สารบัญ
22 ความสัมพันธ์: พญามังรายพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์พระอุปยุวราชพระไอยการตำแหน่งนาพลเรือน นาทหาร หัวเมืองพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554กรมพระราชวังบวรสถานมงคลกรมศิลปากรภาคอีสาน (ประเทศไทย)ราชกิจจานุเบกษาสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 8สมเด็จพระเพทราชาสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีสยามมกุฎราชกุมารสำนักงานราชบัณฑิตยสภาอาณาจักรล้านช้างอุปราชจังหวัดเชียงรายทายาทผู้มีสิทธิโดยตรง
- ฐานันดรศักดิ์
- ฐานันดรศักดิ์พม่า
- บรรดาศักดิ์
- ราชาธิปไตยไทย
พญามังราย
ญามังรายประเสริฐ ณ นคร; 2549, กุมภาพันธ์: 267.
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
งชาติสยามในรัชกาลที่ 4 ธงช้างเผือก พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหามงกุฎ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (พระราชสมภพ 18 ตุลาคม พ.ศ.
ดู พระมหาอุปราชและพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (20 กันยายน พ.ศ. 2396 – 23 ตุลาคม พ.ศ. 2453) เป็นพระมหากษัตริย์สยาม รัชกาลที่ 5 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันอังคาร เดือน 10 แรม 3 ค่ำ ปีฉลู ตรงกับวันที่ 20 กันยายน..
ดู พระมหาอุปราชและพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์
ระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์ เป็นเอกสารสำคัญที่เป็นที่ยอมรับของนักประวัติศาสตร์ว่ามีความถูกต้องน่าเชื่อถือได้ฉบับหนึ่งในบรรดาพงศาวดารกรุงศรีอยุธยาฉบับต่างๆ ที่มีปรากฏอยู่ในปัจจุบัน โดยพงศาวดารฉบับนี้ได้ถูกเขียนขึ้นใน..
ดู พระมหาอุปราชและพระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์
พระอุปยุวราช
ระอุปยุวราช เป็นพระราชโอรสของพระเจ้าวรวงศาธรรมิกราชซึ่งพระยาเมืองจัน (เวียง) ให้การสนับสนุน พระองค์เป็นเครื่องมือของพระยาเมืองจันในการก่อกบฏยึดอำนาจจากพระเจ้าวรวงศาธรรมิกราช พระราชบิดาของพระองค์ พระยาเมืองจัน (เวียง) ตีเมืองเวียงจันทน์แตกเมื่อ..
ดู พระมหาอุปราชและพระอุปยุวราช
พระไอยการตำแหน่งนาพลเรือน นาทหาร หัวเมือง
* สำหรับบรรดาศักดิ์ของพระบรมวงศานุวงศ์ไทยซึ่งทรงทำงานในกรม ดูได้ที่ เจ้าต่างกรม.
ดู พระมหาอุปราชและพระไอยการตำแหน่งนาพลเรือน นาทหาร หัวเมือง
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554
หน้าปกพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 ฉบับพิมพ์ครั้งแรก พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน..
ดู พระมหาอุปราชและพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554
กรมพระราชวังบวรสถานมงคล
กรมพระราชวังบวรสถานมงคล แต่เรียกกันเป็นสามัญว่าวังหน้า เป็นตำแหน่งที่พระมหากษัตริย์สยามทรงสถาปนาขึ้นสำหรับพระมหาอุปราช และมีฐานะเป็นองค์รัชทายาทผู้มีสิทธิ์ที่จะขึ้นครองราชสมบัติต่อไป ตำแหน่งพระมหาอุปราชปรากฏครั้งแรกในรัชสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ต่อมาสมเด็จพระเพทราชาจึงเปลี่ยนชื่อเป็น "กรมพระราชวังบวรสถานมงคล" ภายหลังจากการเสด็จทิวงคตของกรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดให้เลิกธรรมเนียมตั้งพระมหาอุปราช แล้วทรงสถาปนาสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ ขึ้นเป็นสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชแทน.
ดู พระมหาอุปราชและกรมพระราชวังบวรสถานมงคล
กรมศิลปากร
กรมศิลปากร เป็นหน่วยงานของรัฐซึ่งมีภารกิจคุ้มครอง ป้องกัน อนุรักษ์ บำรุงรักษา ฟื้นฟู ส่งเสริม สร้างสรรค์ เผยแพร่ จัดการศึกษา ค้นคว้า วิจัย พัฒนา สืบทอดศิลปะและทรัพย์สินมรดกทางศิลปวัฒนธรรมของชาติ เพื่อธำรงคุณค่าและเอกลักษณ์ของความเป็นชาติ อันจะนำไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืนของสังคมไทยและความมั่นคงของชาต.
ภาคอีสาน (ประเทศไทย)
อีสาน (มาจากภาษาบาลีหรือภาษาสันสกฤต ऐशान aiśāna แปลว่า "ตะวันออกเฉียงเหนือ") หรือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นภูมิภาคหนึ่งในประเทศไทย ตั้งอยู่บนแอ่งโคราชและแอ่งสกลนคร มีแม่น้ำโขงกั้นประเทศลาวทางทิศเหนือและตะวันออกของภาค ทางทิศใต้มีเทือกเขาพนมดงรักกั้นประเทศกัมพูชาและภาคตะวันออกของประเทศไทย และมีทิวเขาเพชรบูรณ์และทิวเขาดงพญาเย็นเป็นแนวกั้นทางตะวันตกแยกจากภาคกลาง ภาคอีสานยังมีเนื้อที่มากที่สุดของประเทศไทย ประมาณ 168,854 ตารางกิโลเมตร หรือมีเนื้อที่ร้อยละ 33.17 เทียบได้กับหนี่งในสามของพื้นที่ทั้งหมดของประเทศไทยได้จัดว่าเป็นพื้นที่ที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เทือกเขาที่สูงที่สุดในภาคอีสานคือ ยอดภูลมโล ภูหลวง และภูกระดึง ซึ่งเป็นต้นกำเนิดของแม่น้ำสายสำคัญของชาวอีสานในหลายจังหวัดด้วยกัน เช่น แม่น้ำห้วยหลวง แม่น้ำชี ลำตะคอง แม่น้ำพอง แม่น้ำเลย แม่น้ำพรม แม่น้ำมูล แม่น้ำสงคราม ภาษาหลักของภาคนี้ คือ ภาษาอีสาน ซึ่งเป็นภาษาอีสานสำเนียงหนึ่งทางฝั่งขวาแม่น้ำโขง ส่วนภาษาไทยนิยมใช้กันทั่วไปโดยเฉพาะในเมืองใหญ่และจังหวัดนครราชสีมาแต่ไม่ถือเป็นภาษาหลัก ขณะเดียวกันยังมีภาษาเขมรที่ใช้กันมากในบริเวณอีสานใต้ นอกจากนี้ มีภาษาถิ่นอื่น ๆ อีกมาก เช่น ภาษาผู้ไท ภาษาโส้ ภาษาไทโคราช ภาษากวย (ส่วย) ภาษาแสก ภาษาข่า ภาษากะเลิง ภาษาโย้ย ภาษาย้อ เป็นต้น ภาคอีสานยังมีเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมที่โดดเด่นที่สุดของประเทศ เช่น อาหาร ภาษา อักษร เช่น อักษรไทน้อย ดนตรีหมอลำ ดนตรีกันตรึม ดนตรีเจรียง และศิลปะการฟ้อนรำ การเซิ้ง ที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะ เป็นต้น.
ดู พระมหาอุปราชและภาคอีสาน (ประเทศไทย)
ราชกิจจานุเบกษา
ราชกิจจานุเบกษา (Royal Thai Government Gazette, เรียกสั้น ๆ ว่า Government Gazette) เป็นหนังสือรวบรวมคำประกาศของทางราชการ โดยเริ่มจัดพิมพ์ขึ้นในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 เมื่อวันจันทร์ ขึ้น 1 ค่ำ เดือน 5 ปีมะเมีย นพศก จุลศักราช 1219 ตรงกับวันที่ 15 มีนาคม พ.ศ.
ดู พระมหาอุปราชและราชกิจจานุเบกษา
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
มเด็จพระบรมไตรโลกนาถ เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 8 แห่งอาณาจักรอยุธยาสมัยราชวงศ์สุพรรณภูมิ สวรรคต..
ดู พระมหาอุปราชและสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2
มเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 เป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 10 แห่งอาณาจักรอยุธยา มีพระนามเดิมว่า พระเชษฐา เป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ เสด็จพระราชสมภพที่เมืองพิษณุโลกเมื่อปีมะโรง..
ดู พระมหาอุปราชและสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2
สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 8
มเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 8 หรือคำให้การชาวกรุงเก่าว่า สมเด็จพระสุริเยนทราธิบดี เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 29 แห่งอาณาจักรอยุธยา และเป็นพระองค์ที่สองแห่งราชวงศ์บ้านพลูหลวง ราชวงศ์สุดท้ายของอาณาจักรอยุธยา ทรงครองร..
ดู พระมหาอุปราชและสมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 8
สมเด็จพระเพทราชา
มเด็จพระมหาบุรุษ หรือ สมเด็จพระเพทราชา เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 28 ของอาณาจักรอยุธยา และเป็นปฐมกษัตริย์ของราชวงศ์บ้านพลูหลวง ทรงครองราชย์ระหว่าง..
ดู พระมหาอุปราชและสมเด็จพระเพทราชา
สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี
มเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี หรือ สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช (แต้จิ๋ว: Dênchao; 17 เมษายน พ.ศ. 2277 – 6 เมษายน พ.ศ. 2325) มีพระนามเดิมว่า สิน เป็นคนไทยเชื้อสายจีน เป็นพระมหากษัตริย์ผู้ก่อตั้งอาณาจักรธนบุรี และเป็นพระมหากษัตริย์พระองค์เดียวของราชอาณาจักรนั้น เดิมพระองค์เป็นนายทหารในรัชกาลสมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์ ต่อม..
ดู พระมหาอุปราชและสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี
สยามมกุฎราชกุมาร
มมกุฎราชกุมาร เป็นพระอิสริยยศมกุฎราชกุมารของประเทศไทย ซึ่งเป็นพระอิสริยยศของผู้ที่จะสืบราชสมบัติต่อจากพระมหากษัตริย์ไทย โดยสยามมกุฎราชกุมารจะดำรงพระยศนี้ไปจนกว่าพระมหากษัตริย์จะสวรรคตหรือสละราชสมบัติ พระอิสริยยศนี้พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นผู้ทรงกำหนดขึ้นเมื่อ..
ดู พระมหาอุปราชและสยามมกุฎราชกุมาร
สำนักงานราชบัณฑิตยสภา
ำนักงานราชบัณฑิตยสภา (Office of the Royal Society) หรือชื่อเดิมว่า ราชบัณฑิตยสถาน (the Royal Institute), ข่าวประชาสัมพันธ์ เว็บไซต.
ดู พระมหาอุปราชและสำนักงานราชบัณฑิตยสภา
อาณาจักรล้านช้าง
อาณาจักรล้านช้าง (ອານາຈັກລ້ານຊ້າງ) เป็นอาณาจักรของชนชาติลาวซึ่งตั้งอยู่ในแถบลุ่มแม่น้ำโขง มีอาณาเขตอยู่ในบริเวณประเทศลาวทั้งหมด ตลอดจนพื้นที่บางส่วนทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทย โดยมีความเจริญรุ่งเรืองทั้งการเมืองการปกครอง ด้านศิลปวัฒนธรรม ตลอดจนพระพุทธศาสนา ที่มีพัฒนาการเคียงคู่มาพร้อมกันอาณาจักรอื่น ๆ ใกล้เคียง ทั้งล้านนา สยาม พม่า และเขมร อาณาจักรแห่งนี้ได้สถาปนาขึ้นอย่างเป็นปึกแผ่นมั่งคงอย่างแท้จริงในปี พ.ศ.
ดู พระมหาอุปราชและอาณาจักรล้านช้าง
อุปราช
หลุยส์ เมานต์แบ็ทแตน อุปราชแห่งอินเดียคนสุดท้าย อุปราช หรือ "ไวซรอย" (Viceroy) เป็นตำแหน่งที่แต่งตั้งโดยพระมหากษัตริย์เพื่อให้ปกครองเขต แว่นแคว้น หรืออาณาจักร เป็นผู้สำเร็จราชการในพระปรมาภิไธยของพระมหากษัตริย์ มาจากภาษาละติน "vice-" แปลว่า ผู้แทน กับภาษาฝรั่งเศส "roi" แปลว่าพระมหากษัตริย์ หากอุปราชเป็นสตรี จะเรียกว่า "ไวซแรน" ซึ่งใช้เรียกพระชายาของอุปราชด้วย ในยุโรป โดยเฉพาะก่อนช่วงศตวรรษที่ 18 พระมหากษัตริย์สเปนได้แต่งตั้งอุปราชประจำแคว้นอารากอง บาเลนเซีย คาตาโลเนีย นาวารร์ ซาร์ดีเนีย ซิซิลี เนเปิลส์ และโปรตุเกส (ช่วงปี ค.ศ.
จังหวัดเชียงราย
ังหวัดเชียงราย (55px เจียงฮาย; 50px) เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ในภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย มีภูมิศาสตร์อยู่ทางเหนือสุดของประเทศ ที่ตั้งของเมืองมีความสำคัญทางประวัติศาสตร์ตั้งแต่ยุคก่อตั้งอาณาจักรล้านนา เช่น เมืองเงินยาง เมืองเชียงแสน เมืองเชียงราย เมืองเชียงรายเป็นพื้นที่ดั้งเดิมของชาวไทยวน ปัจจุบันจังหวัดเชียงรายแบ่งการปกครองออกเป็น 18 อำเภอ มีน้ำแม่กก น้ำแม่อิง แม่น้ำรวก และแม่น้ำโขง เป็นแม่น้ำสายสำคัญ ทำเลที่ตั้งของจังหวัดเชียงรายอยู่บริเวณรอยต่อระหว่าง 3 ประเทศ คือ ประเทศไทย ประเทศพม่า และประเทศลาว หรือรู้จักกันในนามของดินแดนสามเหลี่ยมทองคำ ซึ่งอดีตเป็นแหล่งผลิตฝิ่นที่สำคัญของโลก ปัจจุบัน จังหวัดเชียงรายได้รับความสนใจในฐานะประตูสู่พม่า ลาว และจีนตอนใต้ ผ่านทางหลวงเอเชียสาย 2 และทางหลวงเอเชียสาย 3 เมืองเชียงรายมีประวัติศาสตร์อันยาวนาน เป็นที่ตั้งของหิรัญนครเงินยางเชียงแสน ซึ่งเป็นนครหลวงก่อนการกำเนิดอาณาจักรล้านนา มี "คำเมือง" เป็นภาษาท้องถิ่น มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวทั้งด้านศิลปะ ประเพณีวัฒนธรรมที่มีความหลากหลายทางชาติพันธุ์ในรูปแบบล้านนา ไทใหญ่ ไทเขิน และไทลื้อจากสิบสองปันนาผสมผสานกัน.
ดู พระมหาอุปราชและจังหวัดเชียงราย
ทายาทผู้มีสิทธิโดยตรง
้าชายชาลส์ เจ้าชายแห่งเวลส์ “รัชทายาท” แห่งราชบัลลังก์สหราชอาณาจักร ทายาทผู้มีสิทธิโดยตรง (Heir apparent) คือทายาทผู้ (นอกจากมีเหตุการณ์อันคาดไม่ถึง) ที่ไม่สามารถมีผู้ใดมาแทนได้ในการรับตำแหน่งหรือมรดก เป็นคำที่ตรงกันข้ามกับคำว่า “ทายาทโดยสันนิษฐาน” (heir presumptive) ผู้เป็นทายาทอยู่ในสายที่มีสิทธิแต่อาจจะมาแทนได้เมื่อใดก็ได้ กรณีที่หมายถึงทายาทตำแหน่งขุนนางสืบตระกูลโดยเฉพาะในกรณีของพระมหากษัตริย์จะเรียกว่ารัชทายาท (heir to the throne) และใช้เป็นอุปลักษณ์ว่าผู้นั้นเป็นผู้ได้ผ่านพิธีในการยอมรับในตำแหน่งเช่นว่าอย่างเป็นทางการ (“anointed”) ไม่ว่าจะเป็นในด้านการเมืองหรือผู้นำทางธุรกิจ “ทายาทผู้มีสิทธิโดยตรง” ไม่ปรากฏบ่อยนักและถ้าใช้ในภาษาอังกฤษก็มักจะใช้ในรูป “Heir Apparent” สถาบันพระมหากษัตริย์ส่วนใหญ่แล้วก็จะมีตำแหน่งเป็นทางการสำหรับรัชทายาทผู้มีสิทธิโดยตรงเช่น “มกุฎราชกุมาร” หรือมีตำแหน่งที่มีชื่อเฉพาะเช่น “เจ้าชายแห่งออเรนจ์” (Prince of Orange) ในเนเธอร์แลนด์ “เจ้าชายแห่งเวลส์” ในสหราชอาณาจักร หรือ เจ้าชายแห่งอัสตูเรียส ในสเปน ดยุกแห่งบราบันต์ ใน เบลเยียม.
ดู พระมหาอุปราชและทายาทผู้มีสิทธิโดยตรง
ดูเพิ่มเติม
ฐานันดรศักดิ์
- ซารีนา
- ดยุกแห่งบูร์บง
- ธรรมเนียมพระยศและบรรดาศักดิ์ในราชวงศ์โชซ็อน
- บาซิเลวส์
- พระมหาอุปราช
- ฟาโรห์
- มกุฎราชกุมาร
- มหาราชา
- ยังดีเปอร์ตวนอากง
- ราชกุมารี
- ราชาธิปไตยของปวงชน
- รายพระนามซาปา อินคา
- สมเด็จพระราชชนนีพันปีหลวง
- สมเด็จพระราชินี
- สมเด็จพระราชินีนาถ
- สุลต่าน
- อาร์ชดยุก
- เจ้า
- เฟือสท์
- แกรนด์ดยุก
- โดแฟ็งแห่งฝรั่งเศส
- โอรสสวรรค์
ฐานันดรศักดิ์พม่า
- พระมหาอุปราช
บรรดาศักดิ์
- ซามูไร
- ฐานันดรศักดิ์ยุโรป
- ดยุก
- บารอน
- พระมหาอุปราช
- ฟาโรห์
- มหาราชา
- มาร์ควิส
- สุลต่าน
- อินฟันเต
- อุปราช
- เคานต์
- เจ้า
- เจ้าชายมุขนายก
- เจ้าชายสืบสายพระโลหิต
- เฟือสท์
- โอรสสวรรค์
- ไวเคานต์
ราชาธิปไตยไทย
- กฎมณเฑียรบาลว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ พระพุทธศักราช 2467
- กรมพระราชวังบวรสถานพิมุข
- กรมพระราชวังบวรสถานมงคล
- กระบวนพยุหยาตราชลมารค
- คณะองคมนตรีไทย
- ความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ไทย
- ทหารรักษาพระองค์
- ธงประจำพระองค์
- ธงพระอิสริยยศในประเทศไทย
- พระที่นั่งอัมพรสถาน
- พระมหากษัตริย์ไทย
- พระมหาอุปราช
- พระยศเจ้านายไทย
- พระราชพิธีบรมราชาภิเษก
- พระราชพิธีสิบสองเดือน
- พระราชวังดุสิต
- พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
- พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
- พระสยามเทวาธิราช
- พิธีถวายสัตย์ปฏิญาณตนและสวนสนามของทหารรักษาพระองค์
- ราชวงศ์จักรี
- ราชสกุล
- ลำดับโปเจียมแห่งราชอาณาจักรไทย
- วงประโคม
- สรรเสริญพระบารมี
- สำนักพระราชวัง
- หน่วยบัญชาการถวายความปลอดภัยรักษาพระองค์
- อุทยานราชภักดิ์
- แรกนาขวัญ
หรือที่รู้จักกันในชื่อ มหาอุปราช