โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

16 กรกฎาคม

ดัชนี 16 กรกฎาคม

วันที่ 16 กรกฎาคม เป็นวันที่ 197 ของปี (วันที่ 198 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 168 วันในปีนั้น.

78 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 1165พ.ศ. 2415พ.ศ. 2418พ.ศ. 2439พ.ศ. 2471พ.ศ. 2474พ.ศ. 2479พ.ศ. 2483พ.ศ. 2485พ.ศ. 2488พ.ศ. 2501พ.ศ. 2503พ.ศ. 2511พ.ศ. 2512พ.ศ. 2513พ.ศ. 2519พ.ศ. 2522พ.ศ. 2524พ.ศ. 2529พ.ศ. 2530พ.ศ. 2531พ.ศ. 2532พ.ศ. 2533พ.ศ. 2537พ.ศ. 2538พ.ศ. 2542พ.ศ. 2549พ.ศ. 2560พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชพระครูวิหารกิจจานุการ (ปาน โสนนฺโท)กุลธิดาฐ์ อักษรนันทน์ภูธเนศ หงษ์มานพมาเฮอร์ เซนยะซุโอะ ฟุกุดะรัฐนิวเม็กซิโกวชิรา เพิ่มสุริยาวันทรงดนตรีวิล เฟอร์เรลสภามวยโลกสมาน ส.จาตุรงค์สหพันธ์มวยนานาชาติสหรัฐสิปปนนท์ เกตุทัตหอประชุมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยอภิชาติพงศ์ วีระเศรษฐกุลอะพอลโล 11อาวุธนิวเคลียร์อุมเบร์โต กอนซาเลซจอร์จ โรเมโรทรีฟ ลี...ดาวพฤหัสบดีดาวหางดาวหางชูเมกเกอร์-เลวี 9ดิษยา กรกชมาศซัดดัม ฮุสเซนปฏิทินสุริยคติปฏิทินฮิจเราะห์ปฏิทินเกรโกเรียนประธานาธิบดีประเทศอิรักประเทศเม็กซิโกปีอธิกสุรทินแกเร็ธ เบลแลร์รี แซงเจอร์แหลมคะแนเวอรัลแฮร์รี แชพินโรอัลด์ อะมุนด์เซนโรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ๒โครงการอะพอลโลโครงการแมนฮัตตันไลท์ฟลายเวทเซร์ฆิโอ บุสเกตส์18 มิถุนายน23 กุมภาพันธ์25 พฤศจิกายน30 ธันวาคม4 กุมภาพันธ์7 ธันวาคม ขยายดัชนี (28 มากกว่า) »

พ.ศ. 1165

ทธศักราช 1165 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: 16 กรกฎาคมและพ.ศ. 1165 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2415

ทธศักราช 2415 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1872 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 16 กรกฎาคมและพ.ศ. 2415 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2418

ทธศักราช 2418 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1875.

ใหม่!!: 16 กรกฎาคมและพ.ศ. 2418 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2439

ทธศักราช 2439 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1896 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 16 กรกฎาคมและพ.ศ. 2439 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2471

ทธศักราช 2471 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1928 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 16 กรกฎาคมและพ.ศ. 2471 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2474

ทธศักราช 2474 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1931 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 16 กรกฎาคมและพ.ศ. 2474 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2479

ทธศักราช 2479 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1936.

ใหม่!!: 16 กรกฎาคมและพ.ศ. 2479 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2483

ทธศักราช 2483 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1940 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 16 กรกฎาคมและพ.ศ. 2483 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2485

ทธศักราช 2485 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1942 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: 16 กรกฎาคมและพ.ศ. 2485 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2488

ทธศักราช 2488 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1945 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: 16 กรกฎาคมและพ.ศ. 2488 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2501

ทธศักราช 2501 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1958 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 16 กรกฎาคมและพ.ศ. 2501 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2503

ทธศักราช 2503 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1960 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 16 กรกฎาคมและพ.ศ. 2503 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2511

ทธศักราช 2511 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1968 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 16 กรกฎาคมและพ.ศ. 2511 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2512

ทธศักราช 2512 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1969 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 16 กรกฎาคมและพ.ศ. 2512 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2513

ทธศักราช 2513 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1970 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 16 กรกฎาคมและพ.ศ. 2513 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2519

ทธศักราช 2519 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1976 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 16 กรกฎาคมและพ.ศ. 2519 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2522

ทธศักราช 2522 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1979 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 16 กรกฎาคมและพ.ศ. 2522 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2524

ทธศักราช 2524 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1981 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 16 กรกฎาคมและพ.ศ. 2524 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2529

ทธศักราช 2529 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1986 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 16 กรกฎาคมและพ.ศ. 2529 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2530

ทธศักราช 2530 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1987 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 16 กรกฎาคมและพ.ศ. 2530 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2531

ทธศักราช 2531 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1988 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ (ลิงก์ไปยังปฏิทิน) ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: 16 กรกฎาคมและพ.ศ. 2531 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2532

ทธศักราช 2532 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1989 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 16 กรกฎาคมและพ.ศ. 2532 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2533

ทธศักราช 2533 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1990 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 16 กรกฎาคมและพ.ศ. 2533 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2537

ทธศักราช 2537 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1994 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 16 กรกฎาคมและพ.ศ. 2537 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2538

ทธศักราช 2538 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1995 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 16 กรกฎาคมและพ.ศ. 2538 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2542

ทธศักราช 2542 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1999 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน และสหประชาชาติกำหนดให้เป็น ปีสากลแห่งผู้สูงอายุและเป็นปีมหามงคลในโอกาสที่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระชนมพรรษาครบ 6 รอบ (พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนม์พรรรษา ๖ รอบ ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๒).

ใหม่!!: 16 กรกฎาคมและพ.ศ. 2542 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2549

ทธศักราช 2549 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2006 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: 16 กรกฎาคมและพ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2560

ทธศักราช 2560 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2017 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ (ลิงก์ไปยังปฏิทิน) ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: 16 กรกฎาคมและพ.ศ. 2560 · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 — 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 9 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จสู่พระราชสมบัติตั้งแต่วันที่ 9 มิถุนายน..

ใหม่!!: 16 กรกฎาคมและพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช · ดูเพิ่มเติม »

พระครูวิหารกิจจานุการ (ปาน โสนนฺโท)

หลวงพ่อปาน วัดบางนมโค (16 กรกฎาคม พ.ศ. 2418 — 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2481) พระเกจิอาจารย์ชื่อดังแห่ง พระนครศรีอยุธยา ท่านเป็นเจ้าอาวาสวัดบางนมโครูปที่ 3 ดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาสวัดบางนมโคระหว่างปี พ.ศ. 2478 จนถึงปี พ.ศ. 2481 ท่านเป็นพระอริยสงฆ์ทรงอภิญญารูปหนึ่ง แม้ว่าจะมรณภาพไปนานแล้วก็ตาม ชื่อเสียงของท่าน ยิ่งเป็นที่รู้จัก ในบรรดานักสะสมพระเครื่องทั้งหลาย และการสร้างพระของท่านก็ไม่เหมือนกับวัดอื่น คือท่านมักจะสร้างเป็นรูปพระพุทธเจ้าอยู่เหนือสัตว์พาหนะอันมี ครุฑ หนุมาน เม่น ไก่ นก และปลา เป็นต้น.

ใหม่!!: 16 กรกฎาคมและพระครูวิหารกิจจานุการ (ปาน โสนนฺโท) · ดูเพิ่มเติม »

กุลธิดาฐ์ อักษรนันทน์

กุลธิดาฐ์ อักษรนันทน์ หรือ จิ๊บ เป็นนักแสดงและนักร้องชาวไท.

ใหม่!!: 16 กรกฎาคมและกุลธิดาฐ์ อักษรนันทน์ · ดูเพิ่มเติม »

ภูธเนศ หงษ์มานพ

ูธเนศ หงษ์มานพ เกิดเมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2519 ความเป็นจริงภูธเนศมีชื่อเล่นว่าปุ๋ยแต่ทำไมไม่รู้คนเรียกว่ากัปตัน เป็นนักแสดงและพิธีกรชาวไทย เป็นพี่ชายคนโตในจำนวนพี่น้อง 2 คน มีน้องสาว 1 คน จบการศึกษาระดับอนุบาลที่ โรงเรียนอนุบาลทัศนียวรรณ ระดับประถมและมัธยมศึกษาตอนต้นที่ โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มัธยมศึกษาตอนปลายที่ โรงเรียนเตรียมวิศวกรรมศาสตร์ไทย-เยอรมัน ระดับอุดมศึกษาที่ คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ มีผลงานแสดงภาพยนตร์เรื่องแรกคือ กระโปรงบานขาสั้น ชีวิตส่วนตัว สมรสแล้วกับ เอ้ก บุษกร ตันติภนา หลังคบหากันมานานกว่า 5 ปี หลังจากนั้นในปี 2560 ก็มีทายาทคือเด็กชาย ภักดีบดินทร์ หงษ์มานพ ชื่อเล่น ดิน.

ใหม่!!: 16 กรกฎาคมและภูธเนศ หงษ์มานพ · ดูเพิ่มเติม »

มาเฮอร์ เซน

มาเฮอร์ เซน (ماهر زين‎; เกิดเมื่อ 16 กรกฎาคม ค.ศ. 1981) เป็นนักร้องชาวสวีเดนแนวอาร์แอนด์บี, นักแต่งเพลง และนักดนตรีที่มาจากเลบานอน เขาได้มีอัลบั้มชื่อว่า แทงกิ้วอัลลอฮ์ จากค่ายอเวคเคนนิงเรคอร์ดสในปี 2009 และ ฟอร์กีฟมี เมื่อเมษายน ปี 2012 จากสังกัดเดียวกัน.

ใหม่!!: 16 กรกฎาคมและมาเฮอร์ เซน · ดูเพิ่มเติม »

ยะซุโอะ ฟุกุดะ

ซุโอะ ฟุกุดะ (เกิด 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2479) เป็นนายกรัฐมนตรีคนที่ 91 ของประเทศญี่ปุ่น.

ใหม่!!: 16 กรกฎาคมและยะซุโอะ ฟุกุดะ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐนิวเม็กซิโก

รัฐนิวเม็กซิโก (New Mexico,; Nuevo México) เป็นรัฐทางตอนตะวันตกเฉียงใต้ ของสหรัฐอเมริกา ติดกับประเทศเม็กซิโก เมืองหลวงของรัฐคือ ซานตาเฟ โดยมีเมืองที่ใหญ่ที่สุดคือ อัลบูเคอร์คี ถึงแม้ว่าในสหรัฐอเมริกา ภาษาอังกฤษนิยมใช้กันมากที่สุด แต่ในรัฐนิวเม็กซิโกเป็นรัฐที่มีการใช้ภาษาสเปนมากที่สุดรัฐหนึ่งในสหรัฐอเมริกา โดยประชากรในรัฐประกอบด้วย ชาวอเมริกา ชาวสเปน และชาวเม็กซิโก ในปี 2550 นิวเม็กซิโกมีประชากร 1,969,915 คน.

ใหม่!!: 16 กรกฎาคมและรัฐนิวเม็กซิโก · ดูเพิ่มเติม »

วชิรา เพิ่มสุริยา

วชิรา เพิ่มสุริยา เป็นนักแสดง, นักพากย์ชาวไทย อดีตสังกัด ช่อง 7 สี และนักพากย์ชื่อดัง ผลงานล่าสุด Playful Kiss แกล้งจุ๊บให้รู้ว่ารัก.

ใหม่!!: 16 กรกฎาคมและวชิรา เพิ่มสุริยา · ดูเพิ่มเติม »

วันทรงดนตรี

ระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พร้อมด้วยสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี เสด็จฯ ทรงดนตรี ณ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วันทรงดนตรี เป็นวันที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จพระราชดำเนินตามคำกราบบังคมทูลเชิญของมหาวิทยาลัยต่าง ๆ เช่น จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ เพื่อทรงดนตรีและทรงสังสรรค์ร่วมกับนิสิตนักศึกษาเป็นการส่วนพระองค์ โดยสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ รวมทั้ง สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ และสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ ก็จะโดยเสด็จพระราชดำเนิน และทรงร่วมในการแสดงดนตรีด้ว.

ใหม่!!: 16 กรกฎาคมและวันทรงดนตรี · ดูเพิ่มเติม »

วิล เฟอร์เรล

อห์น วิลเลียม วิล เฟอร์เรล (John William "Will" Ferrell) เกิดเมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม ค.ศ. 1969 เป็นนักแสดงตลก นักแสดง ผู้ให้เสียงและนักเขียน ชาวอเมริกัน เขาเป็นที่รู้จักครั้งแรกในฐานะหนึ่งในสมาชิกรายการ Saturday Night Live หลังจากนั้นเขาประสบความสำเร็จบนจอภาพยนตร์ แสดงในหนังตลกอย่าง A Night at the Roxbury (1998), Old School, Elf (ทั้งสองเรื่องปี 2003), Anchorman (2004), Kicking & Screaming (2005), Talladega Nights, Stranger than Fiction (ทั้งสองเรื่องปี 2006), Blades of Glory (2007), Semi-Pro, Step Brothers (ทั้งสองเรื่องปี 2008), และ Land of the Lost (2009) เขายังถือเป็นหนึ่งในแฟรตแพ็ก กลุ่มผู้นำนักแสดงที่เกิดขึ้นในช่วงปลายทศวรรษ 1990 รวมถึงยุค 2000 โดยรวมถึงดาราอื่นอย่าง เบน สติลเลอร์, สตีฟ คาร์เรล, แจ็ก แบล็ก, วินซ์ วอห์น, และสองพี่น้อง โอเวน และลูค วิลสัน.

ใหม่!!: 16 กรกฎาคมและวิล เฟอร์เรล · ดูเพิ่มเติม »

สภามวยโลก

ัญลักษณ์สภามวยโลกที่ใช้ในปัจจุบัน เริ่มใช้มาตั้งแต่เดือนธันวาคม พ.ศ. 2556 เข็ดขัดแชมป์โลกของสภามวยโลก สภามวยโลก (World Boxing Council; ตัวย่อ: WBC, Consejo Mundial de Boxeo; ตัวย่อ: CMB) สถาบันที่ดูแลและควบคุมการชกมวยสากลในระดับโลก สภามวยโลกก่อตั้งขึ้นในวันที่ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2506 โดยมีสำนักงานใหญ่อยู่ที่กรุงเม็กซิโกซิตี ประเทศเม็กซิโก โดยเริ่มแรกมีชาติสมาชิก 11+1 ประเทศ ปัจจุบัน สภามวยโลกมี มัวริซิโอ สุไลมาน ชาวเม็กซิกัน เป็นประธานสถาบัน หลังจาก โฮเซ่ สุไลมาน ที่เป็นประธานตัวจริงและเป็นบิดาของมัวริซิโอ ทำหน้าที่อย่างยาวนานถึง 38 ปี ถึงแก่กรรมไปในต้นปี..

ใหม่!!: 16 กรกฎาคมและสภามวยโลก · ดูเพิ่มเติม »

สมาน ส.จาตุรงค์

มาน.จาตุรงค์ มีชื่อจริงว่า สมาน ศรีประเทศ เกิดเมื่อวันที่ 2 สิงหาคม พ.ศ. 2511 ที่บ้านคลองสุขใจ ตำบลทุ่งทราย อำเภอคลองขลุง จังหวัดกำแพงเพชร เป็นบุตรชายคนที่ 2 ในจำนวน 4 คนของ นายจำนงค์ และนางละไม ศรีประเทศ สมานนับได้ว่าเป็นแชมป์โลกคนที่ 3 ของไทย ที่ไม่เคยชกมวยไทยมาก่อนเลย (2 คนก่อนหน้านี้คือ โผน กิ่งเพชร และ ชาติชาย เชี่ยวน้อย).

ใหม่!!: 16 กรกฎาคมและสมาน ส.จาตุรงค์ · ดูเพิ่มเติม »

สหพันธ์มวยนานาชาติ

ำหรับสหพันธ์แบดมินตันนานาชาติ (IBF) ดูที่ สหพันธ์แบดมินตันนานาชาติ เข็มขัดแชมป์โลกของ IBF สหพันธ์มวยนานาชาติ (International Boxing Federation, ตัวย่อ: IBF) สถาบันที่ดูแลและควบคุมการชกมวยสากลในระดับโลก สหพันธ์มวยนานาชาติได้ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2526 โดย นายโรเบิร์ต ดับเบิลยู.

ใหม่!!: 16 กรกฎาคมและสหพันธ์มวยนานาชาติ · ดูเพิ่มเติม »

สหรัฐ

หรัฐอเมริกา (United States of America) โดยทั่วไปเรียก สหรัฐ (United States) หรือ อเมริกา (America) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐ ประกอบด้วยรัฐ 50 รัฐ และหนึ่งเขตปกครองกลาง ห้าดินแดนปกครองตนเองสำคัญ และเกาะเล็กต่าง ๆ โดย 48 รัฐและเขตปกครองกลางตั้งอยู่ ณ ทวีปอเมริกาเหนือระหว่างประเทศแคนาดาและเม็กซิโก รัฐอะแลสกาอยู่มุมตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปอเมริกาเหนือ มีเขตแดนติดต่อกับประเทศแคนาดาทางทิศตะวันออกและข้ามช่องแคบเบริงจากประเทศรัสเซียทางทิศตะวันตก และรัฐฮาวายเป็นกลุ่มเกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกกลาง ดินแดนของสหรัฐกระจายอยู่ตามมหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลแคริบเบียน ครอบคลุมเขตเวลาเก้าเขต ภูมิศาสตร์ ภูมิอากาศและสัตว์ป่าของประเทศหลากหลายอย่างยิ่ง สหรัฐมีพื้นที่ขนาด 9.8 ล้านตารางกิโลเมตร มีประชากรราว 326 ล้านคน ทำให้มีพื้นที่ขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 4 ของโลก และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 3 ของโลก เป็นประเทศซึ่งมีความหลากหลายทางเชื้อชาติและวัฒนธรรม และเป็นที่พำนักของประชากรเข้าเมืองใหญ่สุดในโลกAdams, J.Q., and Pearlie Strother-Adams (2001).

ใหม่!!: 16 กรกฎาคมและสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

สิปปนนท์ เกตุทัต

ตราจารย์กิตติคุณ สิปปนนท์ เกตุทัต (23 กุมภาพันธ์ 2474 — 16 กรกฎาคม 2549) ราชบัณฑิตกิตตมศักดิ์ เป็นนักวิทยาศาสตร์ชาวไทย ทีมีคุณูปการต่อวงการศึกษา วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี อุตสาหกรรม และการพัฒนาประเทศไทยในภาพรวม ท่านเป็นผู้บุกเบิกหลายสิ่งในประเทศ ที่เป็นรากฐานทำให้เกิดองค์กรและโครงการที่ช่วยในการยกระดับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี การศึกษา ของประเทศมาโดยลำดับ ท่านมีผลงานเขียน ที่จุดประกายให้เยาวชนไทย และผู้บริหารการพัฒนาประเทศได้ใช้นำทางจำนวนมาก และในวาระที่ท่านดำรงตำแหน่งประธานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ท่านได้กราบทูลขอพระราชทานพระบรมราชานุญาตเพื่อนำเอา ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการวางแผนการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทย และเป็นผู้ก่อตั้งมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ถึงแก่อนิจกรรมเมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2549 เวลา 13:08 น. ที่โรงพยาบาลศิริราช ด้วยโรคมะเร็งในกระดูก รวมอายุ 75 ปี.

ใหม่!!: 16 กรกฎาคมและสิปปนนท์ เกตุทัต · ดูเพิ่มเติม »

หอประชุมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

หอประชุมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เรียกโดยย่อว่า หอประชุมจุฬาฯ เป็นหอประชุมใหญ่ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีความเป็นมาคู่กับจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยมาอย่างยาวนาน อีกทั้งยังมีเหตุการณ์สำคัญในประวัติศาสตร์เกิดขึ้นที่อาคารแห่งนี้หลายเหตุการณ์ หอประชุมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตั้งอยู่ภายในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร หอประชุมจุฬาฯ เป็นสิ่งปลูกสร้างที่เป็นองค์ประกอบสำคัญของภูมิทัศน์ในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ทำให้เกิดการปรับภูมิทัศน์โดยรอบ เช่น การขุดสระน้ำด้านหน้าประตูใหญ่ ตัดถนนรอบสนามรักบี้และสร้างลานพระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระปิยมหาราชและสมเด็จพระมหาธีรราชเจ้า จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2545 สมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ์ได้มอบรางวัลอนุรักษ์ศิลปสถาปัตยกรรมดีเด่นให้แก่หอประชุมจุฬาฯ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชเสด็จพระราชดำเนินมาทรงดนตรีพระราชทานแก่นิสิตที่หอประชุมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเป็นแห่งแรกก่อนที่กิจกรรมนี้จะมีขึ้นในอีกหลายมหาวิทยาลัยในเวลาต่อมา เป็นที่มาของวันทรงดนตรี หอประชุมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นสัญลักษณ์ที่โดดเด่นคู่มหาวิทยาลัยมาตั้งแต่ก่อสร้างแล้วเสร็จ ในปี พ.ศ. 2482 นิสิตและบุคลากรของจุฬาฯ ล้วนผูกพันและมีโอกาส ได้เข้าร่วมพิธีกรรมและกิจกรรมอันหลากหลายที่อาคารหลังนี้ นับตั้งแต่กิจกรรมแรกของการเป็นนิสิต คือพิธีปฐมนิเทศนิสิตใหม่ พิธีปฐมนิเทศนิสิตหอพักของหอพักนิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พิธีไหว้ครู เปิดเทศกาลงานฟุตบอลประเพณีจุฬาฯ–ธรรมศาสตร์ จนกระทั่งเมื่อสำเร็จการศึกษา อาคารหลังนี้ก็เป็นสถานที่ประกอบพิธีพระราชทานปริญญาบัตร นอกจากนี้ยังใช้เป็นที่จัดกิจกรรมทางศิลปวัฒนธรรมในวาระสำคัญต่าง ๆ ทั้งในระดับมหาวิทยาลัยและระดับชาต.

ใหม่!!: 16 กรกฎาคมและหอประชุมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

อภิชาติพงศ์ วีระเศรษฐกุล

อภิชาติพงศ์ วีระเศรษฐกุล (ชื่อเล่น "เจ้ย" ต่างประเทศเรียก "Joe") เกิดวันที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2513 ณ กรุงเทพมหานคร เติบโตในจังหวัดขอนแก่น โดยเป็นบุตรชายของ นายสุวัฒน์ วีระเศรษฐกุล อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดขอนแก่น สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น และปริญญาโท ศิลปกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาภาพยนตร์ จากสถาบันศิลปะชิคาโก (Art Institute of Chicago) เริ่มต้นผลิตภาพยนตร์และวิดีโอตั้งแต่ต้นปี พ.ศ. 2533 เป็นหนึ่งในผู้ผลิตภาพยนตร์ไม่กี่คนในประเทศไทยที่ทำงานนอกระบบสตูดิโอ อภิชาติพงศ์มักทดลองโดยยึดหลักโครงเรื่องที่อิงมาจากละครโทรทัศน์ ละครวิทยุ การ์ตูน และภาพยนตร์เก่า ๆ มักได้แรงบันดาลใจมาจากเมืองเล็ก ๆ มักใช้นักแสดงที่ไม่มีประสบการณ์ ไม่ใช่มืออาชีพ และใช้บทสนทนาสด พ.ศ. 2543 ภาพยนตร์สารคดีเรื่องยาวเรื่องแรกของเขา ดอกฟ้าในมือมาร (Mysterious Object at Noon) ได้เข้าร่วมเทศกาลภาพยนตร์นานาชาติมากมาย และได้รับคำวิจารณ์พร้อมรางวัล 4 รางวัล และเป็นหนึ่งในภาพยนตร์ที่ดีที่สุดในปี 2543 โดยนักวิจารณ์นิตยสาร The village voice อภิชาติพงศ์เปิดบริษัทภาพยนตร์ Kick the Machine โดยผลิตภาพยนตร์เรื่อง สุดเสน่หา (Blissfully Yours) ได้รับรางวัล Un Certain Regard ในเทศกาลภาพยนตร์เมืองคานส์ (Cannes Film Festival) ประจำปี พ.ศ. 2545 ณ ประเทศฝรั่งเศส ถูกจัดเป็นหนึ่งในภาพยนตร์ที่ดีที่สุดที่คานส์โดยนิตยสาร Le Cahiers du Cinema พ.ศ. 2547 ภาพยนตร์เรื่อง สัตว์ประหลาด! (Tropical Malady) ซึ่งร่วมกับบริษัท Anna Sanders Films ประเทศฝรั่งเศส ได้รับรางวัล Jury Prize และเป็นภาพยนตร์ไทยเรื่องแรกที่ได้รับเข้าเลือกในสายประกวดหลักของเทศกาลภาพยนตร์เมืองคานส์ พ.ศ. 2551 อภิชาติพงศ์ได้รับเลือกให้เป็นหนึ่งในคณะกรรมการตัดสินรางวัล (ส่วนของภาพยนตร์สายหลัก) ในเทศกาลภาพยนตร์เมืองคานส์ 2008.

ใหม่!!: 16 กรกฎาคมและอภิชาติพงศ์ วีระเศรษฐกุล · ดูเพิ่มเติม »

อะพอลโล 11

ัญลักษณ์โครงการอะพอลโล 11 ลูกเรืออะพอลโล่ 11 ประกอบด้วย นีล อาร์มสตรอง (Neil Alden Armstrong) ผู้บังคับการ, เอดวิน อัลดริน (Adwin Aldrin) และ ไมเคิล คอลลินส์ (Michael Collins) อะพอลโล 11 (Apoll XI) เป็นยานอวกาศลำแรกที่ลงจอดบนผิวของดวงจันทร์สำเร็จขององค์การนาซา อะพอลโล 11 ถูกส่งขึ้นสู่ชั้นบรรยากาศโดยจรวดแซทเทิร์น 5 (Saturn V) ที่ฐานยิงจรวจที่แหลมเคเนดี รัฐฟลอริดา เมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม..

ใหม่!!: 16 กรกฎาคมและอะพอลโล 11 · ดูเพิ่มเติม »

อาวุธนิวเคลียร์

ญี่ปุ่น เมื่อปี พ.ศ. 2488 ปลายสงครามโลกครั้งที่สอง อาวุธนิวเคลียร์ เป็นวัตถุระเบิดซึ่งมีอำนาจทำลายล้างมาจากปฏิกิริยานิวเคลียร์ ไม่ว่าจะเป็นปฏิกิริยาฟิชชัน(atomic bomb)อย่างเดียว หรือ ฟิชชันและฟิวชัน(hydrogen bomb)รวมกัน ปฏิกิริยาทั้งสองปลดปล่อยพลังงานปริมาณมหาศาลจากสสารปริมาณค่อนข้างน้อย การทดสอบระเบิดฟิชชัน ("อะตอม") ลูกแรกปลดปล่อยพลังงานออกมาเทียบเท่ากับทีเอ็นทีประมาณ 20,000 ตัน การทดสอบระเบิดเทอร์โมนิวเคลียร์ ("ระเบิดไฮโดรเจน") ลูกแรก ปลดปล่อยพลังงานออกมาเท่ากับทีเอ็นทีประมาณ 10,000,000 ตัน อาวุธเทอร์โมนิวเคลียร์สมัยใหม่ที่หนักกว่า 1,100 กิโลกรัมเล็กน้อย สามารถก่อให้เกิดแรงระเบิดเทียบเท่ากับการจุดจามทีเอ็นทีมากกว่า 1.2 ล้านตัน ดังนั้น กระทั่งวัตถุนิวเคลียร์ลูกเล็กๆ ที่ขนาดไม่ใหญ่ไปกว่าระเบิดธรรมดา สามารถทำลายล้างนครทั้งนครได้ ด้วยแรงระเบิด ไฟและกัมมันตรังสี อาวุธนิวเคลียร์ถูกพิจารณาว่าเป็นอาวุธอานุภาพทำลายล้างสูง และการใช้และควบคุมอาวุธนิวเคลียร์ได้กลายเป็นจุดสนใจสำคัญของนโยบายความสัมพันธ์ระหว่างประเทศนับแต่ถือกำเนิดขึ้น มีอาวุธนิวเคลียร์เพียงสองชิ้นเท่านั้นที่เคยใช้ตลอดห้วงการสงคราม ทั้งสองครั้งโดยสหรัฐอเมริกายามสงครามโลกครั้งที่สองใกล้ยุติ วันที่ 6 สิงหาคม..

ใหม่!!: 16 กรกฎาคมและอาวุธนิวเคลียร์ · ดูเพิ่มเติม »

อุมเบร์โต กอนซาเลซ

อุมเบร์โต กอนซาเลซ (Humberto Gonzalez) เกิดเมื่อวันที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2509 ที่เมืองเนซาวัลโกโยตล์ กอนซาเลซเป็นนักมวยชาวเม็กซิกันที่มีชื่อเสียงคนหนึ่งในรุ่นเล็ก ด้วยความเป็นนักมวยที่ชกสนุก เดินหน้าบุกตะลุยตลอดไม่มีถอยหลัง และมักจะปักหลักดวลหมัดกับคู่ต่อสู้ด้วยการเปิดหน้าตลอด ไม่มีการ์ด ไม่มีฟุตเวิร์ก แม้จะเป็นนักมวยรูปร่างเล็กแต่มีช่วงชกที่ยาว ร่างกายแข็งแกร่งกำยำด้วยกล้ามเนื้อ ซ้ำยังมักตีหน้ายักษ์ขู่คู่ต่อสู้อีกต่างหาก จึงได้รับฉายาเป็นภาษาสเปนว่า "Chiquita" หมายถึง ไอ้ตัวเล็ก หรือ เปี๊ยก.

ใหม่!!: 16 กรกฎาคมและอุมเบร์โต กอนซาเลซ · ดูเพิ่มเติม »

จอร์จ โรเมโร

อร์จ แอนดรูว์ โรเมโร (4 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1940 – 16 กรกฎาคม ค.ศ. 2017) คือ ผู้กำกับภาพยนตร์ นักเขียนบท และตัดต่อชาวอเมริกัน-แคนาดา ได้รับฉายาว่า "Grandfather of the Zombie" จากผลงานสร้างภาพยนตร์สยองขวัญที่มีเนื้อเรื่องเกี่ยวกับซอมบี้จำนวนหลายเรื่อง ผลงานสร้างภาพยนตร์ต้นทุนต่ำเรื่อง Night of the Living Dead ในปี 1968 ด้วยเงินทุนเพียง 10,000 ดอลลาร์สหรัฐ และภาคต่อ Dawn of the Dead ในปี 1978 และ Day of the Dead ในปี 1985 ได้รับการยกย่องเป็นหนังคัลท์ที่เป็นจุดเริ่มของกระแสการสร้างภาพยนตร์ซอมบี้ต่อมาเป็นจำนวนมาก รวมไปถึงมิวสิกวิดีโอ เช่นเพลง ทริลเลอร์ ของไมเคิล แจ็กสัน วิดีโอเกม และวัฒนธรรมสมัยนิยมอื่นๆ โรเมโรถึงแก่กรรมด้วยโรคมะเร็งปอดเมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม..

ใหม่!!: 16 กรกฎาคมและจอร์จ โรเมโร · ดูเพิ่มเติม »

ทรีฟ ลี

ทรีฟ ลี (Trygve Lie; 16 กรกฎาคม 1896 – 30 ธันวาคม 1968) เป็นนักการเมือง ผู้นำกรรมกร เจ้าหน้าที่รัฐและผู้ประพันธ์ชาวนอร์เวย์ เขาเป็นรัฐมนตรีต่างประเทศนอร์เวย์ระหว่างปีวิกฤตของรัฐบาลนอร์เวย์พลัดถิ่นในกรุงลอนดอนตั้งแต่ปี 1940 ถึง 1945 ตั้งแต่ปี 1946 ถึง 1952 เขาเป็นเลขาธิการสหประชาชาติคนแรก ลีมีชื่อเสียงเป็นนักการเมืองที่เน้นการปฏิบัติและเด็ดเดี่ยว.

ใหม่!!: 16 กรกฎาคมและทรีฟ ลี · ดูเพิ่มเติม »

ดาวพฤหัสบดี

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: 16 กรกฎาคมและดาวพฤหัสบดี · ดูเพิ่มเติม »

ดาวหาง

ดาวหางเฮล-บอปป์ ดาวหางเวสต์ ดาวหาง คือ วัตถุชนิดหนึ่งในระบบสุริยะที่โคจรรอบดวงอาทิตย์ มีส่วนที่ระเหิดเป็นแก๊สเมื่อเข้าใกล้ดวงอาทิตย์ ทำให้เกิดชั้นฝุ่นและแก๊สที่ฝ้ามัวล้อมรอบ และทอดเหยียดออกไปภายนอกจนดูเหมือนหาง ซึ่งเป็นปรากฏการณ์จากการแผ่รังสีของดวงอาทิตย์ไปบนนิวเคลียสของดาวหาง นิวเคลียสหรือใจกลางดาวหางเป็น "ก้อนหิมะสกปรก" ประกอบด้วยน้ำแข็ง คาร์บอนไดออกไซด์ มีเทน แอมโมเนีย และมีฝุ่นกับหินแข็งปะปนอยู่ด้วยกัน มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางตั้งแต่ไม่กี่กิโลเมตรไปจนถึงหลายสิบกิโลเมตร คาบการโคจรของดาวหางมีความยาวนานแตกต่างกันได้หลายแบบ ตั้งแต่คาบโคจรเพียงไม่กี่ปี คาบโคจร 50-100 ปี จนถึงหลายร้อยหรือหลายพันปี เชื่อว่าดาวหางบางดวงเคยผ่านเข้ามาในใจกลางระบบสุริยะเพียงครั้งเดียว แล้วเหวี่ยงตัวเองออกไปสู่อวกาศระหว่างดาว ดาวหางที่มีคาบการโคจรสั้นนั้นเชื่อว่าแต่เดิมเป็นส่วนหนึ่งอยู่ในแถบไคเปอร์ที่อยู่เลยวงโคจรของดาวเนปจูนออกไป ส่วนดาวหางที่มีคาบการโคจรยาวอาจมาจากแหล่งอื่น ๆ ที่ไกลจากดวงอาทิตย์ของเรามาก เช่นในกลุ่มเมฆออร์ตซึ่งประกอบด้วยเศษซากที่หลงเหลืออยู่จากการบีบอัดตัวของเนบิวลา ดาวหางเหล่านี้ได้รับแรงโน้มถ่วงรบกวนจากดาวเคราะห์รอบนอก (กรณีของวัตถุในแถบไคเปอร์) จากดวงดาวอื่นใกล้เคียง (กรณีของวัตถุในกลุ่มเมฆออร์ต) หรือจากการชนกัน ทำให้มันเคลื่อนเข้ามาใกล้ดวงอาทิตย์ ดาวเคราะห์น้อยมีกำเนิดจากกระบวนการที่ต่างไปจากนี้ อย่างไรก็ดี ดาวหางที่มีอายุเก่าแก่มากจนกระทั่งส่วนที่สามารถระเหิดเป็นแก๊สได้สูญสลายไปจนหมดก็อาจมีสภาพคล้ายคลึงกับดาวเคราะห์น้อยก็ได้ เชื่อว่าดาวเคราะห์น้อยใกล้โลกหลายดวงเคยเป็นดาวหางมาก่อน นับถึงเดือนพฤษภาคม..

ใหม่!!: 16 กรกฎาคมและดาวหาง · ดูเพิ่มเติม »

ดาวหางชูเมกเกอร์-เลวี 9

วหางชูเมกเกอร์-เลวี 9 โดยกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล เมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2537 ดาวหางชูเมกเกอร์-เลวี 9 (Shoemaker-Levy 9 หรือ SL9; ชื่ออย่างเป็นทางการ D/1993 F2) เป็นดาวหางที่พุ่งเข้าชนดาวพฤหัสบดีในปี พ.ศ. 2537 ซึ่งทำให้สามารถสังเกตการชนระหว่างวัตถุในระบบสุริยะได้โดยตรงเป็นครั้งแรก (ไม่นับการชนที่เกี่ยวกับโลก) เหตุการณ์นี้ได้รับความสนใจอย่างกว้างขวาง มีการเผยแพร่ออกไปทางสื่อต่าง ๆ และนักดาราศาสตร์ทั่วโลกก็มีโอกาสติดตามสังเกตการชนครั้งนี้อย่างใกล้ชิด นอกจากนี้เหตุการณ์ดังกล่าวยังแสดงให้เห็นถึงสภาพบรรยากาศของดาวพฤหัสบดี รวมไปถึงบทบาทของดาวพฤหัสบดีที่คอยกวาดวัตถุในอวกาศที่อยู่ด้านในของระบบสุริยะ แคโรลิน ชูเมกเกอร์ ยูจีน ชูเมกเกอร์ และเดวิด เลวี เป็นนักดาราศาสตร์ที่ค้นพบดาวหางชูเมกเกอร์-เลวี 9 เมื่อคืนวันที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2536 โดยอาศัยกล้องโทรทรรศน์ขนาด 0.4 เมตร ณ หอดูดาวเมาต์พาโลมาร์ในรัฐแคลิฟอร์เนีย เป็นดาวหางดวงแรกที่พบขณะโคจรรอบดาวเคราะห์ ไม่ได้โคจรรอบดวงอาทิตย์Bruton D.,, คำถาม 2.4 ชิ้นส่วนของดาวหางชูเมกเกอร์-เลวี 9 ประกอบด้วยดาวหางจำนวน 21 ชิ้น เคลื่อนที่ไล่ตามกันเหมือนขบวนรถไฟ มีตั้งแต่ขนาดเล็กไปจนถึงเส้นผ่านศูนย์กลาง 2 กิโลเมตร ซึ่งนักดาราศาสตร์เชื่อว่าแรงโน้มถ่วงของดาวพฤหัสบดีได้ฉีกดาวหางแตกออกเป็นชิ้น ๆ ระหว่างการโคจรเข้าใกล้กันเมื่อเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2535 จากนั้นชิ้นส่วนต่าง ๆ ของดาวหางได้พุ่งเข้าชนดาวพฤหัสบดีตรงด้านซีกใต้โดยเกิดขึ้นระหว่างวันที่ 16 กรกฎาคม ถึง 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2537 ด้วยอัตราเร็วประมาณ 60 กิโลเมตร/วินาที เกิดการระเบิดเทียบเท่ากับระเบิดทีเอ็นที 6 ล้านตัน หรือเทียบเท่าระเบิดปรมาณูที่ถล่มฮิโรชิมา 100 ล้านลูก แรงระเบิดมีรัศมีกระจายไปถึง 8,000 กิโลเมตร ทำให้เกิดฝุ่นดาวหางปกคลุมสูงขึ้นมาเหนือเมฆในชั้นบรรยากาศโจเวียนถึง 3,000 กว่ากิโลเมตร เกิดรอยคล้ำบนชั้นบรรยากาศของดาวพฤหัสบดี เห็นได้ชัดเจนต่อเนื่องกันนานเป็นเวลาหลายเดือนหลังจากนั้น.

ใหม่!!: 16 กรกฎาคมและดาวหางชูเมกเกอร์-เลวี 9 · ดูเพิ่มเติม »

ดิษยา กรกชมาศ

ษยา กรกชมาศ (ชื่อเล่น ติว) เกิดเมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม..

ใหม่!!: 16 กรกฎาคมและดิษยา กรกชมาศ · ดูเพิ่มเติม »

ซัดดัม ฮุสเซน

ซัดดัม ฮุสเซน (Saddam Hussein) หรือ ศ็อดดาม ฮุเซน อับดุลมะญีด อัลตีกรีตี (อาหรับ: صدام حسين عبد المجيد التكريتي; ละติน:Ṣaddām Ḥusayn ʿAbd al-Majīd al-Tikrītī; 28 เมษายน พ.ศ. 2480-30 ธันวาคม พ.ศ. 2549) เป็นอดีตประธานาธิบดีของอิรัก ดำรงตำแหน่งตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: 16 กรกฎาคมและซัดดัม ฮุสเซน · ดูเพิ่มเติม »

ปฏิทินสุริยคติ

รัญ 209 Dido ปฏิทินสุริยคติ (อังกฤษ: solar calendar) คือ ปฏิทินที่สอดคล้องกับฤดูกาลและเดคลิเนชันของดวงอาทิตย์ ความยาวนานของปีโดยเฉลี่ยมีค่าใกล้เคียงกับปีฤดูกาล ปฏิทินสุริยคติ ได้แก.

ใหม่!!: 16 กรกฎาคมและปฏิทินสุริยคติ · ดูเพิ่มเติม »

ปฏิทินฮิจเราะห์

ปฏิทินฮิจเราะห์ หรือ ปฏิทินอิสลาม หรือ ปฏิทินมุสลิม (อังกฤษ: Islamic calendar) เป็นระบบปฏิทินจันทรคติ ซึ่งประกอบด้วย 12 เดือนทางจันทรคติ ซึ่งในหนึ่งปีจะมี 354 หรือ 355 วัน ใช้กำหนดวันเหตุการณ์ในหลายประเทศมุสลิม (ควบคู่ไปกับปฏิทินเกรโกเรียน) และใช้โดยมุสลิมทั่วโลกเพื่อกำหนดวันที่เหมาะสมในการเฉลิมฉลองวันสำคัญและเทศกาลในศาสนาอิสลาม ปฏิทินฮิจเราะห์เริ่มนับเมื่อศาสดาแห่งอิสลาม นบีมุฮัมมัดอพยพจากมักกะฮ์ไปยังมะดีนะฮ์ หรือที่รู้จักกันว่า hijra, hijrah ในภาษาอังกฤษ ฮิจเราะห์ศักราชจะถูกระบุโดยใช้ตัวย่อ H หรือ AH อันเป็นตัวย่อของวลีภาษาละติน anno Hegirae (ในปีแห่งฮิจเราะห์) ปัจจุบันอยู่ในฮิจเราะห์ศักราช เนื่องจากปฏิทินฮิจเราะห์เป็นปฏิทินจันทรคติ จึงไม่เกิดขึ้นพร้อมกับฤดูกาล โดยในแต่ละปีมีวันคาดเคลื่อนไปจากปฏิทินเกรโกเรียนอยู่ 11 หรือ 12 วัน ทำให้ฤดูกาลจะกลับมาซ้ำเดิมทุก 33 ปีอิสลาม.

ใหม่!!: 16 กรกฎาคมและปฏิทินฮิจเราะห์ · ดูเพิ่มเติม »

ปฏิทินเกรโกเรียน

ปฏิทินเกรโกเรียน (Gregorian Calendar) เป็นปฏิทินที่ดัดแปลงมาจากปฏิทินจูเลียน ใช้กันแพร่หลายในประเทศตะวันตก ประกาศใช้ครั้งแรกโดยสมเด็จพระสันตะปาปาเกรโกรีที่ 13 เมื่อ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2125 (ค.ศ. 1582) เหตุที่มีการคิดค้นปฏิทินเกรกอเรียนขึ้นใช้แทน เนื่องจากปีในปฏิทินจูเลียน ซึ่งยาวนาน 365.25 วันนั้น มีนานกว่าปีฤดูกาลจริง (365.2425 วัน) อยู่เล็กน้อย ทำให้วันวสันตวิษุวัตของแต่ละปี ขยับเร็วขึ้นทีละน้อย เพื่อที่จะให้วันอีสเตอร์ตรงกับวันที่ 21 มีนาคม (วันวสันตวิษุวัต) จึงจำเป็นต้องปฏิรูปปฏิทิน เนื่องจากสมเด็จพระสันตะปาปาทรงปรับปรุงปฏิทินโดยมีผลย้อนหลัง กำหนดให้ถัดจากวันที่ 4 ตุลาคม..

ใหม่!!: 16 กรกฎาคมและปฏิทินเกรโกเรียน · ดูเพิ่มเติม »

ประธานาธิบดี

ประธานาธิบดี (president) คือตำแหน่งประมุขหรือผู้นำของประเทศที่ปกครองโดยระบอบสาธารณรัฐ ซึ่งประธานาธิบดีจะได้รับตำแหน่งจากการเลือกตั้งในระบอบประชาธิปไตย ปัจจุบันมีหลายประเทศที่มีประธานาธิบดีเป็นประม.

ใหม่!!: 16 กรกฎาคมและประธานาธิบดี · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอิรัก

ประเทศอิรัก (العراق; عێراق อังกฤษ: Iraq) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐอิรัก (جمهورية العراق; كؤماری عێراق) เป็นประเทศในตะวันออกกลาง มีอาณาเขตทางทิศเหนือจดประเทศตุรกี ทางทิศตะวันออกจดประเทศอิหร่าน ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้จดประเทศคูเวต ทางทิศใต้จดประเทศซาอุดีอาระเบีย ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้จดประเทศจอร์แดน และทางทิศตะวันตกจดประเทศซีเรีย กรุงแบกแดด ซึ่งเป็นเมืองหลวง ตั้งอยู่ในกลางประเทศ ราว 97% ของประชากรอิรัก 36 ล้านคนเป็นชาวมุสลิม ส่วนใหญ่มีเชื้อสายซุนนีย์ ชีอะฮ์และเคิร์ด ประเทศอิรักมีแนวชายฝั่งส่วนแคบวัดความยาวได้ 58 กิโลเมตรทางเหนือของอ่าวเปอร์เซีย และอาณาเขตของประเทศครอบคลุมที่ราบลุ่มแม่น้ำเมโสโปเตเมีย ปลายทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของเทือกเขาซากรอส และทะเลทรายซีเรียส่วนตะวันออก สองแม่น้ำหลัก แม่น้ำไทกรีสและยูเฟรตีส ไหลลงใต้ผ่านใจกลางประเทศและไหลลงสู่ชัฏฏุลอะร็อบใกล้อ่าวเปอร์เซีย แม่น้ำเหล่านี้ทำให้ประเทศอิรักมีดินแดนอุดมสมบูรณ์มากมาย ภูมิภาคระหว่างแม่น้ำไทกรีสและยูเฟรตีสมักเรยกว่า เมโสโปเตเมีย และคาดว่าเป็นบ่อเกิดของการเขียนและอารยธรรมเก่าแก่ที่สุดของโลก พื้นที่นี้ยังเป็นที่ตั้งของอารยธรรมที่สืบทอดต่อกันมานับแต่ 6 สหัสวรรษก่อนคริสตกาล ในแต่ละช่วงของประวัติศาสตร์ อิรักเป็นศูนย์กลางของจักรวรรดิอัคคาเดีย ซูเมเรีย อัสซีเรีย และบาบิโลเนีย นอกจากนี้ยังเคยเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิมีเดีย อะคีเมนิด เฮลเลนนิสติก พาร์เธีย แซสซานิด โรมัน รอชิดีน อุมัยยะฮ์ อับบาซียะห์ มองโกล ซาฟาวิด อาฟชาริยะห์และออตโตมัน และเคยเป็นอาณาเขตในอาณัติสันนิบาตชาติภายใต้การควบคุมของอังกฤษ พรมแดนสมัยใหม่ของประเทศอิรักส่วนใหญ่ปักใน..

ใหม่!!: 16 กรกฎาคมและประเทศอิรัก · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเม็กซิโก

ม็กซิโก (Mexico; México) หรือชื่อทางการคือ สหรัฐเม็กซิโก (United Mexican States; Estados Unidos Mexicanos) เป็นประเทศในทวีปอเมริกาเหนือ มีพรมแดนทางทิศเหนือจรดสหรัฐอเมริกา ทิศใต้และทิศตะวันตกจรดมหาสมุทรแปซิฟิก ทิศตะวันออกเฉียงใต้จรดกัวเตมาลา เบลีซ และทะเลแคริบเบียน ส่วนทิศตะวันออกจรดอ่าวเม็กซิโก เนื่องจากครอบคลุมพื้นที่ถึงเกือบ 2 ล้านตารางกิโลเมตร เม็กซิโกจึงเป็นประเทศที่มากที่สุดเป็นอันดับที่ 5 ของทวีปอเมริกา และเป็นอันดับที่ 15 ของโลก นอกจากนี้ยังมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 10 ของโลก โดยมีการประมาณไว้ว่า เมื่อ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2559 ประเทศนี้มีจำนวนประชากร 128,632,000 ล้านคน.

ใหม่!!: 16 กรกฎาคมและประเทศเม็กซิโก · ดูเพิ่มเติม »

ปีอธิกสุรทิน

ปีอธิกสุรทิน (leap year) เป็นปีที่มีการเพิ่มหนึ่งวัน (หรือหนึ่งเดือนในกรณีของปฏิทินสุริยจันทรคติ) เพื่อให้ปีปฏิทินสอดคล้องกับปีดาราศาสตร์หรือปีฤดูกาล เพราะฤดูกาลและเหตุการณ์ทางดาราศาสตร์มิได้เกิดซ้ำในจำนวนเต็มวัน ปฏิทินซึ่งมีจำนวนวันในแต่ละปีเท่าเดิมจึงต้องเลื่อนให้ตรงกับเหตุการณ์ที่ปฏิทินควรจะติดตามเมื่อเวลาผ่านไป โดยการแทรกวันหรือเดือนเพิ่มเข้าไปในปีนั้น การเลื่อนจึงสามารถทำให้ถูกต้องได้ ปีที่มิใช่ปีอธิกสุรทิน เรียกว่า ปีปกติสุรทิน (common year) ตัวอย่างเช่น ในปฏิทินเกรโกเรียน (ปฏิทินสุริยคติสามัญ) เดือนกุมภาพันธ์ในปีอธิกสุรทินมี 29 วัน แทนที่จะมี 28 วันตามปกติ ดังนั้น ปีดังกล่าวจึงมี 366 วัน แทนที่จะมี 365 วันตามปกติ คล้ายกัน ในปฏิทินฮีบรู (ปฏิทินสุริยจันทรคติ) เดือนจันทรคติที่ 13 มีการเพิ่มเจ็ดครั้งทุก 19 ปี เข้าไปในเดือนจันทรคติสิบสองเดือนในปีปกติสุรทินเพื่อให้ปีปฏิทินไม่คาดเคลื่อนจากฤดูกาลเร็วเกินไป.

ใหม่!!: 16 กรกฎาคมและปีอธิกสุรทิน · ดูเพิ่มเติม »

แกเร็ธ เบล

แกเร็ธ แฟรงก์ เบล (Gareth Frank Bale) เกิดเมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม ค.ศ. 1989 ที่คาร์ดิฟฟ์ ในประเทศเวลส์, ประเทศสหราชอาณาจักร เป็นนักฟุตบอล ซึ่งเล่นตำแหน่งแบ็คซ้าย หรือปีกซ้าย ให้กับสโมสรฟุตบอลเรอัลมาดริด สวมเสื้อหมายเลข 11 และ ฟุตบอลทีมชาติเวลส์ เคยอยู่สโมสรฟุตบอลทอตแนมฮ็อตสเปอร์ และยังเป็นนักฟุตบอลที่ได้รางวัลผู้เล่นแห่งปีจากสมาคมนักฟุตบอลอาชีพอังกฤษ ปัจจุบันได้ย้ายไปอยู่กับสโมสรฟุตบอลเรอัลมาดริด ด้วยราคา 85 ล้านปอนด์ เป็นสถิติโลกใหม่ของการซื้อขายนักฟุตบอล แต่ถูกทำลายลงโดยปอล ปอกบาที่ย้ายจากสโมสรฟุตบอลยูเวนตุส สู่สโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ดด้วยค่าตัว 89 ล้านปอนด์ในฤดูกาล 2017–18 เบล เกิดที่คาร์ดิฟฟ์ เมืองหลวงของเวลส์ เป็นลูกชายแฟรงค์ เบล และเป็นหลานชายของ คริส เพคส์ อดีตผู้เล่นของคาร์ดิฟฟ์ซิตี อีกด้วย โดยสมัยที่เจ้าตัวอายุได้ 9 ขวบ เจ้าตัวก็ได้รับความสนใจจากแมวมองของเซาท์แธมป์ตัน จากนั้น เบล ก็เข้าเรียนที่โรงเรียนวิทเชิร์ช ไฮสคูล ในคาร์ดิฟฟ์ที่ซึ่งลงเล่นรักบี้, ฮ็อคกี้ และวิ่งระยะไกล ไปพร้อมกับการเล่นฟุตบอล โดยระหว่างที่เรียนที่วิทเชิร์ช เบลก็ได้ฝึกฝีเท้ากับสถาบันฟุตบอลของทีมเซาแทมป์ตันที่เมืองบาธ ไปด้วยพร้อม ๆ กัน กล่าวกันว่าเมื่อกลับจากโรงเรียนเบลไม่เคยอ้อนวอนพ่อให้เปิดดูการ์ตูนหรือโทรทัศน์ มีแต่อ้อนวอนให้ออกไปเล่นฟุตบอลหน้า 17 ต่อ 20, มนุษย์ (แข้ง) ทองคำ ?. เดลินิวส์ (กีฬา) ฉบับที่ 23,340: เสาร์ที่ 7 กันยายน..

ใหม่!!: 16 กรกฎาคมและแกเร็ธ เบล · ดูเพิ่มเติม »

แลร์รี แซงเจอร์

แลร์รี แซงเจอร์ ลอว์เรนซ์ มาร์ก "แลร์รี" แซงเจอร์ (Lawrence Mark "Larry" Sanger) (16 กรกฎาคม พ.ศ. 2511 —) เคยเป็นผู้จัดเตรียมสารานุกรมออนไลน์หลายเว็บไซต์ รู้จักกันดีในฐานะหนึ่งในผู้ก่อตั้งวิกิพีเดีย แลร์รี แซงเจอร์ เกิดที่เมือง เบลเลวิว รัฐวอชิงตัน และโตที่เมือง แองโคเรจ รัฐอะแลสกา ได้รับปริญญาตรีสาขาปรัชญาที่ มหาวิทยาลัยรีด และปริญญาเอกในสาขาเดิมที่ มหาวิทยาลัยโอไฮโอสเตต หัวข้อวิทยานิพนธ์ปริญญาตรีของเขาชื่อ Descartes' methods and their theoretical background และวิทยานิพนธ์ปริญญาเอกของเขานั้นกล่าวถึง Epistemic Circularity: An Essay on the Problem of Meta-Justification ในวันที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2549 แลร์รีประกาศจะเริ่มโครงการเว็บไซต์สารานุกรมตัวใหม่แยกตัวออกมาจากวิกิพีเดียในชื่อว่า ซิติเซนเดียม.

ใหม่!!: 16 กรกฎาคมและแลร์รี แซงเจอร์ · ดูเพิ่มเติม »

แหลมคะแนเวอรัล

แหลมคะแนเวอรัลจากอวกาศ, สิงหาคม พ.ศ. 2534 แหลมคะแนเวอรัล (Cape Canaveral) เป็นแหลมที่อยู่ในรัฐฟลอริดา ประเทศสหรัฐอเมริกา ด้านชายฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติก เป็นที่ตั้งของศูนย์อวกาศเคนเนดี และยานอวกาศส่วนใหญ่ของสหรัฐถูกส่งขึ้นจากฐานส่งจรวดที่นี่ ในช่วงปี พ.ศ. 2506 ถึง 2519 (ค.ศ. 1963-1976) แหลมคะแนเวอรัลถูกเรียกว่า แหลมเคนเนดี (Cape Kennedy) เพื่อเป็นเกียรติแก่ประธานาธิบดีจอห์น เอฟ. เคนเนดี ที่สนับสนุนด้านอวกาศของสหรัฐเป็นอย่างมาก โดยเมื่อประธานาธิบดีเคนเนดีเสียชีวิตจากการถูกลอบสังหารในปี..

ใหม่!!: 16 กรกฎาคมและแหลมคะแนเวอรัล · ดูเพิ่มเติม »

แฮร์รี แชพิน

แฮร์รี แชพิน (Harry Chapin) เป็นนักแต่งเพลงและนักดนตรีชาวอเมริกัน เพลงนี้ขึ้นสู่ความนิยมอันดับหนึ่งของบิลบอร์ดในเดือนธันวาคม ปี 1974 เพลง Cat's in the Cradle ยอดขายได้เป็นล้านแผ่น และได้รับเสนอชื่อเข้าแข่งขันเป็นเพลงยอดเยี่ยมชิงรางวัลแกรมมี่ กล่าวขวัญกันว่าเป็นเพลงที่ "ทำให้คนที่เป็นพ่อรู้สึกไม่สบายใจมากที่สุดในประวัติศาสตร์" แฮร์รี แชพินเสียชีวิตจากอุบัติเหตุรถยนต์เมื่อ 18 ก..

ใหม่!!: 16 กรกฎาคมและแฮร์รี แชพิน · ดูเพิ่มเติม »

โรอัลด์ อะมุนด์เซน

รอัลด์ อะมุนด์เซน (Roald Amundsen; 16 กรกฎาคม ค.ศ. 1872 – ประมาณ 18 มิถุนายน ค.ศ. 1928) เป็นนักสำรวจชาวนอร์เวย์ และเป็นมนุษย์คนแรกที่ไปถึงขั้วโลกใต้ในวันที่ 14 ธันวาคม ค.ศ. 1911.

ใหม่!!: 16 กรกฎาคมและโรอัลด์ อะมุนด์เซน · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ๒

รงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ๒, เว็บไซต์โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี).

ใหม่!!: 16 กรกฎาคมและโรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ๒ · ดูเพิ่มเติม »

โครงการอะพอลโล

ตราโครงการอะพอลโล โครงการอะพอลโล เป็นโครงการที่ 3 ต่อเนื่องมาจากเมอร์คิวรีและเจมินี มีเป้าหมายสำคัญคือ จะนำมนุษย์ลงไปสำรวจดวงจันทร์ ใช้มนุษย์อวกาศขึ้นไปครั้งละ 3 คน ตัวยานอวกาศประกอบด้วยส่วนสำคัญ 3 ส่วนคือ.

ใหม่!!: 16 กรกฎาคมและโครงการอะพอลโล · ดูเพิ่มเติม »

โครงการแมนฮัตตัน

กรุงลอนดอน โครงการแมนฮัตตัน (Manhattan Project หรือชื่อที่เป็นทางการ Manhattan Engineering District) เป็นความพยายามในการพัฒนาอาวุธนิวเคลียร์ของสหรัฐอเมริกา ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง โดยได้รับความช่วยเหลือจากสหราชอาณาจักรและประเทศแคนาดา การวิจัยนำโดยนักฟิสิกส์ชาวอเมริกัน เจ. โรเบิร์ต ออพเพนไฮเมอร์ และอยู่ใต้การดูแลของนายพล Leslie R. Groves ที่ห้องปฏิบัติการในบริเวณลอสอาลาโมส รัฐนิวเม็กซิโก สืบค้นวันที่ 7 เมษายน..

ใหม่!!: 16 กรกฎาคมและโครงการแมนฮัตตัน · ดูเพิ่มเติม »

ไลท์ฟลายเวท

ลท์ฟลายเวท (Light flyweight) ชื่อน้ำหนักรุ่นมวยที่เล็กเป็นอันดับ 2 ของโลก โดยนักมวยผู้ที่จะชกในพิกัดนี้ ต้องมีน้ำหนักมากกว่า 105 ปอนด์ (47.727 กิโลกรัม) และไม่เกิน 108 ปอนด์ (48.988 กิโลกรัม) ในสถาบันสภามวยโลก (WBC) และมวยสากลสมัครเล่น จะเรียกรุ่นนี้ว่า ไลท์ฟลายเวท ในสถาบันสมาคมมวยโลก (WBA) และสหพันธ์มวยนานาชาติ (IBF) จะเรียกรุ่นนี้ว่า จูเนียร์ฟลายเวท (Junior flyweight) โดยสถาบันแรกที่เริ่มก่อตั้งพิกัดน้ำหนักรุ่นนี้คือ สภามวยโลก (WBC) ในปี ค.ศ. 1975 สำหรับนักมวยไทยที่เคยครองแชมป์โลกในรุ่นนี้ ได้แก่ เนตรน้อย ศ.วรสิงห์, เมืองชัย กิตติเกษม, สมาน ส.จาตุรงค์, พิชิต ช.ศิริวัฒน์, วันดี สิงห์วังชา (เป็นเพียงแชมป์เฉพาะกาล) และ คมพยัคฆ์ ป.ประมุข ในส่วนของมวยสากลสมัครเล่น มีนักมวยไทย 2 คนที่ได้รับเหรียญรางวัลจากการแข่งขันกีฬาโอลิมปิก 2 คน คือ พเยาว์ พูนธรัตน์ ในโอลิมปิก 1976 ที่มอนทรีออล ประเทศแคนาดา ได้รับเหรียญทองแดง และเป็นนักกีฬาคนแรกของไทยด้วยที่ได้รับเหรียญรางวัลโอลิมปิก และ แก้ว พงษ์ประยูร ในโอลิมปิก 2012 ที่กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ ได้รับเหรียญเงิน ในส่วนของนักมวยต่างชาติที่มีชื่อเสียงในพิกัดนี้ ได้แก่ เฟรดดี้ คัสติญโญ, หลุยส์ เอสตาบา, ฮุมเบอร์โต กอนซาเลซ, ไมเคิล คาร์บาฮาล, ชาง จุงกู, เมียง วูยูห์, โยโกะ กูชิเก้น, โรแลนโด ปาสคัว, ลีโอ กาเมซ, โรเซนโด อัลวาเรซ, ริคาร์โด โลเปซ,โรมัน กอนซาเลซ, คะซุโตะ อิโอะกะ และ นะโอะยะ อิโนะอุเอะ เป็นต้น.

ใหม่!!: 16 กรกฎาคมและไลท์ฟลายเวท · ดูเพิ่มเติม »

เซร์ฆิโอ บุสเกตส์

ซร์ฆิโอ บุสเกตส์ บูร์โกส (Sergio Busquets Burgos) หรือ แซร์ฌี (Sergi) เป็นนักฟุตบอลดาวรุ่งชาวสเปนของสโมสรฟุตบอลบาร์เซโลนา ในตำแหน่งกองกลางตัวรับ เขาเป็นบุตรชายของการ์เลส บุสเกตส์ อดีตนายทวารของทีมช่วงยุคทศวรรษที่ 90.

ใหม่!!: 16 กรกฎาคมและเซร์ฆิโอ บุสเกตส์ · ดูเพิ่มเติม »

18 มิถุนายน

วันที่ 18 มิถุนายน เป็นวันที่ 169 ของปี (วันที่ 170 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 196 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: 16 กรกฎาคมและ18 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

23 กุมภาพันธ์

วันที่ 23 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 54 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 311 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: 16 กรกฎาคมและ23 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

25 พฤศจิกายน

วันที่ 25 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 329 ของปี (วันที่ 330 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 36 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: 16 กรกฎาคมและ25 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

30 ธันวาคม

วันที่ 30 ธันวาคม เป็นวันที่ 364 ของปี (วันที่ 365 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 1 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: 16 กรกฎาคมและ30 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

4 กุมภาพันธ์

วันที่ 4 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 35 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 330 วันในปีนั้น (331 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: 16 กรกฎาคมและ4 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

7 ธันวาคม

วันที่ 7 ธันวาคม เป็นวันที่ 341 ของปี (วันที่ 342 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 24 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: 16 กรกฎาคมและ7 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

16 ก.ค.๑๖ กรกฎาคม

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »