สารบัญ
42 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2444การเสกสมรสระหว่างราชวงศ์ยุทธการที่แม่น้ำลิส (ค.ศ. 1940)ยุทธการที่เบลเยียมรายชื่อธงในประเทศเบลเยียมรายพระนามพระมหากษัตริย์เบลเยียมรายพระนามคู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์เบลเยียมรายพระนามคู่อภิเษกสมรสในพระประมุขแห่งลักเซมเบิร์กรายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.ลิเลียง เจ้าหญิงแห่งเรธีสมเด็จพระราชาธิบดีฟีลิปแห่งเบลเยียมสมเด็จพระราชาธิบดีอัลแบร์ที่ 2 แห่งเบลเยียมสมเด็จพระราชาธิบดีโบดวงแห่งเบลเยียมสมเด็จพระราชินีอัสตริดแห่งเบลเยียมสมเด็จพระราชินีนาถเบียทริกซ์แห่งเนเธอร์แลนด์สมเด็จพระเจ้าอัลแบร์ที่ 1 แห่งเบลเยียมอาร์ชดัชเชสมารี-อัสทรีดแห่งออสเตรียผู้นำฝ่ายสัมพันธมิตรระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองดยุกแห่งบราบันต์ซัคเซิน-โคบูร์กและโกทาประเทศเบลเยียมใน ค.ศ. 1934นายกรัฐมนตรีเบลเยียมแกรนด์ดยุกอ็องรีแห่งลักเซมเบิร์กแกรนด์ดัชเชสโฌเซฟีน-ชาร์ล็อตแห่งลักเซมเบิร์กแนวรบด้านตะวันตก (สงครามโลกครั้งที่สอง)เบลเยียมในสงครามโลกครั้งที่สองเบลเจียนคองโกเอลิซาเบธแห่งบาวาเรีย สมเด็จพระราชินีแห่งเบลเยียมเจ้าชายชาลส์ เคานต์แห่งฟลานเดอร์เจ้าชายกาบรีแยลแห่งเบลเยียมเจ้าชายกีโยมแห่งลักเซมเบิร์กเจ้าชายอาแล็กซ็องดร์แห่งเบลเยียมเจ้าชายแอมานุแอลแห่งเบลเยียมเจ้าชายโลร็องแห่งเบลเยียมเจ้าชายเลโอโปลด์ ดยุกแห่งบราบันต์เจ้าหญิงมารี-คริสตินแห่งเบลเยียมเจ้าหญิงมารี-แอ็สเมราลดาแห่งเบลเยียมเจ้าหญิงอัสตริดแห่งเบลเยียม อาร์ชดัชเชสแห่งออสเตรีย-เอสเตเจ้าหญิงเลอาแห่งเบลเยียมเจ้าหญิงเอลีซาแบ็ต ดัชเชสแห่งบราบันต์เจ้าหญิงเอเลออนอร์แห่งเบลเยียมเคานต์แห่งแอโน
พ.ศ. 2444
ทธศักราช 2444 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1901 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียมและพ.ศ. 2444
การเสกสมรสระหว่างราชวงศ์
250px 250px การเสกสมรสระหว่างราชวงศ์ (royal intermarriage) คือการแต่งงานระหว่างสมาชิกของราชวงศ์ผู้ปกครองสองราชวงศ์ ซึ่งในอดีตถือเป็นยุทโธบายทางการทูตที่ใช้กันโดยทั่วไปเพื่อผลประโยชน์ของชาติ ในบางครั้งการเสกสมรสนี้เกิดขึ้นด้วยการบังคับใช้กระบวนการทางกฎหมายต่อบุคคลผู้สืบเชื้อสายราชวงศ์ และในหลาย ๆ ครั้งเกี่ยวข้องกับนโยบายทางการเมืองและ/หรือขนบธรรมเนียมของระบอบราชาธิปไตยเสียเป็นส่วนใหญ่ ในทวีปยุโรป การเสกสมรสในลักษณะนี้เป็นที่แพร่หลายอย่างมาก โดยเฉพาะในช่วงตั้งแต่สมัยกลางจนกระทั่งสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ในขณะที่หลักฐานของการเสกสมรสระหว่างราชวงศ์ในส่วนอื่น ๆ ของโลก สามารถสืบค้นย้อนไปได้ไกลที่สุดถึงยุคสัมฤทธิ์ ซึ่งบ่อยครั้งที่พระมหากษัตริย์ในอดีตมักจะพยายามแผ่ขยายราชวงศ์ของพระองค์ออกไปทั้งในและนอกประเทศ ดังนั้นสายสัมพันธ์ทางเครือญาติซึ่งเกิดจากการเสกสมรสนี้ จึงเป็นปัจจัยที่ช่วยทั้งกระตุ้นและยับยั้งความขัดแย้งและการรุกรานระหว่างรัฐBucholz, p.228 ทั้งยังช่วยริเริ่ม ส่งเสริม และรับประกันสันติภาพระหว่างรัฐได้อีกด้วย นอกจากนี้สายสัมพันธ์ทางเครือญาติจากการเสกสมรสยังสามารถรักษามิตรไมตรีของสองราชวงศ์ ที่ต่างพยายามหลีกเลี่ยงภัยคุกคามจากการรุกรานและความขัดแย้งอันมีชนวนเหตุมาจากการยุยงของราชวงศ์ที่สาม พร้อมเสริมสร้างโอกาสที่จะผนวกรวมดินแดนเข้าเป็นส่วนหนึ่งของตนจากการอ้างสิทธิ์ทางกฎหมายเหนือราชบัลลังก์ หรือแม้กระทั่งการอ้างสิทธิ์เหนือส่วนหนึ่งของรัฐ เช่น อาณานิคม ผ่านการรับช่วงสืบทอดอำนาจการปกครองในกรณีที่รัฐนั้นเกิดปัญหาไร้รัชทายาทสืบทอดราชบัลลังก์ หรือในกรณีที่พระมหากษัตริย์องค์ก่อนหน้าไม่มีรัชทายาทเพศชายไว้สืบทอดราชสมบัติโดยปราศจากข้อกังขาได้ ในบางส่วนของทวีปยุโรป ราชวงศ์ต่าง ๆ ยังคงนิยมเสกสมรสระหว่างกันเป็นปกติ (สมาชิกราชวงศ์เสกสมรสกับตระกูลขุนนางต่าง ๆ ภายในรัฐ) ไปจนกระทั่งคริสต์ศตวรรษที่ 16 และนับแต่นั้นเป็นต้นมา จึงเริ่มหันมานิยมการเสกสมรสระหว่างราชวงศ์ของรัฐอธิปไตยต่าง ๆ มากขึ้น แต่ในส่วนอื่น ๆ ของโลก การเสกสมรสเช่นนี้กลับได้รับความนิยมน้อยกว่ามากและเริ่มลดจำนวนลงตามกาลเวลาที่ผ่านไป หรือแปรเปลี่ยนไปตามขนบธรรมเนียมและนโยบายการต่างประเทศในขณะนั้น.
ดู สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียมและการเสกสมรสระหว่างราชวงศ์
ยุทธการที่แม่น้ำลิส (ค.ศ. 1940)
ทธการที่แม่น้ำลิส (Bataille de la Lys; Leieslag) เป็นการสู้รบที่สำคัญระหว่างเบลเยียมกับกองทัพเยอรมันในช่วงระหว่างการรุกรานเบลเยียมของเยอรมันในปี..
ดู สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียมและยุทธการที่แม่น้ำลิส (ค.ศ. 1940)
ยุทธการที่เบลเยียม
ทธการที่เบลเยียมหรือการทัพเบลเยียม,มักเรียกกันภายในของประเทศเบลเยียมว่า การทัพ 18 วัน (Campagne des 18 jours, Achttiendaagse Veldtocht) เป็นส่วนหนึ่งของยุทธการที่ฝรั่งเศส,การทัพรุกรานโดยเยอรมันในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง.มันเกิดขึ้นในช่วงเพียง 18 วันในเดือนพฤษภาคม ปี 1940 และสิ้นสุดลงด้วยเบลเยียมถูกยึดครองโดยเยอรมันภายหลังจากการยอมจำนนของกองทัพเบลเยียม.
ดู สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียมและยุทธการที่เบลเยียม
รายชื่อธงในประเทศเบลเยียม
นื้อหาต่อไปนี้ว่าด้วยธงประเภทต่างๆ ที่มีการใช้ในราชอาณาจักรเบลเยียม.
ดู สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียมและรายชื่อธงในประเทศเบลเยียม
รายพระนามพระมหากษัตริย์เบลเยียม
ราชอาณาจักรเบลเยียม เริ่มก่อตั้งเมื่อปี..
ดู สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียมและรายพระนามพระมหากษัตริย์เบลเยียม
รายพระนามคู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์เบลเยียม
คู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์แห่งเบลเยียม จากราชวงศ์ซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา นับตั้งแต่สมเด็จพระราชาธิบดีเลโอโปลด์ที่ 1 จนถึงรัชกาลของสมเด็จพระราชาธิบดีอัลแบร์ที่ 2 จะดำรงพระอิสริยยศที่ สมเด็จพระราชินี ทุกพระองค์ แต่ในรัชกาลของสมเด็จพระราชาธิบดีเลโอโปลด์ที่ 3 ได้อภิเษกสมรสครั้งที่สองกับลิเลียน บาเอลส์ ซึ่งเธอมิได้ดำรงตำแหน่งที่ สมเด็จพระราชินี หากแต่ดำรงพระอิสริยยศเป็น เจ้าหญิงแห่งเรธี (Princess of Réthy) บ หมวดหมู่:ราชวงศ์ซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา.
ดู สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียมและรายพระนามคู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์เบลเยียม
รายพระนามคู่อภิเษกสมรสในพระประมุขแห่งลักเซมเบิร์ก
รายพระนามคู่อภิเษกสมรสในพระประมุขแห่งลักเซมเบิร์ก.
ดู สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียมและรายพระนามคู่อภิเษกสมรสในพระประมุขแห่งลักเซมเบิร์ก
รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.
รื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์ เครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์ (The Most Illustrious Order of the Royal House of Chakri) มีอักษรย่อว่า ม..ก.
ดู สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียมและรายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.
ลิเลียง เจ้าหญิงแห่งเรธี
้าหญิงลิเลียงแห่งเบลเยียม (พระนามเดิม:แมรี ลิเลียง บาเอลส์, 28 พฤศจิกายน 2459 – 7 มิถุนายน 2545) หรือรู้จักกันในพระนาม ลิเลียง เจ้าหญิงแห่งเรธี เป็นพระชายาพระองค์ที่สองในสมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียม ลิเลียงประสูติเมื่อวันที่ 28 พฤศจิกายน..
ดู สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียมและลิเลียง เจ้าหญิงแห่งเรธี
สมเด็จพระราชาธิบดีฟีลิปแห่งเบลเยียม
มเด็จพระราชาธิบดีฟีลิปแห่งเบลเยียม (การออกเสียงภาษาอื่น: His Majesty King Philippe of the Belgians; Sa Majesté le Roi Philippe des Belges; Zijne Majesteit de Koning Filip der Belgen; Seine Majestät der König Philipp der Belgier, เสด็จพระราชสมภพ 15 เมษายน ค.ศ.
ดู สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียมและสมเด็จพระราชาธิบดีฟีลิปแห่งเบลเยียม
สมเด็จพระราชาธิบดีอัลแบร์ที่ 2 แห่งเบลเยียม
มเด็จพระราชาธิบดีอัลแบร์ที่ 2 แห่งชาวเบลเยียม หรือ พระเจ้าอัลเบิร์ตที่ 2 (Albert Félix Humbert Théodore Christian Eugène Marie, ดัตช์: Albert Felix Humbert Theodoor Christiaan Eugène Marie) เป็นพระมหากษัตริย์พระองค์ที่หก และเป็นพระราชบิดาของพระมหากษัตริย์องค์ปัจจุบันของประเทศเบลเยียม ทรงครองราชย์ตั้งแต่ 9 สิงหาคม พ.ศ.
ดู สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียมและสมเด็จพระราชาธิบดีอัลแบร์ที่ 2 แห่งเบลเยียม
สมเด็จพระราชาธิบดีโบดวงแห่งเบลเยียม
มเด็จพระราชาธิบดีโบดวงที่ 1 แห่งเบลเยียม (Boudewijn Albert Karel Leopold Axel Marie Gustaaf van België ˈbʌu̯dəˌʋɛi̯n ˈɑlbərt ˈkaːrəl ˈleˑjoˑˌpɔlt ˈɑksəl maˑˈri ɣʏsˈtaˑf vɑn ˈbɛlɣijə, Baudouin Albert Charles Léopold Axel Marie Gustave de Belgique bodwɛ̃ albɛʁ ʃaʁl leopɔld aksɛl maʁi ɡystav də bɛlʒik; 7 กันยายน 1930 – 31 กรกฎาคม 1993) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรเบลเยียม หลังจากการสละราชสมบัติของพระราชบิดาในปี..
ดู สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียมและสมเด็จพระราชาธิบดีโบดวงแห่งเบลเยียม
สมเด็จพระราชินีอัสตริดแห่งเบลเยียม
้าหญิงอัสตริดแห่งสวีเดน (Princess Astrid of Sweden พระนามเต็ม อัสตริด โซเฟีย โลวิซา ธือรา; 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2448 - 29 สิงหาคม พ.ศ. 2478) เป็นพระมเหสีของสมเด็จพระราชาธิบดีเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียม และพระราชนัดดาในสมเด็จพระราชาธิบดีออสการ์ที่ 2 แห่งสวีเดน โดยทรงเกี่ยวข้องเป็นพระอัยยิกาในฝ่ายพระชนกในสมเด็จพระราชาธิบดีคาร์ลที่ 16 กุสตาฟแห่งสวีเดน เนื่องจากทรงมีศักดิ์เป็นพระญาติชั้นที่สองในเจ้าชายกุสตาฟ อดอล์ฟแห่งสวีเดน ดยุคแห่งวาสเตอร์บ็อตเต็น และเป็นพระราชชนนีของกษัตริย์แห่งเบลเยียมสองพระองค์คือ สมเด็จพระราชาธิบดีโบดวง และ สมเด็จพระราชาธิบดีอัลแบร์ที่ 2 อีกด้วย เจ้าหญิงประสูติในวันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ.
ดู สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียมและสมเด็จพระราชินีอัสตริดแห่งเบลเยียม
สมเด็จพระราชินีนาถเบียทริกซ์แห่งเนเธอร์แลนด์
้าหญิงเบียทริกซ์แห่งเนเธอร์แลนด์ (31 มกราคม พ.ศ. 2481) หรือพระนามเต็มว่า เบียทริกซ์ วิลเฮลมินา อาร์มการ์ด (Beatrix Wilhelmina Armgard) หรือเดิมคือ สมเด็จพระราชินีนาถเบียทริกซ์แห่งเนเธอร์แลนด์ (Beatrix der Nederlanden) อดีตสมเด็จพระราชินีนาถแห่งเนเธอร์แลนด์ ครองราชสมบัติตั้งแต่วันที่ 30 เมษายน..
ดู สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียมและสมเด็จพระราชินีนาถเบียทริกซ์แห่งเนเธอร์แลนด์
สมเด็จพระเจ้าอัลแบร์ที่ 1 แห่งเบลเยียม
มเด็จพระเจ้าอัลแบร์ที่ 1 (8 เมษายน ค.ศ. 1875 - 17 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1934) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งชาวเบลเยียมตั้งแต่ปีค.ศ. 1909 ถึงค.ศ.
ดู สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียมและสมเด็จพระเจ้าอัลแบร์ที่ 1 แห่งเบลเยียม
อาร์ชดัชเชสมารี-อัสทรีดแห่งออสเตรีย
อาร์ชดัชเชสมาเรีย-อัสตริสแห่งออสเตรีย (เดิม:เจ้าหญิงมาเรีย-อัสตริสแห่งลักเซมเบิร์ก) ทรงเป็นพระธิดาพระองค์ใหญ่ใน แกรนด์ดยุกฌ็องแห่งลักเซมเบิร์ก กับ แกรนด์ดัชเชสโฌเซฟีน-ชาร์ล็อตแห่งลักเซมเบิร์ก ทรงเป็นพระราชนัดดาใน พระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งชาวเบลเบียม และ สมเด็จพระราชินีอัสตริดแห่งเบลเยียม ผ่านทางสายพระมารดา พระองค์ทรงมีพระอนุชาและพระขนิษฐา 3 พระองค์คือ แกรนด์ดยุกอ็องรีแห่งลักเซมเบิร์ก เจ้าหญิงมาร์กาเรธาแห่งลิกเตนสไตน์ เจ้าชายฌ็องแห่งลักเซมเบิร์ก พระองค์เสกสมรสกับ อาร์ชดยุกคาร์ล-คริสเตียนแห่งออสเตรีย มีพระบุตร 4 พระอง.
ดู สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียมและอาร์ชดัชเชสมารี-อัสทรีดแห่งออสเตรีย
ผู้นำฝ่ายสัมพันธมิตรระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง
"สามผู้ยิ่งใหญ่": โจเซฟ สตาลิน แฟรงกลิน ดี. โรสเวลต์และวินสตัน เชอร์ชิลล์ ในการประชุมเตหะราน เมื่อ ค.ศ. 1943 ผู้นำฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สอง ประกอบไปด้วยบุคคลสำคัญต่าง ๆ จากหลาย ๆ ประเทศ ทั้งนักการเมืองและนักการทหาร บรรดาบุคคลเหล่านี้ได้แก.
ดู สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียมและผู้นำฝ่ายสัมพันธมิตรระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง
ดยุกแห่งบราบันต์
กแห่งบราบันต์ หรือ ดยุกแห่งบราบ็อง (Duke of Brabant) เป็นบรรดาศักดิ์ที่จักรพรรดิฟรีดริชที่ 1 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ทรงสถาปนาให้แก่อ็องที่ 1 โอรสของก็อดฟรีที่ 3 เคานต์แห่งลูแวง (ซึ่งเป็นดยุกแห่งโลธารินเจีย อีกบรรดาศักดิ์หนึ่งด้วย) ซึ่งดัชชีบราบันต์นั้นถูกสถาปนาขึ้นราวปี..
ดู สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียมและดยุกแห่งบราบันต์
ซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา
ซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา (Sachsen-Coburg und Gotha; Saxe-Coburg and Gotha) เป็นชื่อของดัชชีเยอรมันสองรัฐคือ ซัคเซิน-โคบูร์ก และ ซัคเซิน-โกทา ที่ตั้งอยู่ในประเทศเยอรมนี บริเวณรัฐบาวาเรียและรัฐเทือริงเงินปัจจุบัน ซึ่งเข้ามารวมเป็นรัฐเดียวกันในระหว่างปี พ.ศ.
ดู สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียมและซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา
ประเทศเบลเยียมใน ค.ศ. 1934
หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1934 ในประเทศเบลเยียม.
ดู สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียมและประเทศเบลเยียมใน ค.ศ. 1934
นายกรัฐมนตรีเบลเยียม
นายกรัฐมนตรีแห่งราชอาณาจักรเบลเยียม (Premier Ministre du Royaume de Belgique, Eerste Minister van het Koninkrijk België, Premierminister des Königreichs Belgien) เป็นตำแหน่งหัวหน้ารัฐบาลกลางของประเทศเบลเยียม โดยรัฐธรรมนูญกำหนดให้นายกรัฐมนตรีต้องเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และมาจากการเลือกตั้งโดยเสียงข้างมากในรัฐสภากลาง แต่งตั้งโดยพระมหากษัตริย์แห่งเบลเยียม.
ดู สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียมและนายกรัฐมนตรีเบลเยียม
แกรนด์ดยุกอ็องรีแห่งลักเซมเบิร์ก
แกรนด์ดยุกอ็องรีแห่งราชรัฐลักเซมเบิร์ก (16 เมษายน พ.ศ. 2498-) เป็นพระโอรสพระองค์แรกในแกรนด์ดยุกฌ็องและแกรนด์ดัชเชสโฌเซฟีน-ชาร์ล็อตแห่งลักเซมเบิร์ก เป็นพระราชนัดดาใน สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียม เป็นพระภาคิไนยใน สมเด็จพระราชาธิบดีอัลแบร์ที่ 2 แห่งเบลเยียม ขึ้นครองราชย์เมื่อวันที่ 7 ตุลาคม พ.ศ.
ดู สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียมและแกรนด์ดยุกอ็องรีแห่งลักเซมเบิร์ก
แกรนด์ดัชเชสโฌเซฟีน-ชาร์ล็อตแห่งลักเซมเบิร์ก
้าหญิงโฌเซฟีน-ชาร์ล็อตแห่งเบลเยียม (Princess Joséphine-Charlotte of Belgium พระนามเต็ม โจเซฟีน-ชาร์ล็อต อินเกบอร์ก เอลิซาเบธ มารี-โจเซ มาร์เกอริต แอสตริด; 11 ตุลาคม พ.ศ.
ดู สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียมและแกรนด์ดัชเชสโฌเซฟีน-ชาร์ล็อตแห่งลักเซมเบิร์ก
แนวรบด้านตะวันตก (สงครามโลกครั้งที่สอง)
แนวรบด้านตะวันตก ของการสู้รบบนภาคพื้นทวีปยุโรปในสงครามโลกครั้งที่สองโอบล้อมบริเวณพื้นที่ตั้งแต่เดนมาร์ก นอร์เวย์ ลักเซมเบิร์ก เบลเยียม เนเธอร์แลนด์ สหราชอาณาจักร ฝรั่งเศส และภาคตะวันตกของเยอรมนี ปฏิบัติการทางทหารในสงครามโลกครั้งที่สองบริเวณยุโรปตอนใต้และบริเวณอื่นๆ ถูกจัดว่าไม่เกี่ยวกับแนวรบด้านตะวันตกนี้ การต่อสู้ในแนวรบด้านตะวันตกถูกแบ่งโดยปฏิบัติการสู้รบครั้งใหญ่ๆ ด้วยกันสองครั้ง คือ ช่วงแรกที่เนเธอร์แลนด์ เบลเยียม และฝรั่งเศส ยอมจำนนต่อกองทัพนาซีเยอรมนีในช่วงเดือนพฤษภาคมและมิถุนายน ค.ศ.
ดู สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียมและแนวรบด้านตะวันตก (สงครามโลกครั้งที่สอง)
เบลเยียมในสงครามโลกครั้งที่สอง
ระบรมราชวัง ใน บรัสเซลส์,ปี ค.ศ. 1940 แม้ว่าจะได้ตั้งตัวเป็นกลางไม่ยุ่งเกี่ยวสงคราม เมื่อสงครามโลกครั้งที่สองได้เริ่มต้นขึ้น เบลเยียมและเขตอาณานิคมของตนต้องพบว่าได้ตกอยู่ในภาวะสงครามภายหลังจากการรุกรานยึดครองประเทศโดยกองทัพเยอรมัน เมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม..1940 ภายหลัง 18 วัน ของการสู้รบต่อสู้ที่ซึ่งกองทัพเบลเยียมได้ถูกผลักดันกลับจนกระทั่งถูกโอบล้อมขนาดเล็กในทางตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศ กองทัพเบลเยียมได้ยอมจำนนต่อเยอรมัน เป็นการเริ่มต้นของการยึดครองที่จะต้องอดทนจนกระทั่งปี..
ดู สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียมและเบลเยียมในสงครามโลกครั้งที่สอง
เบลเจียนคองโก
ลเจียนคองโก (Belgian Congo; Congo Belge; ดัตช์) เป็นชื่อทางการในอดีตของสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก (DRC) ในปัจจุบัน เป็นช่วงระหว่างที่พระเจ้าเลออปอลที่ 2 แห่งเบลเยียมทรงปลดปล่อยการควบคุมดินแดนในฐานะดินแดนส่วนพระองค์ให้กับราชอาณาจักรเบลเยียมเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน..
ดู สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียมและเบลเจียนคองโก
เอลิซาเบธแห่งบาวาเรีย สมเด็จพระราชินีแห่งเบลเยียม
ัชเชสอลิซาเบธแห่งบาวาเรีย (พระนามเต็มเมื่อประสูติ: อลิซาเบธ กาบรีเอล วาเลรี มารี ดัชเชสแห่งบาวาเรีย) (ประสูติเมื่อ 25 กรกฎาคม ค.ศ.
ดู สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียมและเอลิซาเบธแห่งบาวาเรีย สมเด็จพระราชินีแห่งเบลเยียม
เจ้าชายชาลส์ เคานต์แห่งฟลานเดอร์
้าชายชาลส์ เคานต์แห่งฟลานเดอร์ (ประสูติ 10 ตุลาคม ค.ศ. 1903; สิ้นพระชนม์ 1 เมษายน ค.ศ. 1983) เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่สองของสมเด็จพระราชาธิบดีอัลแบร์ที่ 1 กับสมเด็จพระราชินีอลิซาเบธ ประสูติที่กรุงบรัสเซลส์ พระองค์ทรงปฏิบัติหน้าที่เป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระเชษฐา สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 ตั้งแต่ปี..
ดู สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียมและเจ้าชายชาลส์ เคานต์แห่งฟลานเดอร์
เจ้าชายกาบรีแยลแห่งเบลเยียม
้าชายกาบรีแยลแห่งเบลเยียม (พระนามเต็ม: กาบรีแยล โบดวง ชาลส์ มารี, Gabriel Baudouin Charles Marie, Gabriël Boudewijn Karel Maria; ประสูติ: 20 สิงหาคม พ.ศ.
ดู สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียมและเจ้าชายกาบรีแยลแห่งเบลเยียม
เจ้าชายกีโยมแห่งลักเซมเบิร์ก
้าชายกีโยมแห่งลักเซมเบิร์ก เป็นพระโอรสพระองค์เล็กใน แกรนด์ดยุกฌ็องแห่งลักเซมเบิร์ก กับ แกรนด์ดัชเชสโฌเซฟีน-ชาร์ล็อตแห่งลักเซมเบิร์ก พระองค์เป็นพระอนุชาใน แกรนด์ดยุกอ็องรีแห่งลักเซมเบิร์ก ทรงเป็นพระราชนัดดาใน สมเด็จพระราชาธิบดีเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียม ผ่านทางสายพระราชมารดา พระองค์เสกสมรสกับ นางสาวซิบิลลา ซานดรา วอลเลอร์ ทอรโลเนีย พระนัดดาใน เจ้าหญิงเบียทริซแห่งสเปน และเป็นพระราชปนัดดาใน พระเจ้าอัลฟองโซที่ 13 แห่งสเปน และ วิกตอเรีย ยูจีนีแห่งบัทเทนแบร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งสเปน รับพระราชทานพระอิสริยยศ เจ้าหญิงแห่งลักเซมเบิร์ก มีพระโอรส-ธิดารวม 3 พระอง.
ดู สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียมและเจ้าชายกีโยมแห่งลักเซมเบิร์ก
เจ้าชายอาแล็กซ็องดร์แห่งเบลเยียม
้าชายอาแล็กซ็องดร์แห่งเบลเยียม เป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระราชาธิบดีเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียม กับพระวรชายาพระองค์ที่ 2 ลิเลียง เจ้าหญิงแห่งเรธี พระองค์มีศักดิ์เป็นพระราชอนุชาต่างพระราชมารดาใน สมเด็จพระราชาธิบดีอัลแบร์ที่ 2 แห่งเบลเยียม และมีศักดิ์เป็นพระราชปิตุลาใน สมเด็จพระราชาธิบดีฟีลิปแห่งเบลเยียม พระองค์อภิเษกสมรสกับ เจ้าหญิงเลอาแห่งเบลเยียม แต่พระองค์ไม่มีโอรส-.
ดู สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียมและเจ้าชายอาแล็กซ็องดร์แห่งเบลเยียม
เจ้าชายแอมานุแอลแห่งเบลเยียม
้าชายแอมานุแอลแห่งเบลเยียม (พระนามเต็ม: แอมานุแอล เลโอโปลด์ ฟร็องซัว มารี, Emmanuel Léopold Guillaume François Marie; ประสูติ: 4 ตุลาคม พ.ศ.
ดู สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียมและเจ้าชายแอมานุแอลแห่งเบลเยียม
เจ้าชายโลร็องแห่งเบลเยียม
้าชายโลร็องแห่งเบลเยียม (พระนามเต็ม: โลร็อง เบอนัว โบดวง มารี, Laurent Benoît Baudouin Marie de Belgique, Laurens Benedikt Boudewijn Maria van België) ประสูติเมื่อวันที่ 19 ตุลาคม ค.ศ.
ดู สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียมและเจ้าชายโลร็องแห่งเบลเยียม
เจ้าชายเลโอโปลด์ ดยุกแห่งบราบันต์
้าชายเลโอโปลด์แห่งเบลเยียม ดยุกแห่งบราบันต์ เคานท์แห่งแอโน (Prince Leopold of Belgium, Duke of Brabant, Count of Hainaut) (12 มิถุนายน ค.ศ. 1859 - 12 มิถุนายน ค.ศ.
ดู สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียมและเจ้าชายเลโอโปลด์ ดยุกแห่งบราบันต์
เจ้าหญิงมารี-คริสตินแห่งเบลเยียม
้าหญิงมารี-คริสตินแห่งเบลเยียม เป็นพระราชธิดาในสมเด็จพระราชาธิบดีเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียม กับพระวรชายาพระองค์ที่ 2 ลิเลียง เจ้าหญิงแห่งเรธี พระองค์มีศักดิ์เป็นพระราชขนิษฐาต่างพระราชมารดาใน สมเด็จพระราชาธิบดีอัลแบร์ที่ 2 แห่งเบลเยียม และมีศักดิ์เป็นพระราชปิตุจฉาใน สมเด็จพระราชาธิบดีฟีลิปแห่งเบลเยียม พระองค์อภิเษกสมรสจำนวน 2 ครั้ง แต่จากการสมรสทั้ง 2ครั้ง พระองค์ไม่มีโอรส-ธิดา พระองค์จัดอยูในลำดับที่ 16 ในลำดับการสืบราชสันตติวงศ์เบลเยียม.
ดู สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียมและเจ้าหญิงมารี-คริสตินแห่งเบลเยียม
เจ้าหญิงมารี-แอ็สเมราลดาแห่งเบลเยียม
้าหญิงมารี-แอ็สเมราลดาแห่งเบลเยียม (พระนามเต็ม: มารี-แอ็สเมราลดา อาเดอแลด ลีลีย็อง อานา เลออปอลดีน, Marie-Esméralda Adelaide Lilian Anna Léopoldine) ประสูติเมื่อวันที่ 30 กันยายน ค.ศ.
ดู สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียมและเจ้าหญิงมารี-แอ็สเมราลดาแห่งเบลเยียม
เจ้าหญิงอัสตริดแห่งเบลเยียม อาร์ชดัชเชสแห่งออสเตรีย-เอสเต
้าหญิงอัสตริดแห่งเบลเยียม อาร์ชดัชเชสแห่งออสเตรีย-เอสเต (พระนามเต็ม: อัสตริด โจเซฟิน-ชาร์ลอต ฟาบรีเซีย เอลิซาเบธ เปาลา มารี, Astrid Joséphine-Charlotte Fabrizia Elisabeth Paola Marie) ประสูติเมื่อวันที่ 5 มิถุนายน พ.ศ.
ดู สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียมและเจ้าหญิงอัสตริดแห่งเบลเยียม อาร์ชดัชเชสแห่งออสเตรีย-เอสเต
เจ้าหญิงเลอาแห่งเบลเยียม
้าหญิงเลอาแห่งเบลเยียม พระนามเดิม เลอา อิงกา ดอรา โวลมัน (Léa Inga Dora Wolman; ประสูติ 6 กุมภาพันธ์ 2494) พระชายาในเจ้าชายอาแล็กซ็องดร์แห่งเบลเยียม พระราชโอรสในสมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 กับเจ้าหญิงลิเลียงแห่งเรธี.
ดู สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียมและเจ้าหญิงเลอาแห่งเบลเยียม
เจ้าหญิงเอลีซาแบ็ต ดัชเชสแห่งบราบันต์
้าหญิงเอลีซาแบ็ต เตแรซ มารี เอแลน ดัชเชสแห่งบราบันต์ (Élisabeth Thérèse Marie Hélène, Elisabeth Theresia Maria Helena.; 25 ตุลาคม พ.ศ. 2544) เป็นรัชทายาทในราชบัลลังก์เบลเยียม เป็นพระราชธิดาพระองค์ใหญ่ในสมเด็จพระราชาธิบดีฟิลิปแห่งเบลเยียมและสมเด็จพระราชินีมาตีลด์แห่งเบลเยียม มีพระอิสริยยศเป็น "ดัชเชสแห่งบราบันต์" หลังจากที่สมเด็จพระราชาธิบดีอัลแบร์ที่ 2 แห่งเบลเยียม พระอัยกาธิราชของพระองค์ทรงสละราชสมบัติ โดยมีพระราชบิดาของพระองค์สืบราชสมบัติเมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม 2013.
ดู สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียมและเจ้าหญิงเอลีซาแบ็ต ดัชเชสแห่งบราบันต์
เจ้าหญิงเอเลออนอร์แห่งเบลเยียม
้าหญิงเอเลออนอร์แห่งเบลเยียม (พระนามเต็ม: เอเลออนอร์ ฟาบิโอลา วิกตอเรีย แอน มารี, Eléonore Fabiola Victoria Anne Marie; ประสูติ: 16 เมษายน พ.ศ.
ดู สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียมและเจ้าหญิงเอเลออนอร์แห่งเบลเยียม
เคานต์แห่งแอโน
นต์แห่งแอโน (Compte de Hainaut, Graaf van Henegouwen Count of Hainaut) คือบรรดาศักดิ์ของผู้ปกครองของเคาน์ตีแอโนอันเป็นดินแดนในประวัติศาสตร์ในกลุ่มประเทศแผ่นดินต่ำในเครือจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิท.
ดู สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียมและเคานต์แห่งแอโน
หรือที่รู้จักกันในชื่อ สมเด็จพระราชาธิบดีเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียมพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งชาวเบลเยียมพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียม