรัฐสภาแห่งอังกฤษ ประกอบไปด้วยสมาชิกสภาสามัญชน หรืออีกชื่อหนึ่งว่า สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร อันมาจากการเลือกตั้งทุกห้าปี ในปัจจุบันมีสมาชิกสภาจำนวน 650 ที่นั่ง จากการเลือกตั้งทั่วไปในสหราชอาณาจักร พ.ศ. 2558 โดยมีวาระการดำรงตำแหน่งคราวละ 5 ปี การประชุมสภาร่วมฯ จัดขึ้นที่พระราชวังเวสต์มินสเตอร์ ปัจจุบันสภาสามัญชนมีบทบาทมากขึ้นเรื่อย ๆ เมื่อเทียบกับสภาขุนนาง (House of Lords) อันเป็นสภาสูง ซึ่งมีบทบาทน้อยลงเมื่อเทียบกับอดีต โดยบทบาทของสภาสามัญชนนั้นเพิ่มขึ้นอย่างเป็นรูปเป็นร่างครั้งแรกเมื่อปี 1911 จากการตรา "พระราชบัญญัติรั..

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียมและสภาสามัญชนแห่งสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชาธิบดีอัลแบร์ที่ 2 แห่งเบลเยียม

มเด็จพระราชาธิบดีอัลแบร์ที่ 2 แห่งชาวเบลเยียม หรือ พระเจ้าอัลเบิร์ตที่ 2 (Albert Félix Humbert Théodore Christian Eugène Marie, ดัตช์: Albert Felix Humbert Theodoor Christiaan Eugène Marie) เป็นพระมหากษัตริย์พระองค์ที่หก และเป็นพระราชบิดาของพระมหากษัตริย์องค์ปัจจุบันของประเทศเบลเยียม ทรงครองราชย์ตั้งแต่ 9 สิงหาคม พ.ศ. 2536 จนกระทั่งสละราชสมบัติแก่พระโอรสของพระองค์ในวันที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 ในวันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 สมเด็จพระราชาธิบดีอัลแบร์ที่ 2 มีพระราชดำรัสผ่านสถานีโทรทัศน์ว่าทรงมีพระราชพระสงค์สละราชสมบัติให้เจ้าชายฟิลิป มกุฎราชกุมาร ในวันที่ 21 เดือนและปีเดียวกัน เนื่องจากทรงมีพระชนมพรรษามากและพระวรกายที่ไม่แข็งแรงเช่นในอดีต จึงทำให้พระองค์เป็นประมุขแห่งราชวงศ์พระองค์ที่ 4 ที่ทรงสละราชสมบัติในปีค.ศ. 2013 ตามจากสมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 16, สมเด็จพระราชินีนาถเบียทริกซ์แห่งเนเธอร์แลนด์ และฮะมัด บิน เคาะลีฟะฮ์ อัษษานีแห่งกาตาร์ และยังเป็นพระมหากษัตริย์พระองค์ที่ 2 ของเบลเยียมที่สละราชสมบัติต่อจากพระราชบิดา คือ สมเด็จพระราชาธิบดีเลโอโปลด์ที่ 3 ซึ่งทรงสละราชสมบัติในปีค.ศ. 1951.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียมและสมเด็จพระราชาธิบดีอัลแบร์ที่ 2 แห่งเบลเยียม · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชาธิบดีโบดวงแห่งเบลเยียม

มเด็จพระราชาธิบดีโบดวงที่ 1 แห่งเบลเยียม (Boudewijn Albert Karel Leopold Axel Marie Gustaaf van België ˈbʌu̯dəˌʋɛi̯n ˈɑlbərt ˈkaːrəl ˈleˑjoˑˌpɔlt ˈɑksəl maˑˈri ɣʏsˈtaˑf vɑn ˈbɛlɣijə, Baudouin Albert Charles Léopold Axel Marie Gustave de Belgique bodwɛ̃ albɛʁ ʃaʁl leopɔld aksɛl maʁi ɡystav də bɛlʒik; 7 กันยายน 1930 – 31 กรกฎาคม 1993) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรเบลเยียม หลังจากการสละราชสมบัติของพระราชบิดาในปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียมและสมเด็จพระราชาธิบดีโบดวงแห่งเบลเยียม · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีอัสตริดแห่งเบลเยียม

้าหญิงอัสตริดแห่งสวีเดน (Princess Astrid of Sweden พระนามเต็ม อัสตริด โซเฟีย โลวิซา ธือรา; 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2448 - 29 สิงหาคม พ.ศ. 2478) เป็นพระมเหสีของสมเด็จพระราชาธิบดีเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียม และพระราชนัดดาในสมเด็จพระราชาธิบดีออสการ์ที่ 2 แห่งสวีเดน โดยทรงเกี่ยวข้องเป็นพระอัยยิกาในฝ่ายพระชนกในสมเด็จพระราชาธิบดีคาร์ลที่ 16 กุสตาฟแห่งสวีเดน เนื่องจากทรงมีศักดิ์เป็นพระญาติชั้นที่สองในเจ้าชายกุสตาฟ อดอล์ฟแห่งสวีเดน ดยุคแห่งวาสเตอร์บ็อตเต็น และเป็นพระราชชนนีของกษัตริย์แห่งเบลเยียมสองพระองค์คือ สมเด็จพระราชาธิบดีโบดวง และ สมเด็จพระราชาธิบดีอัลแบร์ที่ 2 อีกด้วย เจ้าหญิงประสูติในวันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2448 ณ กรุงสต็อกโฮล์ม โดยเป็นพระธิดาพระองค์เล็กในเจ้าชายคาร์ล ดยุกแห่งเวสเตร์เกิตลันด์ กับ เจ้าหญิงอิงเงอร์บอร์กแห่งเดนมาร์ก ดัชเชสแห่งเวสเตร์เกิตลันด์ พระอัยกาฝ่ายพระชนกคือ สมเด็จพระราชาธิบดีออสการ์ที่ 2 แห่งสวีเดน ส่วนพระอัยกาฝ่ายพระชนนีคือ สมเด็จพระราชาธิบดีเฟรเดริคที่ 8 แห่งเดนมาร์ก เจ้าหญิงมาร์ธาแห่งสวีเดน พระภคินีทรงอภิเษกกับสมเด็จพระราชาธิบดีโอลาฟที่ 5 แห่งนอร์เวย์ ส่วนเจ้าหญิงมาร์กาเรธา พระภคินีองค์ใหญ่ทรงอภิเษกสมรสกับเจ้าชายแอ็กเซลแห่งเดนมาร์ก พระญาติชั้นที่หนึ่งในฝ่ายพระชนนี ขณะที่พระอนุชาพระองค์เล็กคือ เจ้าชายคาร์ลแห่งสวีเดน ดยุคแห่งออสเตอเกิตลานด์ ทรงอภิเษกสมรสต่างฐานันดรศักดิ์กับหญิงสาวสามัญชน.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียมและสมเด็จพระราชินีอัสตริดแห่งเบลเยียม · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถวิลเฮลมินาแห่งเนเธอร์แลนด์

้าหญิงวิลเฮลมินาและพระมารดาราชินีเอ็มม่าแห่งวัลเด็คและไพร์มอนต์ สมเด็จพระราชินีนาถวิลเฮลมินาแห่งเนเธอร์แลนด์ (HM Queen Wilhelmina of the Netherlands, วิลเฮลมินา เฮเลนา พอลีน มารี ฟาน ออรันเย-นัสเซา; 31 สิงหาคม พ.ศ. 2423 - 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2505) พระองค์ทรงเป็นธิดาของสมเด็จพระราชาธิบดีวิลเล็มที่ 3 แห่งเนเธอร์แลนด์ และ สมเด็จพระราชินีนาถเอ็มมาแห่งวัลเด็คและไพร์มอนต์ พระนางทรงเป็นสมเด็จพระราชินีนาถแห่งราชอาณาจักรเนเธอร์แลนด์ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2433 ถึงปี พ.ศ. 2491 และสมเด็จพระราชชนนี (พระอิสริยยศ เจ้าหญิง) ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียมและสมเด็จพระราชินีนาถวิลเฮลมินาแห่งเนเธอร์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าอัลแบร์ที่ 1 แห่งเบลเยียม

มเด็จพระเจ้าอัลแบร์ที่ 1 (8 เมษายน ค.ศ. 1875 - 17 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1934) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งชาวเบลเยียมตั้งแต่ปีค.ศ. 1909 ถึงค.ศ. 1934 ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่สำคัญทางประวัติศาสตร์ของประเทศเบลเยียมเนื่องจากอยู่ในระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 1 (ค.ศ. 1914 - 1918) เมื่อประเทศเบลเยียมเกือบทั้งหมดถูกบุกรุก ยึดครอง และปกครองโดยจักรวรรดิเยอรมัน นอกจากนั้นยังมีอีกเหตุการณ์สำคัญอื่นๆ คือ การร่วมลงนามในสนธิสัญญาแวร์ซาย, การปกครองเบลเยียมคองโกเป็นส่วนหนึ่งของราชอาณาจักรเบลเยียม การปฏิรูปประเทศภายหลังสงคราม และภาวะเศรษฐกิจตกต่ำครั้งใหญ่ (ค.ศ. 1929 - 1934) สมเด็จพระเจ้าอัลแบร์ที่ 1 เสด็จสวรรคตเนื่องจากทรงประสบอุบัติเหตุจากการปีนเขาในภาคตะวันออกของเบลเยียมในปีค.ศ. 1934 มีพระชนมายุ 58 พรรษา ราชสมบัติจึงตกเป็นของพระโอรสพระองค์ใหญ่ คือ เจ้าชายเลโอโปล.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียมและสมเด็จพระเจ้าอัลแบร์ที่ 1 แห่งเบลเยียม · ดูเพิ่มเติม »

สหรัฐ

หรัฐอเมริกา (United States of America) โดยทั่วไปเรียก สหรัฐ (United States) หรือ อเมริกา (America) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐ ประกอบด้วยรัฐ 50 รัฐ และหนึ่งเขตปกครองกลาง ห้าดินแดนปกครองตนเองสำคัญ และเกาะเล็กต่าง ๆ โดย 48 รัฐและเขตปกครองกลางตั้งอยู่ ณ ทวีปอเมริกาเหนือระหว่างประเทศแคนาดาและเม็กซิโก รัฐอะแลสกาอยู่มุมตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปอเมริกาเหนือ มีเขตแดนติดต่อกับประเทศแคนาดาทางทิศตะวันออกและข้ามช่องแคบเบริงจากประเทศรัสเซียทางทิศตะวันตก และรัฐฮาวายเป็นกลุ่มเกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกกลาง ดินแดนของสหรัฐกระจายอยู่ตามมหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลแคริบเบียน ครอบคลุมเขตเวลาเก้าเขต ภูมิศาสตร์ ภูมิอากาศและสัตว์ป่าของประเทศหลากหลายอย่างยิ่ง สหรัฐมีพื้นที่ขนาด 9.8 ล้านตารางกิโลเมตร มีประชากรราว 326 ล้านคน ทำให้มีพื้นที่ขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 4 ของโลก และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 3 ของโลก เป็นประเทศซึ่งมีความหลากหลายทางเชื้อชาติและวัฒนธรรม และเป็นที่พำนักของประชากรเข้าเมืองใหญ่สุดในโลกAdams, J.Q., and Pearlie Strother-Adams (2001).

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียมและสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

สหราชอาณาจักร

หราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ หรือโดยทั่วไปรู้จักกันว่า สหราชอาณาจักร และ บริเตน (Britain) เป็นรัฐเอกราชตั้งอยู่นอกชายฝั่งตะวันตกเฉียงเหนือของยุโรปภาคพื้นทวีป ประเทศนี้ประกอบด้วยเกาะบริเตนใหญ่ ส่วนตะวันออกเฉียงเหนือของเกาะไอร์แลนด์ และเกาะที่เล็กกว่าจำนวนมาก ไอร์แลนด์เหนือเป็นเพียงส่วนเดียวของสหราชอาณาจักรที่มีพรมแดนทางบกติดต่อกับรัฐอื่น คือ ประเทศไอร์แลนด์ นอกเหนือจากนี้แล้ว สหราชอาณาจักรล้อมรอบด้วยมหาสมุทรแอตแลนติกทางทิศตะวันตกและเหนือ ทะเลเหนือทางทิศตะวันออก ช่องแคบอังกฤษทางทิศใต้ และทะเลไอร์แลนด์ทางทิศตะวันตก รูปแบบการปกครองเป็นแบบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยมีระบบรัฐสภา เมืองหลวง คือ กรุงลอนดอน ประกอบด้วยสี่ประเทศ คือ ประเทศอังกฤษ สกอตแลนด์ เวลส์ และไอร์แลนด์เหนือ สามประเทศหลังนี้ได้รับการถ่ายโอนการบริหาร โดยมีอำนาจแตกต่างกัน ตั้งอยู่ในเมืองหลวงของประเทศนั้น ๆ คือ เอดินบะระ คาร์ดิฟฟ์ และเบลฟัสต์ตามลำดับ ส่วนเกิร์นซีย์ เจอร์ซีย์ และเกาะแมนเป็นบริติชคราวน์ดีเพนเดนซี และมิใช่ส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักร สหราชอาณาจักรมีดินแดนโพ้นทะเล 14 แห่ง ซึ่งเป็นสิ่งที่เหลืออยู่ของจักรวรรดิอังกฤษ ซึ่งขณะที่รุ่งเรืองที่สุดในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 นั้น ครอบคลุมพื้นดินของโลกเกือบหนึ่งในสี่ และเป็นจักรวรรดิใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ อิทธิพลของอังกฤษยังสามารถพบเห็นได้จากความแพร่หลายของภาษา วัฒนธรรมและระบบกฎหมายในอดีตอาณานิคมหลายแห่ง สหราชอาณาจักรเป็นประเทศพัฒนาแล้ว และมีเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 7 ของโลก ตามค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ ณ ราคาตลาด และเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 8 ของโลก ตามความเท่าเทียมของอำนาจซื้อ สหราชอาณาจักรเป็นประเทศอุตสาหกรรมประเทศแรกในโลก และเป็นมหาอำนาจอันดับหนึ่งของโลกระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 สหราชอาณาจักรยังถูกกล่าวขานว่าเป็นมหาอำนาจและยังมีอิทธิพลทางเศรษฐกิจ วัฒนธรรม ทหาร วิทยาศาสตร์และการเมืองระหว่างประเทศค่อนข้างมากอยู่ สหราชอาณาจักรได้รับรองว่าเป็นรัฐอาวุธนิวเคลียร์และมีรายจ่ายทางทหารมากเป็นอันดับที่ 4 ของโลก สหราชอาณาจักรเป็นสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาตินับแต่สมัยประชุมแรกใน..

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียมและสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

สงครามกลางเมือง

งครามกลางเมือง (civil war) เป็นสงครามภายในกลุ่มคนที่มีวัฒนธรรม, สัญชาติ หรือสังคมแบบเดียวกัน โดยมีจุดประสงค์เพื่อแย่งชิงอำนาจหรือดินแดน สงครามกลางเมืองอาจนับเป็นการปฏิวัติ (Revolution) ได้ในกรณีที่เกิดการเปลี่ยนแปลงทางสังคมครั้งใหญ่ภายในสังคมนั้นหลังจากสิ้นสุดสงคราม นักประวัติศาสตร์บางกลุ่มยังได้นับรวมเอาการจลาจล (Insurgency) เป็นสงครามกลางเมืองประเภทหนึ่งด้วยถ้ามีการสู้รบระหว่างกองทัพอย่างเต็มรูปแบบ ปัจจุบันความแตกต่างระหว่าง "สงครามกลางเมือง", "การปฏิวัติ" และ "การจลาจล" นั้นไม่ชัดเจนนัก ขึ้นอยู่กับบริบทในการใช้งาน สงครามกลางเมืองที่สำคัญ.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียมและสงครามกลางเมือง · ดูเพิ่มเติม »

สงครามโลกครั้งที่สอง

งครามโลกครั้งที่สอง (World War II หรือ Second World Warคำว่าสงครามโลกครั้งที่สองในภาษาอังกฤษนั้น ในเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการของสหราชอาณาจักรและชาติตะวันตกใช้คำว่า "Second World War" ส่วนในสหรัฐใช้คำว่า "World War II" (ย่อเป็น "WWII" หรือ "WW2") ซึ่งเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการในประเทศส่วนใหญ่มักจะใช้ภาษาอังกฤษว่า "Second World War" (เช่น Zweiter Weltkrieg ในภาษาเยอรมัน; Segunda Guerra mundial ในภาษาสเปน; Seconde Guerre mondiale ในภาษาฝรั่งเศส) แต่ทั้งสองคำนี้โดยทั่วไปแล้วสามารถใช้แทนกันได้; แม้ในประวัติศาสตร์การทหารอย่างเป็นทางการ คำว่า "Second World War" ถูกสร้างขึ้นโดย แฟรงก์ บี. เคลล็อก รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐอเมริกา; ส่วนคำว่า "World War II" พบใช้เป็นครั้งแรกในนิตยสาร ไทมส์ เมื่อวันที่ 12 มิถุนายน ค.ศ. 1939 ซึ่งเป็นผู้ประดิษฐ์คำว่า "World War I" ขึ้นในอีกสามเดือนต่อมา; มักย่อเป็น WWII หรือ WW2) เป็นสงครามทั่วโลกกินเวลาตั้งแต่ปี 1939 ถึง 1945 ประเทศส่วนใหญ่ในโลกมีส่วนเกี่ยวข้อง รวมทั้งรัฐมหาอำนาจทั้งหมด แบ่งเป็นพันธมิตรทางทหารคู่สงครามสองฝ่าย คือ ฝ่ายสัมพันธมิตรและฝ่ายอักษะ เป็นสงครามที่กว้างขวางที่สุดในประวัติศาสตร์ มีทหารกว่า 100 ล้านนายจากกว่า 30 ประเทศเข้าร่วมโดยตรง สงครามนี้มีลักษณะเป็น "สงครามเบ็ดเสร็จ" คือ ประเทศผู้ร่วมสงครามหลักทุ่มขีดความสามารถทางเศรษฐกิจ อุตสาหกรรมและวิทยาศาสตร์ทั้งหมดเพื่อความพยายามของสงคราม โดยลบเส้นแบ่งระหว่างทรัพยากรของพลเรือนและทหาร ประเมินกันว่าสงครามมีมูลค่าราว 1 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ ประเมินกันว่ามีผู้เสียชีวิตระหว่าง 50 ถึง 85 ล้านคน ด้วยประการทั้งปวง สงครามโลกครั้งที่สองจึงนับว่าเป็นสงครามขนาดใหญ่ที่สุด ใช้เงินทุนมากที่สุด และมีผู้เสียชีวิตสูงสุดในประวัติศาสตร์มนุษยชาติ จักรวรรดิญี่ปุ่นซึ่งมีเป้าหมายครอบงำทวีปเอเชียและแปซิฟิกและทำสงครามกับจีนมาตั้งแต่ปี 1937 แล้ว แต่โดยทั่วไปถือว่าสงครามโลกครั้งที่สองเริ่มตั้งแต่การบุกครองโปแลนด์ของเยอรมนีในวันที่ 1 กันยายน 1939 นำไปสู่การประกาศสงครามต่อเยอรมนีของประเทศฝรั่งเศสและสหราชอาณาจักร ตั้งแต่ปลายปี 1939 ถึงต้นปี 1941 ในการทัพและสนธิสัญญาต่าง ๆ ประเทศเยอรมนีพิชิตหรือควบคุมยุโรปภาคพื้นทวีปได้ส่วนใหญ่ และตั้งพันธมิตรอักษะกับอิตาลีและญี่ปุ่น ภายใต้สนธิสัญญาโมโลตอฟ–ริบเบนทรอพเมื่อเดือนสิงหาคม 1939 เยอรมนีและสหภาพโซเวียตแบ่งแลผนวกดินแดนประเทศเพื่อนบ้านยุโรปของตน ได้แก่ โปแลนด์ ฟินแลนด์ โรมาเนียและรัฐบอลติก สงครามดำเนินต่อส่วนใหญ่ระหว่างชาติฝ่ายอักษะยุโรปและแนวร่วมสหราชอาณาจักรและเครือจักรภพบริติช โดยมีการทัพอย่างการทัพแอฟริกาเหนือและแอฟริกาตะวันออก ยุทธการที่บริเตนซึ่งเป็นการสู้รบทางอากาศ การทัพทิ้งระเบิดเดอะบลิตซ์ การทัพบอลข่าน ตลอดจนยุทธการที่แอตแลนติกที่ยืดเยื้อ ในเดือนมิถุนายน 1941 ชาติอักษะยุโรปบุกครองสหภาพโซเวียต เปิดฉากเขตสงครามภาคพื้นดินที่ใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ ซึ่งทำให้กำลังทหารสำคัญของฝ่ายอักษะตกอยู่ในสงครามบั่นทอนกำลัง ในเดือนธันวาคม 1941 ญี่ปุ่นโจมตีสหรัฐและอาณานิคมยุโรปในมหาสมุทรแปซิฟิก และพิชิตมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกส่วนมากได้อย่างรวดเร็ว การรุกของฝ่ายอักษะยุติลงในปี 1942 หลังญี่ปุ่นปราชัยในยุทธนาวีที่มิดเวย์ใกล้กับฮาวายที่สำคัญ และเยอรมนีปราชัยในแอฟริกาเหนือและจากนั้นที่สตาลินกราดในสหภาพโซเวียต ในปี 1943 จากความปราชัยของเยอรมนีติด ๆ กันที่เคิสก์ในยุโรปตะวันออก การบุกครองอิตาลีของฝ่ายสัมพันธมิตรซึ่งนำให้อิตาลียอมจำนน จนถึงชัยของฝ่ายสัมพันธมิตรในมหาสมุทรแปซิฟิก ฝ่ายอักษะเสียการริเริ่มและต้องล่าถอยทางยุทธศาสตร์ในทุกแนวรบ ในปี 1944 ฝ่ายสัมพันธมิตรบุกครองฝรั่งเศสในการยึดครองของเยอรมนี ขณะเดียวกันกับที่สหภาพโซเวียตยึดดินแดนที่เสียไปทั้งหมดคืนและบุกครองเยอรมนีและพันธมิตร ระหว่างปี 1944 และ 1945 ญี่ปุ่นปราชัยสำคัญในทวีปเอเชียในภาคกลางและภาคใต้ของจีนและพม่า ขณะที่ฝ่ายสัมพันธมิตรก่อความเสียหายต่อกองทัพเรือญี่ปุ่นและยึดหมู่เกาะแปซิฟิกตะวันตกที่สำคัญ สงครามในยุโรปยุติลงหลังกองทัพแดงยึดกรุงเบอร์ลินได้ และการยอมจำนนอย่างไม่มีเงื่อนไขของเยอรมนีเมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 1945 แม้จะถูกโดดเดี่ยวและตกอยู่ในสภาพเสียเปรียบอย่างยิ่ง ญี่ปุ่นยังปฏิเสธที่จะยอมจำนน กระทั่งมีการทิ้งระเบิดนิวเคลียร์สองลูกถล่มญี่ปุ่น และการบุกครองแมนจูเรีย จึงได้นำไปสู่การยอมจำนนอย่างเป็นทางการของญี่ปุ่นเมื่อวันที่ 2 กันยายน 1945 สงครามยุติลงด้วยชัยชนะของฝ่ายสัมพันธมิตร ผลของสงครามได้เปลี่ยนแปลงการวางแนวทางการเมืองและโครงสร้างสังคมของโลก สหประชาชาติถูกสถาปนาขึ้น เพื่อส่งเสริมความร่วมมือระหว่างประเทศและเพื่อป้องกันความขัดแย้งในอนาคต สหรัฐอเมริกากับสหภาพโซเวียตก้าวเป็นอภิมหาอำนาจของโลกอันเป็นคู่ปรปักษ์กัน นำไปสู่ความขัดแย้งบนเวทีแห่งสงครามเย็น ซึ่งได้ดำเนินต่อมาอีก 46 ปีหลังสงคราม ขณะเดียวกัน การยอมรับหลักการการกำหนดการปกครองด้วยตนเอง เร่งให้เกิดการเคลื่อนไหวเพื่อเรียกร้องเอกราชในทวีปเอเชียและทวีปแอฟริกา พร้อม ๆ กับที่หลายประเทศได้มุ่งหน้าฟื้นฟูเศรษฐกิจซึ่งอุตสาหกรรมได้รับความเสียหายระหว่างสงคราม และบูรณาการทางการเมืองได้เกิดขึ้นทั่วโลกในความพยายามที่จะรักษาเสถียรภาพความสัมพันธ์หลังสงคราม.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียมและสงครามโลกครั้งที่สอง · ดูเพิ่มเติม »

หลุยส์-มารีแห่งออร์เลอ็อง สมเด็จพระราชินีแห่งเบลเยียม

หลุยส์แห่งออร์เลอ็อง (พระนามเต็ม: หลุยส์ มารี เตแรซ ชาร์ล็อต อิซาแบล, ประสูติ: 3 เมษายน ค.ศ. 1812, สวรรคต: 11 ตุลาคม ค.ศ. 1850) ทรงเป็นเจ้าหญิงแห่งออร์เลอ็อง และสมเด็จพระราชินีแห่งชาวเบลเยียม พระอัครมเหสีพระองค์ที่สองในสมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 1 แห่งเบลเยียม ปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์เบลเยียม พระองค์ทรงเป็นพระบรมอรรคราชบรรพบุรุษของพระมหากษัตริย์ของเบลเยียมพระองค์ปัจจุบัน สมเด็จพระราชาธิบดีฟิลิป, ผู้อ้างสิทธิในบัลลังก์อิตาลี (เจ้าชายแห่งเนเปิลส์), แกรนด์ดยุกอ็องรีแห่งลักเซมเบิร์ก และเจ้าชายชาร์ล นโปเลียน ประมุของค์ปัจจุบันของราชวงศ์โบนาปาร์ต.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียมและหลุยส์-มารีแห่งออร์เลอ็อง สมเด็จพระราชินีแห่งเบลเยียม · ดูเพิ่มเติม »

อดอล์ฟ ฮิตเลอร์

อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ (Adolf Hitler) เป็นนักการเมืองเยอรมันเชื้อชาติออสเตรีย หัวหน้าพรรคกรรมกรชาติสังคมนิยมเยอรมัน หรือที่รู้จักกันทั่วไปในชื่อ พรรคนาซี ฮิตเลอร์ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีเยอรมนี ระหว่าง..

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียมและอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ผู้สำเร็จราชการ

ในปัจจุบัน ผู้สำเร็จราชการ หรือ ข้าหลวงใหญ่ (governor-general; governor general) บางแห่งเรียกว่าข้าหลวงต่างพระองค์ (ในอดีตภาษาไทยใช้ว่า เกาวนาเยเนราล) หมายถึง ผู้แทนพระองค์พระประมุขแห่งรัฐเอกราชรัฐหนึ่งที่ได้รับแต่งตั้งให้ปกครองรัฐเอกราชอีกรัฐหนึ่ง ในอดีตตำแหน่งนี้ใช้กับผู้สำเร็จราชการแทนพระมหากษัตริย์หรือประธานาธิบดีก็ได้ เช่น ผู้สำเร็จราชการอินโดจีนของฝรั่ง.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียมและผู้สำเร็จราชการ · ดูเพิ่มเติม »

ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์

ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ หรือ ผู้สำเร็จราชการแผ่นดิน (regent) เป็นผู้ได้รับแต่งตั้งให้ปฏิบัติพระราชกรณียกิจในพระปรมาภิไธยพระมหากษัตริย์ของประเทศที่มีพระมหากษัตริย์เป็นพระประมุข เนื่องจากพระมหากษัตริย์ยังไม่ทรงบรรลุนิติภาวะ หรือทรงพระประชวร หรือไม่ทรงอยู่ในประเทศ หรือทรงบริหารพระราชกิจไม่ได้ไม่ว่าด้วยเหตุใดก็ตาม ทั้งนี้ ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ยังมีขึ้นได้ในกรณีที่ระบอบพระมหากษัตริย์ยังมิได้มีพระมหากษัตริย์ที่เหมาะสม เช่น เมื่อประเทศฟินแลนด์ประกาศเอกราชจากจักรวรรดิรัสเซียแล้วมีการสถาปนาราชอาณาจักรฟินแลนด์ขึ้น แต่ยังไม่มีเชื้อพระวงศ์ต่างประเทศพระองค์ใดเหมาะสม จึงให้ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ทำหน้าที่ไปพลางก่อน จนรัฐสภาฟินแลนด์เลือกเจ้าชายเฟรเดอริก ชาร์ลแห่งเฮสส์ แห่งแคว้นเฮสส์จากจักรวรรดิเยอรมันขึ้นเป็นสมเด็จพระราชาธิบดีแห่งฟินแลนด์ ตำแหน่งผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์จึงสิ้นสุดลง.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียมและผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ · ดูเพิ่มเติม »

จอมพล

อมพล (Field Marshal) เป็นยศทหาร ซึ่งในปัจจุบันถือได้ว่าเป็นยศสูงสุดในกองทัพบกที่เกือบทุกประเทศทั่วโลกใช้ จอมพลเป็นยศที่สูงกว่าพลเอก.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียมและจอมพล · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติเบลเยียม

งชาติเบลเยียมเป็นธงสามสีสามแถบรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า พื้นธงแบ่งเป็นแถบสีดำ สีเหลือง และสีแดง เรียงตามแนวตั้งจากซ้ายไปขวา แต่ละแถบมีความกว้างเท่ากัน ลักษณะของธงดังกล่าวนี้ได้รับอิทธิพลจากธงชาติฝรั่งเศส ส่วนสีธงได้มาจากสีประจำอาณาจักรดยุคแห่งบราบองต์ดังปรากฏว่า เมื่อเกิดเหตุการณ์จลาจลอันนำไปสู่การปฏิวัติเบลเยียมเพื่อเรียกร้องเอกราชจากเนเธอร์แลนด์ในปี พ.ศ. 2373 กองกำลังรักษาดินแดนของเบลเยียมได้ใช้เครื่องแบบเป็นสีดำ สีเหลือง และ สีแดง ซึ่งเป็นสีของราชรัฐบาร์บองต์ในการรบ จึงกลายเป็นที่มาของสีที่ใช้ในธงชาติเบลเยียมในทุกวันนี้ สำหรับสัดส่วนของธงชาติที่ใช้มีสองอย่าง คือ กว้าง 2 ส่วน ยาว 3 ส่วนอย่างหนึ่ง สำหรับใช้เป็นธงพลเรือน และ กว้าง 13 ส่วน ยาว 15 ส่วนอย่างหนึ่ง สำหรับใช้ในราชการ และ กองทัพ ซึ่งสัดส่วนธงอย่างหลังนี้ไม่มีที่มาในการใช้ที่ชัดเจน ธงสามสี ดำ-เหลือง-แดงนี้ ได้ประกาศใช้เป็นธงชาติเบลเยียมอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 23 มกราคม พ.ศ. 2374 ภายหลังจากที่เบลเยียมประกาศเอกราชจากเนเธอร์แลนด์สำเร็จไม่ถึง 1 ปี โดยธงแบบที่ปรากฏเมื่อแรกประกาศใช้นั้นเป็นลักษณะธงสามแถบแนวนอน เพื่อเป็นเครื่องหมายระลึกถึงธงอันเป็นสัญลักษณ์ของการปฏิวัติบาร์บองซอนน์ในปี พ.ศ. 2332 ภายหลังจึงได้แก้ไขให้เป็นธงสามแถบแบบแนวตั้ง เพื่อหลีกเลี่ยงความคล้ายคลึงกับธงชาติเนเธอร์แลนด์ซึ่งเป็นชาติที่เคยปกครองเบลเยียมมาก่อน.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียมและธงชาติเบลเยียม · ดูเพิ่มเติม »

ดยุกแห่งบราบันต์

กแห่งบราบันต์ หรือ ดยุกแห่งบราบ็อง (Duke of Brabant) เป็นบรรดาศักดิ์ที่จักรพรรดิฟรีดริชที่ 1 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ทรงสถาปนาให้แก่อ็องที่ 1 โอรสของก็อดฟรีที่ 3 เคานต์แห่งลูแวง (ซึ่งเป็นดยุกแห่งโลธารินเจีย อีกบรรดาศักดิ์หนึ่งด้วย) ซึ่งดัชชีบราบันต์นั้นถูกสถาปนาขึ้นราวปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียมและดยุกแห่งบราบันต์ · ดูเพิ่มเติม »

คาร์ล อันโทน เจ้าชายแห่งโฮเอินโซลเลิร์น

ร์ล อันโทน องค์อธิปัตย์แห่งโฮเอินโซลเลิร์น-ซิกมาริงเงิน (Karl Anton Joachim Zephyrinus Friedrich Meinrad Fürst von Hohenzollern-Sigmaringen) เป็นประมุขแห่งราชวงศ์โฮเอินโซลเลิร์น-ซิกมาริงเงิน ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียมและคาร์ล อันโทน เจ้าชายแห่งโฮเอินโซลเลิร์น · ดูเพิ่มเติม »

ซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา

ซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา (Sachsen-Coburg und Gotha; Saxe-Coburg and Gotha) เป็นชื่อของดัชชีเยอรมันสองรัฐคือ ซัคเซิน-โคบูร์ก และ ซัคเซิน-โกทา ที่ตั้งอยู่ในประเทศเยอรมนี บริเวณรัฐบาวาเรียและรัฐเทือริงเงินปัจจุบัน ซึ่งเข้ามารวมเป็นรัฐเดียวกันในระหว่างปี พ.ศ. 2369 ถึงปี พ.ศ. 2461 ชื่อ ซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา อาจหมายถึงตระกูลหรือราชวงศ์ซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา ซึ่งมีบทบาทสำคัญมากมายและหลากหลายทางด้านประวัติศาสตร์การเมืองและราชสำนักยุโรปสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 19.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียมและซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฝรั่งเศส

ฝรั่งเศส (France ฟร็องส์) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐฝรั่งเศส (République française) เป็นประเทศที่มีศูนย์กลางตั้งอยู่ในภูมิภาคยุโรปตะวันตก ทั้งยังประกอบไปด้วยเกาะและดินแดนอื่น ๆ ในต่างทวีป ประเทศฝรั่งเศสแผ่นดินใหญ่ทอดตัวตั้งแต่ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนจนถึงช่องแคบอังกฤษและทะเลเหนือ และจากแม่น้ำไรน์จนถึงมหาสมุทรแอตแลนติก ชาวฝรั่งเศสมักเรียกแผ่นดินใหญ่ว่า หกเหลี่ยม (L'Hexagone) เนื่องจากรูปทรงทางกายภาพของประเทศ ประเทศฝรั่งเศสปกครองด้วยระบอบกึ่งประธานาธิบดี โดยยึดอุดมการณ์จากปฏิญญาว่าด้วยสิทธิของมนุษย์และของพลเมือง ประเทศฝรั่งเศสมีพรมแดนติดกับประเทศเบลเยียม ลักเซมเบิร์ก เยอรมนี สวิตเซอร์แลนด์ อิตาลี โมนาโก อันดอร์ราและสเปน และเนื่องจากประเทศฝรั่งเศสมีดินแดนโพ้นทะเลไว้ในครอบครอง ทำให้มีอาณาเขตติดกับประเทศบราซิล ซูรินาม (ติดกับเฟรนช์เกียนา) และซินต์มาร์เตินของเนเธอร์แลนด์ (ติดกับแซ็ง-มาร์แต็ง) อีกด้วย นอกจากนั้นประเทศฝรั่งเศสยังเชื่อมกับสหราชอาณาจักรทางอุโมงค์ช่องแคบอังกฤษอีกด้วย ประเทศฝรั่งเศสเคยเป็นหนึ่งในประเทศมหาอำนาจของโลกตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 เป็นต้นมา ในคริสต์ศตวรรษที่ 18 และ 19 จักรวรรดิฝรั่งเศสเป็นหนึ่งในประเทศจักรวรรดินิยมที่มีอาณานิคมในครอบครองมากที่สุดในโลก แผ่อาณาเขตตั้งแต่แอฟริกาตะวันตกจนถึงเอเชียอาคเนย์ ซึ่งเห็นได้ชัดจากอิทธิพลทางวัฒนธรรม ภาษาและการเมืองการปกครองของดินแดนนั้น ๆ ประเทศฝรั่งเศสถูกจัดให้เป็นประเทศที่พัฒนาแล้วและมีเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 6 ของโลก ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นประเทศที่มีนักท่องเที่ยวมากที่สุดในโลกอีกด้วย โดยมีนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติกว่า 82 ล้านคนต่อปี ประเทศฝรั่งเศสเป็นประเทศผู้ก่อตั้งสหภาพยุโรปและมีพื้นที่ใหญ่ที่สุดในกลุ่มประเทศอีกด้วย ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นประเทศผู้ก่อตั้งสหประชาชาติ เป็นสมาชิกประชาคมผู้ใช้ภาษาฝรั่งเศสโลก จีแปด นาโต้และสหภาพละติน ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติและเป็นมหาอำนาจนิวเคลียร์ที่มีหัวรบนิวเคลียร์กว่า 360 หัวรบและเตาปฏิกรณ์นิวเคลียร์ 59 แห่ง.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียมและประเทศฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสวิตเซอร์แลนด์

วิตเซอร์แลนด์ (Switzerland; die Schweiz; la Suisse; Svizzera; Svizra) มีชื่อทางการว่า สมาพันธรัฐสวิส (Swiss Confederation; Confoederatio Helvetica) เป็นประเทศขนาดเล็กที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล และตั้งอยู่ในทวีปยุโรปตะวันตก โดยมีพรมแดนติดกับ ประเทศเยอรมนี ประเทศฝรั่งเศส ประเทศอิตาลี ประเทศออสเตรีย และประเทศลิกเตนสไตน์ นอกจากจะมีความเป็นกลางทางการเมืองแล้ว สวิตเซอร์แลนด์นับว่ามีการร่วมมือกันระหว่างประเทศเป็นอย่างมาก เนื่องจากเป็นที่ตั้งขององค์กรนานาชาติหลายแห่ง นอกจากนี้ลักษณะของประเทศยังคล้ายกับประเทศเบลเยียม.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียมและประเทศสวิตเซอร์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศออสเตรีย

ออสเตรีย (Austria; Österreich เออสฺตะไรฌ) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐออสเตรีย (Republic of Austria; Republik Österreich) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลในยุโรปกลาง มีอาณาเขตทางเหนือจรดประเทศเยอรมนีและเช็กเกีย ทางตะวันออกจรดสโลวาเกียและฮังการี ทางใต้จรดสโลวีเนียและอิตาลี และทางตะวันตกจรดสวิตเซอร์แลนด์และลิกเตนสไตน์ มีการปกครองแบบประชาธิปไตยแบบมีผู้แทนภายใต้หลักการของรั.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียมและประเทศออสเตรีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเบลเยียม

ลเยียม (Belgium) หรือชื่อทางการว่า ราชอาณาจักรเบลเยียม (Kingdom of Belgium) เป็นประเทศในยุโรปตะวันตกเฉียงเหนือ มีอาณาเขตติดต่อกับประเทศเนเธอร์แลนด์ เยอรมนี ลักเซมเบิร์ก ฝรั่งเศส และทะเลเหนือ เบลเยียมเป็นสมาชิกรุ่นก่อตั้งของสหภาพยุโรป และเป็นที่ตั้งของสำนักงานใหญ่ เช่นเดียวกับของอีกหลายองค์กรระหว่างประเทศรวมถึงองค์การสนธิสัญญาป้องกันแอตแลนติกเหนือ ทั้งนี้ ลักษณะของประเทศ ยังคล้ายกับ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์อีกด้วย เบลเยียมมีความหลากหลายทางภาษาค่อนข้างสูง ส่งผลต่อระบบการปกครองที่ค่อนข้างซับซ้อน เบลเยียมแบ่งออกเป็นสองภูมิภาคใหญ่ ๆ ได้แก่ฟลานเดอส์ ซึ่งประชากรส่วนใหญ่พูดภาษาดัตช์ และวัลโลเนีย ซึ่งประชากรส่วนใหญ่พูดภาษาฝรั่งเศส บรัสเซลส์ เมืองหลวงของเบลเยียม เป็นเขตทวิภาษา ตั้งอยู่ในฟลานเดอส์ นอกจากนี้ยังมีชุมชนที่พูดภาษาเยอรมันในทางตะวันออกของวัลโลเนียด้วย คำว่าเบลเยียม (Belgium ในภาษาอังกฤษ België และ Belgique ในภาษาดัตช์และฝรั่งเศส) มีที่มาจาก Gallia Belgica ซึ่งเป็นจังหวัดในยุคโรมัน มีกลุ่มชาว Belgae อยู่อาศั.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียมและประเทศเบลเยียม · ดูเพิ่มเติม »

ปารีส

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียมและปารีส · ดูเพิ่มเติม »

แกรนด์ดัชเชสโฌเซฟีน-ชาร์ล็อตแห่งลักเซมเบิร์ก

้าหญิงโฌเซฟีน-ชาร์ล็อตแห่งเบลเยียม (Princess Joséphine-Charlotte of Belgium พระนามเต็ม โจเซฟีน-ชาร์ล็อต อินเกบอร์ก เอลิซาเบธ มารี-โจเซ มาร์เกอริต แอสตริด; 11 ตุลาคม พ.ศ. 2470 - 10 มกราคม พ.ศ. 2548) เป็นพระราชธิดาพระองค์ใหญ่และองค์เดียวในสมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียม และ เจ้าหญิงอัสตริดแห่งสวีเดน นอกจากนี้พระองค์ยังได้เป็นพระชายาในแกรนด์ดยุกฌ็องแห่งลักเซมเบิร์ก และพระเชษฐภคินีในสมเด็จพระราชาธิบดีแห่งเบลเยียมทั้งสองพระองค์คือ สมเด็จพระราชาธิบดีโบดวง และสมเด็จพระราชาธิบดีอัลแบร์ที่ 2 อีกด้วย ในฝ่ายพระราชชนนี เจ้าหญิงเป็นพระญาติใกล้ชิดกับสมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์ ซึ่งเป็นพระโอรสในเจ้าหญิงมาร์ธาแห่งสวีเดน พระภคินีของพระราชชนนี สมเด็จพระราชาธิบดีคาร์ลที่ 16 กุสตาฟแห่งสวีเดน ซึ่งเป็นพระโอรสในเจ้าชายกุสตาฟ อดอล์ฟแห่งสวีเดน ดยุกแห่งวาสเตอร์บ็อตเต็น และ สมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธที่ 2 แห่งเดนมาร์ก พระธิดาในเจ้าหญิงอิงกริดแห่งสวีเดน พระญาติชั้นที่สองในพระราชวงศ์สวีเดนตามลำดั.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียมและแกรนด์ดัชเชสโฌเซฟีน-ชาร์ล็อตแห่งลักเซมเบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

ไฮน์ริช ฮิมม์เลอร์

น์ริช ลุทโพลด์ ฮิมม์เลอร์ (Heinrich Luitpold Himmler) เป็นหนึ่งในผู้นำพรรคนาซีในเยอรมนี และเป็น ไรชส์ฟือเรอร์-เอ็สเอ็ส ของหน่วย ชุทซ์ชทัฟเฟิล (เอ็สเอ็ส) รับผิดชอบด้านการคุมกำลังหน่วยวัฟเฟิน-เอ็สเอ็สทั้งหมดในไรช์ เขาเป็นหนึ่งในผู้ทรงอิทธิพลที่สุดในไรช์ และเป็นผู้รับผิดชอบโดยตรงในการทำฮอโลคอสต์ชาวยิวSource: Der Spiegel, Issue dated 3 November 2008: Hitlers Vollstrecker – Aus dem Leben eines Massenmörders ฮิมม์เลอร์เกิดเมื่อวันที่ 7 ตุลาคม..

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียมและไฮน์ริช ฮิมม์เลอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เอกอัครราชทูต

เอกอัครราชทูต (ambassador) เป็นนักการทูตตำแหน่งสูงสุด ซึ่งจัดการแทนประเทศหนึ่ง ๆ และปรกติมักได้รับการส่งไปยังอีกประเทศหนึ่ง ไปยังรัฐบาลต่างด้าว หรือไปยังองค์การระหว่างประเทศ ในความหมายธรรมดา คำ "ทูต" (ambassador) หมายถึง บุคคลซึ่งรัฐบาลประเทศหนึ่งส่งไปประจำอีกประเทศหนึ่งเพื่อให้จัดการแทนตน และไม่ว่าบุคคลนั้นจะมีตำแหน่งใด โดยรัฐผู้รับ (host state) จะให้ทูตมีเขตอำนาจอยู่ใน สถานทูต (embassy) ซึ่งตั้งอยู่ในดินแดนของรัฐผู้รับ และรัฐผู้รับจะให้ความคุ้มกัน (immunity) แก่พัทธสีมา ที่ดิน ทรัพย์สิน บุคคล ฯลฯ ของสถานทูต บางประเทศอาจแต่งตั้งบุคคลผู้เป็นที่เลื่อมใสกว้างขวางให้เป็นเอกอัครราชทูตประจำกระทรวง (ambassador-at-large) เพื่อให้จัดการเพียงบางอย่างโดยเฉพาะ หรือรับผิดชอบท้องที่อันจำกัด ขณะที่เอกอัครราชทูตมักมีอำนาจจัดการทั่วไป สำหรับประเทศในเครือจักรภพ มักเรียกเอกอัครราชทูตว่า ข้าหลวงใหญ่ (high commissioner) และคณะผู้แทนทางทูตจะเรียก คณะข้าหลวงใหญ่ (high commission) แทน ส่วนเอกอัครราชทูตของอาณาจักรอันศักดิ์สิทธิ์ (Holy See) นั้นเรียก เอกอัครสมณทูต (nuncio) หมวดหมู่:นักการทูต.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียมและเอกอัครราชทูต · ดูเพิ่มเติม »

เอลิซาเบธแห่งบาวาเรีย สมเด็จพระราชินีแห่งเบลเยียม

ัชเชสอลิซาเบธแห่งบาวาเรีย (พระนามเต็มเมื่อประสูติ: อลิซาเบธ กาบรีเอล วาเลรี มารี ดัชเชสแห่งบาวาเรีย) (ประสูติเมื่อ 25 กรกฎาคม ค.ศ. 1876 และสวรรคต 23 พฤศจิกายน ค.ศ. 1965) พระอัครมเหสีในสมเด็จพระเจ้าอัลแบร์ที่ 1 แห่งเบลเยียม ทรงมีพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระราชินีแห่งชาวเบลเยียม พระองค์เป็นพระราชมารดาของสมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียม กับสมเด็จพระราชินีมารี-โจเซแห่งอิตาลี และยังเป็นพระอัยยิกาฝ่ายพระชนกของสมเด็จพระราชาธิบดีโบดวง และสมเด็จพระราชาธิบดีอัลแบร์ที่ 2.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียมและเอลิซาเบธแห่งบาวาเรีย สมเด็จพระราชินีแห่งเบลเยียม · ดูเพิ่มเติม »

เจนีวา

นีวา (Geneva) หรือออกเสียงในภาษาท้องถิ่นว่า เฌอแนฟว์ (Genève) เป็นเมืองใหญ่อันดับสองของประเทศสวิตเซอร์แลนด์ (รองจากซือริช) ถือเป็นเมืองที่มีประชากรมากที่สุดในภาครอม็องดีอันเป็นภูมิภาคที่ใช้ภาษาฝรั่งเศสเป็นหลักในสวิตเซอร์แลนด์ นครเจนีวาตั้งอยู่บริเวณต้นแม่น้ำโรนซึ่งไหลออกจากทะเลสาบเจนีวา เจนีวามีสถานะเป็นเมืองหลวงของสาธารณรัฐแห่งรัฐเจนีวา เจนีวาถือเป็นหนึ่งในเมืองศูนย์กลางของโลก โดยเป็นศูนย์กลางทางการเงิน, ศูนย์กลางทางการทูต เจนีวาถือเป็นเมืองที่มีองค์กรระหว่างประเทศตั้งอยู่มากที่สุดในโลก ในบรรดาองค์กรเหล่านี้อาทิ หน่วยงานของสหประชาชาติและกาชาดสากล เป็นต้น ในปี 2017 เจนีวาได้รับการจัดอันดับโดย Global Financial Centres Index ให้เป็นเมืองศูนย์กลางทางการเงินอันดับ 15 ของโลก และเป็นที่ 5 ของทวีปยุโรป รองจากลอนดอน, ซือริช, แฟรงเฟิร์ต และลักเซมเบิร์ก และยังได้รับการจัดอันดับโดย Mercer's Quality of Living index ให้เป็นเมืองที่น่าอยู่ที่สุดเป็นอันดับ 8 ของโลกในปีเดียวกัน.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียมและเจนีวา · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายชาลส์ เคานต์แห่งฟลานเดอร์

้าชายชาลส์ เคานต์แห่งฟลานเดอร์ (ประสูติ 10 ตุลาคม ค.ศ. 1903; สิ้นพระชนม์ 1 เมษายน ค.ศ. 1983) เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่สองของสมเด็จพระราชาธิบดีอัลแบร์ที่ 1 กับสมเด็จพระราชินีอลิซาเบธ ประสูติที่กรุงบรัสเซลส์ พระองค์ทรงปฏิบัติหน้าที่เป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระเชษฐา สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียมและเจ้าชายชาลส์ เคานต์แห่งฟลานเดอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายฟิลิป เคานต์แห่งแฟลนเดอส์

้าชายฟิลิปแห่งเบลเยียม เคานท์แห่งฟลานเดอร์ (ประสูติ: 24 มีนาคม ค.ศ. 1837 สิ้นพระชนม์: 17 พฤศจิกายน ค.ศ. 1905) ทรงเป็นพระราชโอรสพระองค์ที่สาม (พระองค์ที่สองที่ยังทรงพระชนม์) ของสมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 1 กับสมเด็จพระราชินีหลุยส์-มารี (ค.ศ. 1812 - ค.ศ. 1850) ประสูติที่ปราสาทลาเคิน ชานกรุงบรัสเซลส์ เบลเยียม และได้มีพระราชโองการเฉลิมพระอิสริยยศเป็น เคานท์แห่งฟลานเดอร์ เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม ค.ศ. 1840 พระองค์ทรงเป็นองค์รัชทายาทแห่งราชวงศ์ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียมและเจ้าชายฟิลิป เคานต์แห่งแฟลนเดอส์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายอาแล็กซ็องดร์แห่งเบลเยียม

้าชายอาแล็กซ็องดร์แห่งเบลเยียม เป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระราชาธิบดีเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียม กับพระวรชายาพระองค์ที่ 2 ลิเลียง เจ้าหญิงแห่งเรธี พระองค์มีศักดิ์เป็นพระราชอนุชาต่างพระราชมารดาใน สมเด็จพระราชาธิบดีอัลแบร์ที่ 2 แห่งเบลเยียม และมีศักดิ์เป็นพระราชปิตุลาใน สมเด็จพระราชาธิบดีฟีลิปแห่งเบลเยียม พระองค์อภิเษกสมรสกับ เจ้าหญิงเลอาแห่งเบลเยียม แต่พระองค์ไม่มีโอรส-.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียมและเจ้าชายอาแล็กซ็องดร์แห่งเบลเยียม · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายเลโอโปลด์ ดยุกแห่งบราบันต์

้าชายเลโอโปลด์แห่งเบลเยียม ดยุกแห่งบราบันต์ เคานท์แห่งแอโน (Prince Leopold of Belgium, Duke of Brabant, Count of Hainaut) (12 มิถุนายน ค.ศ. 1859 - 12 มิถุนายน ค.ศ. 1859) เป็นพระราชโอรสองค์ที่ 2 และรัชทายาทพระองค์เดียวในสมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 2 แห่งเบลเยียมกับสมเด็จพระราชินีมารี เฮนเรียตแห่งออสเตรีย เลโอโปลด์เป็นพระนามเดียวกันกับพระอัยกาของพระองค์ และพระญาติของพระราชบิดา เจ้าชายเฟอร์ดินานด์แห่งซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร และเจ้าชายอัลเบิร์ต พระราชสวามี.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียมและเจ้าชายเลโอโปลด์ ดยุกแห่งบราบันต์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงมารี-คริสตินแห่งเบลเยียม

้าหญิงมารี-คริสตินแห่งเบลเยียม เป็นพระราชธิดาในสมเด็จพระราชาธิบดีเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียม กับพระวรชายาพระองค์ที่ 2 ลิเลียง เจ้าหญิงแห่งเรธี พระองค์มีศักดิ์เป็นพระราชขนิษฐาต่างพระราชมารดาใน สมเด็จพระราชาธิบดีอัลแบร์ที่ 2 แห่งเบลเยียม และมีศักดิ์เป็นพระราชปิตุจฉาใน สมเด็จพระราชาธิบดีฟีลิปแห่งเบลเยียม พระองค์อภิเษกสมรสจำนวน 2 ครั้ง แต่จากการสมรสทั้ง 2ครั้ง พระองค์ไม่มีโอรส-ธิดา พระองค์จัดอยูในลำดับที่ 16 ในลำดับการสืบราชสันตติวงศ์เบลเยียม.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียมและเจ้าหญิงมารี-คริสตินแห่งเบลเยียม · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงมารี-แอ็สเมราลดาแห่งเบลเยียม

้าหญิงมารี-แอ็สเมราลดาแห่งเบลเยียม (พระนามเต็ม: มารี-แอ็สเมราลดา อาเดอแลด ลีลีย็อง อานา เลออปอลดีน, Marie-Esméralda Adelaide Lilian Anna Léopoldine) ประสูติเมื่อวันที่ 30 กันยายน ค.ศ. 1956 ทรงเป็นพระราชธิดาของสมเด็จพระราชาธิบดีเลโอโปลด์ที่ 3 กับเจ้าหญิงลิเลียงแห่งเรธี ซึ่งเป็นพระมเหสีพระองค์ที่สอง พระเชษฐาและพระเชษฐภคินีร่วมพระราชมารดา ได้แก่ เจ้าชายอเล็กซองดร์ (สิ้นพระชนม์แล้ว) และเจ้าหญิงมารี-คริสติน ส่วนพระเชษฐาร่วมพระชนก ได้แก่ สมเด็จพระราชาธิบดีโบดวง (สวรรคตแล้ว), สมเด็จพระราชาธิบดีอัลแบร์ที่ 2 ซึ่งยังเป็นพ่อทูนหัวของพระองค์ และแกรนด์ดัชเชสโฌเซฟีน-ชาร์ล็อตแห่งลักเซมเบิร์ก (สิ้นพระชนม์แล้ว).

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียมและเจ้าหญิงมารี-แอ็สเมราลดาแห่งเบลเยียม · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงมารีแห่งโฮเฮนซอลเลิร์น-ซิกมาริงเงิน

้าหญิงมารีแห่งโฮเฮนซอลเลิร์น-ซิกมาริงเงิน (พระนามเต็ม: มารี ลุยซ์ อเล็กซานดรา กาโรลีน, ประสูติ 17 พฤศจิกายน ค.ศ. 1845, สิ้นพระชนม์ 26 พฤศจิกายน ค.ศ. 1912) เป็นเจ้าหญิงแห่งราชวงศ์โฮเฮนซอลเลิร์น-ซิกมาริงเงิน ซึ่งต่อมาในภายหลังคือราชวงศ์โฮเฮนซอลเลิร์น ทรงเป็นพระราชชนนีของสมเด็จพระราชาธิบดีอัลแบร์ที่ 1 แห่งเบลเยียม พระราชบิดา คือ ชาร์ลส์ แอนโทนี เจ้าชายแห่งโฮเฮนซอลเลิร์น นายกรัฐมนตรีแห่งปรัสเซีย กับเจ้าหญิงโจเซฟฟินแห่งบาเดิน ดังนั้นจึงทรงเป็นพระเชษฐภคินีของสมเด็จพระเจ้าคาโรลที่ 1 แห่งโรมาเนีย และพระปิตุจฉาของสมเด็จพระเจ้าเฟอร์ดินานด์ที่ 1 แห่งโรมาเนี.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียมและเจ้าหญิงมารีแห่งโฮเฮนซอลเลิร์น-ซิกมาริงเงิน · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงอเดเลดแห่งโลเวนสไตน์-เวิร์ทเฮล์ม-โรเซนเบิร์ก

้าหญิงอเดเลดแห่งโลเวนสไตน์-เวิร์ทเฮล์ม-โรเซนเบิร์ก (Adelheid von Löwenstein-Wertheim-Rosenberg) (3 เมษายน พ.ศ. 2374 - 16 ธันวาคม พ.ศ. 2452) เป็นพระมเหสีในพระเจ้ามิเกลแห่งโปรตุเกส เจ้าหญิงอเดเลด โซเฟีย อมีเลียแห่งโลเวนสไตน์-เวิร์ทเฮล์ม-โรเซนเบิร์ก ประสูติเมื่อวันที่ 3 เมษายน พ.ศ. 2374 เป็นพระราชธิดาในคอนแสตนติน เฮเรดิทารี่ เจ้าชายแห่งโลเวนสไตน์-เวิร์ทเฮล์ม-โรเซนเบิร์กและเจ้าหญิงอักเนสแห่งโฮเฮนโลเฮ-ลานเกนบูร์ก เจ้าหญิงทรงมีพระชนมายุได้ 4 พรรษาในขณะที่พระมารดาสิ้นพระชนม์ และ 7 พรรษาในขณะที่พระบิดาสิ้นพระชนม์ เจ้าหญิงและพระเชษฐา เจ้าชายชาร์ลส์ได้รับการดูแลโดย คาร์ล โทมัส เจ้าชายแห่งโลเวนสไตน์-เวิร์ทเฮล์ม-โรเซนเบิร์กพระอัยกาและ เจ้าหญิงโซเฟียแห่งวินดิช-เกรทซ์พระอัยยิกา เมื่อวันที่ 24 กันยายน..

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียมและเจ้าหญิงอเดเลดแห่งโลเวนสไตน์-เวิร์ทเฮล์ม-โรเซนเบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงแคโรไลน์แห่งบาเดิน

้าหญิงแคโรไลน์แห่งบาเดิน เจ้าหญิงแคโรไลน์แห่งบาเดิน (ภาษาเยอรมัน: Friederike Karoline Wilhelmine) เป็นพระราชธิดาใน มาร์เกรฟคาร์ล หลุยส์แห่งบาเดิน และแลนด์เกรวีนอมาลี่แห่งเฮสส์-ดาร์มสตัดท์ ประสูติเมื่อวันที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2319 พระองค์เป็นพระขนิษฐาฝาแฝดของ เจ้าหญิงแคโรไลน์ แห่งบาเดิน.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียมและเจ้าหญิงแคโรไลน์แห่งบาเดิน · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงโยเซฟินแห่งบาเดิน

้าหญิงโยเซฟิน ฟรีเดอรีเกอ ลุยเซอ แห่งบาเดิน (ประสูติ:11 ตุลาคม ค.ศ. 1813 — สิ้นพระชนม์ 19 มิถุนายน ค.ศ. 1900) ประสูติที่มันไฮม์ แกรนด์ดัชชีแห่งบาเดิน เป็นพระธิดาของแกรนด์ดยุกชาลส์แห่งบาเดิน กับสเตฟานีแห่งโบอาร์แน ทรงเป็นพระบรมอรรคราชบรรพบุรุษของราชวงศ์โรมาเนีย และราชวงศ์ยูโกสลาเวียผ่านทางพระโอรส เจ้าชายเลโอโปลด์แห่งโฮเฮนซอลเลิร์น และของราชวงศ์เบลเยียม และลักเซมเบิร์ก ผ่านทางพระธิดา คือ เจ้าหญิงมารีแห่งโฮเฮนซอลเลิร์น-ซิกมาริงเงิน.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียมและเจ้าหญิงโยเซฟินแห่งบาเดิน · ดูเพิ่มเติม »

เขตวัลลูน

ตวัลลูน (Région wallonne; Wallonische Region; Wallonië) เรียกอีกอย่างว่า "วาโลเนีย" เป็นเขตการปกครองตามรัฐธรรมนูญของประเทศเบลเยียม ร่วมกับเขตฟลามส์และเขตเมืองหลวงบรัสเซลส์ มีเนื้อที่ 55% ของเนื้อที่ประเทศ แต่มีประชากรเป็นอันดับที่ 3 แม้ว่าประชากรส่วนใหญ่พูดภาษาฝรั่งเศส แต่เขตวัลลูนก็มิได้รวมเข้ากับชุมชนฝรั่งเศสแห่งเบลเยียมเหมือนในกรณีของเขตฟลามส์ซึ่งรวมเป็นหนึ่งเดียวกันกับชุมชนฟลามส์ นอกจากนี้ในเขตวัลลูนยังมีประชาคมผู้ใช้ภาษาเยอรมัน ซึ่งอยู่ในทิศตะวันออกที่มีสภาแยกดูแลในด้านการศึกษาและวัฒนธรรมโดยเฉพาะ เช่นเดียวกับเขตอื่น ๆ เขตวัลลูนมีสภาและรัฐบาลดูแลกิจการภายในเขต ตามที่กำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ เมืองหลวงของเขตคือนามูร์ มีภาษาราชการคือภาษาฝรั่งเศสและภาษาเยอรมัน ในช่วงการปฏิวัติอุตสาหกรรม วาโลเนียนั้นเป็นเพียงอันดับสองรองจากสหราชอาณาจักรในด้านอุตสาหกรรมหนัก โดยเฉพาะการถลุงเหล็กและถ่านหิน ซึ่งนำมาซึ่งความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจของเขตภูมิภาควัลลูน ตั้งแต่สมัยคริสต์ศตวรรษที่ 19 จนถึงช่วงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 วัลลูนถือเป็นครึ่งหนึ่งของเบลเยียมที่ร่ำรวยที่สุด แต่ตั้งแต่สงครามโลกครั้งที่ 2 ทำให้ความสำคัญของอุตสาหกรรมหนักลดลงอย่างมาก ทำให้เขตฟลามส์นั้นก้าวหน้าขึ้นกว่าเขตวัลลูนในด้านเศรษฐกิจ ในปัจจุบันเขตวัลลูนนั้นมีปัญหาด้านอัตราผู้ไม่มีงานทำค่อนข้างสูง และยังมีผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศต่อหัวประชากร (GDP per Capita) ต่ำกว่าเขตฟลามส์อย่างมีนัยสำคัญ เนื่องจากปัญหาความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจและภาษาของทั้งสองภูมิภาคหลักของเบลเยียมนั้นได้นำพามาซึ่งปัญหาความขัดแย้งทางการเมืองในระดับประเทศในช่วงทศวรรษที่ผ่านมา เมืองหลวงของวาโลเนียตั้งอยู่ที่นามูร์ แต่เขตเมืองที่ใหญ่ที่สุดนั้นคือลีแยฌ ส่วนเขตเทศบาลเดียวที่มีประชากรมากที่สุดคือ ชาร์เลอรัว เมืองใหญ่ต่างๆในวาโลเนียนั้นตั้งอยู่บริเวณลุ่มแม่น้ำซอมบร์ และแม่น้ำเมิส อันประกอบด้วยจำนวนประชากรทั้งหมดกว่าสองในสามของเขต อันเป็นเขตอุตสาหกรรมในอดีตของเบลเยียม ด้านทิศเหนือนั้นเป็นที่ราบลุ่มภาคกลางของเบลเยียม ซึ่งเหมือนกับเขตฟลามส์ อันมีความอุดมสมบูรณ์และเหมาะสมต่อการทำเกษตรกรรม ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้นั้นเป็นเขตอาร์เดนน์ ซึ่งประกอบด้วยภูเขาสลับอย่างหนาแน่น พรมแดนของเขตวัลลูนทางด้านเหนือนั้นติดกับเขตฟลามส์ และประเทศเนเธอร์แลนด์ ด้านใต้และตะวันตกจรดกับประเทศฝรั่งเศส ส่วนทิศตะวันออกนั้นติดกับประเทศเยอรมนี และประเทศลักเซมเบิร์ก.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียมและเขตวัลลูน · ดูเพิ่มเติม »

16 กรกฎาคม

วันที่ 16 กรกฎาคม เป็นวันที่ 197 ของปี (วันที่ 198 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 168 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียมและ16 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

23 กุมภาพันธ์

วันที่ 23 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 54 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 311 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียมและ23 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

24 พฤษภาคม

วันที่ 24 พฤษภาคม เป็นวันที่ 144 ของปี (วันที่ 145 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 221 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียมและ24 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

3 พฤศจิกายน

วันที่ 3 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 307 ของปี (วันที่ 308 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 58 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียมและ3 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

สมเด็จพระราชาธิบดีเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียมพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งชาวเบลเยียมพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งชาวเบลเบียมพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียม

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »