โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

สมเด็จพระราชินีนาถ

ดัชนี สมเด็จพระราชินีนาถ

มเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร พระมหากษัตริย์ในระบอบราชาธิปไตยแบบรัฐสภา สมเด็จพระราชินีนาถ (Queen Regnant) คือ พระมหากษัตริย์หญิงผู้ครองราชสมบัติด้วยสิทธิ์ของพระองค์เอง ต่างจาก "สมเด็จพระราชินี" (Queen Consort) ซึ่งเป็นพระมเหสีในพระมหากษัตริย์ที่ครองราชสมบัติ และไม่ทรงมีอำนาจในการบริหารราชกิจของบ้านเมืองอย่างเป็นทางการใด ๆ โดยหลักการแล้ว พระมหากษัตริย์มีทั้ง "สมเด็จพระราชาธิบดี" (King Regnant) และ "พระมหากษัตริย์พระราชสวามี" (King Consort) แต่เกิดขึ้นได้ยาก และมีการใช้พระอิสริยยศเพียงสองครั้งในประวัติศาสตร์ราชวงศ์อังกฤษ ระบอบราชาธิปไตยในปัจจุบันที่ให้สมเด็จพระราชินีนาถทรงครองราชบัลลังก์ พระสวามีของพระองค์จะไม่ได้มีพระอิสริยยศเป็นพระราชา แต่เป็นเพียงแค่ชั้นเจ้าชายเท่านั้น พระราชสวามีของสมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 1 แห่งอังกฤษและไอร์แลนด์ และพระสวามีคนที่สองของสมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 1 แห่งสก็อตแลนด์ ได้รับการสถาปนาเป็นสมเด็จพระราชสวามีในอาณาจักรของพระองค์เอง แต่ไม่เป็นที่ชื่นชอบของพสกนิกรและการอภิเษกสมรสกินเวลาเพียงไม่นาน พระราชสวามีในสมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 2 แห่งอังกฤษและไอร์แลนด์ และพระราชินีนาถแห่งชาวสก็อต ทรงได้รับการแต่งตั้งให้ขึ้นเป็นสมเด็จพระราชาธิบดี พระมหากษัตริย์ที่ปกครองร่วมกันเป็น พระเจ้าวิลเลียมที่ 3 แห่งอังกฤษ ที่ 2 แห่งสก็อตแลนด์ และที่ 1 แห่งไอร์แลนด์ แต่ถือเป็นพระมหากษัตริย์ปกครองร่วมกันครั้งเดียว และเป็นทางการที่สุดในประวัติศาสตร์อังกฤษ แต่หลังจากนั้นมา พระสวามีของสมเด็จพระราชินีนาถในประเทศอังกฤษได้รับการสถาปนาเป็น "เจ้าชายพระราชสวามี" (Prince Consort) (มีเพียงคนเดียวที่ได้รับการแต่งตั้งพระอิสริยยศนี้อย่างเป็นทางการคือ เจ้าชายอัลเบิร์ต พระราชสวามีในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย) การเสวยราชสมบัติของสมเด็จพระราชินีนาถจะเกิดขึ้นเมื่อลำดับการสืบราชบัลลังก์เอื้ออำนวย วิธีการสืบราชสมบัติ (เป็นพระมหากษัตริย์ หัวหน้าเผ่า ฯลฯ) และรวมถึงการแต่งตั้ง (พระมหากษัตริย์ในรัฐสภา หรือ คณะมนตรีแต่งตั้งรัชทายาท) การให้สิทธิพระโอรสธิดาตามลำดับการประสูติก่อนที่สุด (primogeniture) การให้สิทธิพระโอรสธิดาตามลำดับการประสูติหลังที่สุด (ultimogeniture) ขอบเขตในการสืบราชสมบัติอาจยึดจากสายทางพระชนก สายทางพระชนนีหรือทั้งสองฝ่าย หรือที่ไม่ค่อยเกิดขึ้น (เมื่อถึงคราวจำเป็น) มาจากการออกเสียงเลือกตั้ง สิทธิในการสืบราชสมบัติโดยตามเพศ อาจจะให้ทั้งชายและหญิง จำกัดแต่เพศชายเท่านั้น หรือจำกัดแต่เพศหญิงเท่านั้น การสืบราชบัลลังก์ที่เป็นแบบแผนมากที่สุดตั้งแต่สมัยกลางตอนปลายตลอดจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20 เป็นแบบการให้สิทธิพระราชโอรสก่อนพระราชธิดา (male-preference primogeniture) กล่าวคือ ลำดับการสืบราชบัลลังก์อยู่ในบรรดาพระราชโอรสของพระมหากษัตริย์ตามลำดับการประสูติก่อนแล้วจึงตามมาด้วยของพระราชธิดา ในบางอาณาจักรทางประวัติศาสตร์ห้ามมิให้มีการสืบราชสมบัติโดยผู้หญิงหรือผ่านทางเชื้อสายของผู้หญิง แต่อย่างไรก็ตาม ยังมีบางแห่งที่ยังคงยึดถือหลักเกณฑ์นี้ตามกฎหมายแซลิก ดังตัวอย่างเช่น สมเด็จพระราชาธิบดีแห่งเนเธอร์แลนด์เป็นแกรนด์ดยุกแห่งลักเซมเบิร์ก แต่เมื่อกษัตริย์ดัตช์พระองค์สุดท้ายเสด็จสวรรคตเมื่อปี พ.ศ. 2433 และสืบราชบัลลังก์ต่อมาโดยพระราชธิดา กฎหมายแซลิกจึงไม่ยอมให้ลักเซมเบิร์กยอมรับพระองค์ในฐานะเป็นแกรนด์ดัชเชสผู้ปกครองตามพระราชสิทธิของพระองค์เอง เช่นเดียวกับตอนที่ สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียเสด็จขึ้นครองราชบัลลังก์แห่งสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์ พระองค์ไม่ได้เป็นสมเด็จพระราชินีนาถแห่งแฮโนเวอร์ด้วย ถึงแม้ว่าสมเด็จพระปิตุลาธิราชของพระองค์ทรงเคยเป็นกษัตริย์ของทั้งสองประเทศมาก่อน ในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 20 ประเทศสวีเดน นอร์เวย์ เบลเยียม และเนเธอร์แลนด์ ได้แก้ไขพระราชบัญญัติการสืบราชบัลลังก์จากการให้สิทธิพระราชโอรสก่อนพระราชธิดามาเป็นมีสิทธิสืบราชสมบัติเท่ากันตามลำดับการประสูติโดยไม่จำกัดเรื่องเพศ ในบางกรณี การเปลี่ยนแปลงอาจยังไม่ส่งผลอะไรมากมายจนกว่ารุ่นต่อจากรุ่นปัจจุบันเกิดขึ้นมา เพื่อหลีกเลี่ยงการยึดตำแหน่งของบุคคลที่อยู่ในลำดับการสืบราชบัลลังก์มาก่อน โดยเฉพาะในพระอิสริยยศพิเศษ.

256 ความสัมพันธ์: บริเตนใหญ่บูเช็กเทียนฟาโรห์ทวอสเรตฟาโรห์แฮตเชปซุตฟาโรห์โซเบกเนเฟรูพ.ศ. 1918พ.ศ. 1925พ.ศ. 1926พ.ศ. 1928พ.ศ. 1942พ.ศ. 1955พ.ศ. 1996พ.ศ. 2007พ.ศ. 2013พ.ศ. 2017พ.ศ. 2032พ.ศ. 2047พ.ศ. 2063พ.ศ. 2073พ.ศ. 2083พ.ศ. 2096พ.ศ. 2098พ.ศ. 2101พ.ศ. 2118พ.ศ. 2129พ.ศ. 2146พ.ศ. 2232พ.ศ. 2237พ.ศ. 2245พ.ศ. 2257พ.ศ. 2268พ.ศ. 2270พ.ศ. 2273พ.ศ. 2283พ.ศ. 2284พ.ศ. 2305พ.ศ. 2320พ.ศ. 2325พ.ศ. 2339พ.ศ. 2357พ.ศ. 2359พ.ศ. 2369พ.ศ. 2371พ.ศ. 2372พ.ศ. 2376พ.ศ. 2377พ.ศ. 2378พ.ศ. 2380พ.ศ. 2384พ.ศ. 2387...พ.ศ. 2388พ.ศ. 2396พ.ศ. 2404พ.ศ. 2407พ.ศ. 2411พ.ศ. 2426พ.ศ. 2433พ.ศ. 2434พ.ศ. 2436พ.ศ. 2444พ.ศ. 2455พ.ศ. 2459พ.ศ. 2460พ.ศ. 2461พ.ศ. 2462พ.ศ. 2473พ.ศ. 2475พ.ศ. 2491พ.ศ. 2495พ.ศ. 2507พ.ศ. 2508พ.ศ. 2515พ.ศ. 2523พ.ศ. 2544พ.ศ. 2556พระมหากษัตริย์พระมหากษัตริย์พระราชสวามีพระราชินีจินซองแห่งซิลลาพระนางชินด็อกแห่งชิลลาพระนางช็อนด็อกแห่งชิลลาพระนางวิสุทธิเทวีพระนางจามเทวีพระนางจิรประภาเทวีพระนางเชงสอบูพระเจ้าฟร็องซัวที่ 2 แห่งฝรั่งเศสพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์พระเจ้าวิลเลียมที่ 1 แห่งอังกฤษพระเจ้าวิลเลียมที่ 3 แห่งอังกฤษพระเจ้าวิลเลียมที่ 4 แห่งสหราชอาณาจักรพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 6 แห่งอังกฤษพระเจ้าเฮนรีที่ 1 แห่งอังกฤษพระเจ้าเฮนรีที่ 2 แห่งอังกฤษพระเจ้าเฮนรีที่ 7 แห่งอังกฤษกฎหมายแซลิกกรุงเทพกษัตรีองค์มีการล้มล้างราชอาณาจักรฮาวายกาตาลินาแห่งอารากอน พระราชินีแห่งอังกฤษมาทิลดาแห่งแฟลนเดิร์ส สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษรัฐฮาวายราชอาณาจักรฮาวายรายพระนามเจ้าผู้ครองราชรัฐลักเซมเบิร์กลักเซมเบิร์กสมเด็จพระราชินีสมเด็จพระราชินีนาถชาร์ลอตต์แห่งไซปรัสสมเด็จพระราชินีนาถมารีอาที่ 1 แห่งโปรตุเกสสมเด็จพระราชินีนาถมารีอาที่ 2 แห่งโปรตุเกสสมเด็จพระราชินีนาถมาร์กาเร็ตแห่งสกอตแลนด์สมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 1 แห่งเดนมาร์กสมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 แห่งเดนมาร์กสมเด็จพระราชินีนาถยูเลียนาแห่งเนเธอร์แลนด์สมเด็จพระราชินีนาถราฟอไฮแห่งอาราโซราสมเด็จพระราชินีนาถราซอเฮอรินาแห่งมาดากัสการ์สมเด็จพระราชินีนาถรานาวาโลนาที่ 1 แห่งมาดากัสการ์สมเด็จพระราชินีนาถรานาวาโลนาที่ 2 แห่งมาดากัสการ์สมเด็จพระราชินีนาถรานาวาโลนาที่ 3 แห่งมาดากัสการ์สมเด็จพระราชินีนาถรานจิตาแห่งเมรีมันจากาสมเด็จพระราชินีนาถลีลีโอกาลานีแห่งฮาวายสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักรสมเด็จพระราชินีนาถวิลเฮลมินาแห่งเนเธอร์แลนด์สมเด็จพระราชินีนาถอูลริกาแห่งสวีเดนสมเด็จพระราชินีนาถอีซาเบลที่ 1 แห่งคาสตีลสมเด็จพระราชินีนาถอีซาเบลที่ 2 แห่งสเปนสมเด็จพระราชินีนาถคริสตีนาแห่งสวีเดนสมเด็จพระราชินีนาถฆัวนาแห่งกัสติยาสมเด็จพระราชินีนาถซาโลเต ตูโปอูที่ 3 แห่งตองงาสมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 1 แห่งสกอตแลนด์สมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 1 แห่งอังกฤษสมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 2 แห่งอังกฤษสมเด็จพระราชินีนาถแอนนาแห่งโปแลนด์สมเด็จพระราชินีนาถแอนน์แห่งบริเตนใหญ่สมเด็จพระราชินีนาถแคทเทอรีนแห่งไซปรัสสมเด็จพระราชินีนาถเบียทริกซ์แห่งเนเธอร์แลนด์สมเด็จพระราชินีนาถเบียทริซแห่งโปรตุเกสสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 1 แห่งอังกฤษสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรสมเด็จพระราชินีนาถเจดวิกาแห่งโปแลนด์สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวงสมเด็จพระจักรพรรดินีเซาดีตูที่ 1 แห่งเอธิโอเปียสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถสหราชอาณาจักรสำนักงานราชบัณฑิตยสภาสิงหาคมสงครามโลกครั้งที่หนึ่งอาณาจักรล้านนาอาณาจักรหริภุญชัยอียิปต์โบราณผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์จักรพรรดิถังไท่จงจักรพรรดิถังเกาจงจักรพรรดิปีเตอร์ที่ 1 แห่งรัสเซียจักรพรรดิปีเตอร์ที่ 3 แห่งรัสเซียจักรพรรดินีมาทิลดาจักรพรรดินีหวัง (จักรพรรดิถังเกาจง)จักรพรรดินีจิงงุจักรพรรดินีจิโตจักรพรรดินีซุอิโกะจักรพรรดินีแอนนาแห่งรัสเซียจักรพรรดินีโกะ-ซะกุระมะชิจักรพรรดินีโคเก็งจักรพรรดินีโคเงียวกุจักรพรรดินีเก็มเมจักรพรรดินีเก็นโชจักรพรรดินีเมโชจักรพรรดินีเยกาเจรีนาที่ 1 แห่งรัสเซียจักรพรรดินีเยกาเจรีนาที่ 2 แห่งรัสเซียจักรพรรดินีเอลิซาเบธแห่งรัสเซียจักรวรรดิบริติชคริสต์ศตวรรษที่ 20คลีโอพัตราคลีโอพัตราที่ 1คลีโอพัตราที่ 2คลีโอพัตราที่ 3คลีโอพัตราที่ 4คลีโอพัตราที่ 5คลีโอพัตราที่ 6ประเทศพม่าประเทศกัมพูชาประเทศญี่ปุ่นประเทศมาดากัสการ์ประเทศรัสเซียประเทศสวีเดนประเทศสเปนประเทศอังกฤษประเทศจีนประเทศตองงาประเทศนอร์เวย์ประเทศโปรตุเกสประเทศโปแลนด์ประเทศไทยประเทศไซปรัสประเทศเบลเยียมประเทศเอธิโอเปียประเทศเดนมาร์กประเทศเนเธอร์แลนด์นครรัฐแพร่แกรนด์ดยุกวิลเลมที่ 4 แห่งลักเซมเบิร์กแกรนด์ดยุกอ็องรีแห่งลักเซมเบิร์กแกรนด์ดยุกฌ็องแห่งลักเซมเบิร์กแกรนด์ดัชเชสชาร์ล็อตแห่งลักเซมเบิร์กแกรนด์ดัชเชสมารี-อาเดลาอีดแห่งลักเซมเบิร์กแม่เจ้าบัวไหลเกาหลีเลดีเจน เกรย์เจ้าเจ้าชายพระราชสวามีเจ้าชายอัลเบิร์ต พระราชสวามีเครือจักรภพ1 มกราคม1 สิงหาคม1 เมษายน11 สิงหาคม12 พฤศจิกายน12 สิงหาคม12 เมษายน13 กรกฎาคม13 กุมภาพันธ์14 มกราคม14 มีนาคม15 พฤศจิกายน16 สิงหาคม16 ธันวาคม17 พฤศจิกายน17 พฤษภาคม19 กรกฎาคม2 เมษายน20 มิถุนายน20 มีนาคม20 ตุลาคม22 พฤศจิกายน22 มกราคม22 ตุลาคม23 พฤศจิกายน23 พฤษภาคม24 กุมภาพันธ์24 มีนาคม25 กุมภาพันธ์26 พฤศจิกายน27 กันยายน28 กรกฎาคม28 มิถุนายน28 ธันวาคม28 ตุลาคม29 กันยายน29 มกราคม29 เมษายน30 กันยายน30 เมษายน4 กันยายน5 มกราคม5 เมษายน6 กุมภาพันธ์6 ธันวาคม6 เมษายน8 กุมภาพันธ์8 มีนาคม ขยายดัชนี (206 มากกว่า) »

บริเตนใหญ่

ริเตนใหญ่ (Great Britain) เป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดในหมู่เกาะบริติช ตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของภาคพื้นทวีปยุโรป มีเกาะไอร์แลนด์ตั้งอยู่ทางตะวันตก เกาะบริเตนใหญ่เป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดในทวีปยุโรป ล้อมรอบด้วยเกาะเล็กนับร้อยเกาะ บริเตนใหญ่เนื้อที่ส่วนใหญ่ของสหราชอาณาจักร เป็นที่ตั้งของอังกฤษ สกอตแลนด์ และเวลส์ บริเตนใหญ่เป็นเกาะที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับสามของโลก รองจากเกาะชวาและเกาะฮนชู คำว่าบริเตนใหญ่บางครั้งใช้ในความหมายของสหราชอาณาจักร ราชอาณาจักรบริเตนใหญ่ ซึ่งเป็นรัฐที่เกิดจากการรวมตัวของอังกฤษและสกอตแลนด์ในช่วงพ.ศ. 2250–2344 ก่อนที่นอร์เทิร์นไอร์แลนด์จะเข้าร่วม เป็นสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และนอร์เทิร์นไอร์แลน.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและบริเตนใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

บูเช็กเทียน

อู่ เจ๋อเทียน ตามสำเนียงกลาง หรือ บูเช็กเทียน ตามสำเนียงฮกเกี้ยน (พระราชสมภพ 17 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 624ปีประสูตินี้ ได้มาจากการเอาพระชนม์กับปีสวรรคตที่ระบุไว้ใน นวพงศาวดารถัง (New Book of Tang) ฉบับ ค.ศ. 1045–1060 มาบวกลบกัน ผลลัพธ์ดังกล่าวนี้เป็นที่ยอมรับของนักประวัติศาสตร์สมัยใหม่ แต่ถ้าคำนวณตามที่ระบุไว้ใน พงศาวดารถัง (Book of Tang) ฉบับ ค.ศ. 941-945 จะได้ปีประสูติเป็น ค.ศ. 623; สวรรคต 16 ธันวาคม ค.ศ. 705)Paludan, 100 บางทีเรียก อู่ เจ้า หรือ อู่ โฮ่ว ในราชวงศ์ถังมักออกพระนามว่า พระนางสวรรค์ และในสมัยต่อมาว่า พระนางอู่ ทรงเป็นสตรีพระองค์เดียวในประวัติศาสตร์จีนอันยาวนานกว่า 4,000 ปี ที่ได้เป็น "ฮ่องเต้" ในแผ่นดินของพระภัสดาและพระราชบุตรของพระนางระหว่างปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและบูเช็กเทียน · ดูเพิ่มเติม »

ฟาโรห์ทวอสเรต

ราแทบไม่มีรายละเอียดเกี่ยวกับฟาโรห์ 3 องค์สุดท้ายของราชวงศ์ที่ 19 เลย พวกเขาไม่ได้ทิ้งหลักฐานเป็น วัตถุโบราณหรือบันทึกภาพวาดและม้วนบันทึกพาไพรัสเอาไว้มากมายอย่างองค์รามเซสมหาราชแต่น่าแปลกใจไม่น้อยที่ราชวงศ์นี้สิ้นสุดลงด้วยรัชสมัยของฟาโรห์หญิงทาวอสเรต ซึ่งก็ยิ่งใหญ่ไม่ได้ครึ่งหนึ่งของฮัตเชปซุต รายละเอียดการผลัดแผ่นดินในช่วงนี้ออกจะสับสนมากๆจนเรื่องราวต่างๆกลับมากระจ่างอีกครั้งในสมัยฟาโรห์รามเซสที่ 3 แห่งราชวงศ์ที่ 20 ขึ้นครองร.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและฟาโรห์ทวอสเรต · ดูเพิ่มเติม »

ฟาโรห์แฮตเชปซุต

thumb แฮตเชปซุต (Hatshepsut; /hætˈʃɛpsut/ "สตรีชั้นสูงผู้เป็นเอก") เป็นพระมหากษัตริย์พระองค์ที่ห้าในราชวงศ์ที่สิบแปดแห่งอาณาจักรอียิปต์โบราณ ซึ่งเป็นสตรี เจมส์ เฮนรี บรีสด์ (James Henry Breasted) นักไอยคุปต์วิทยา กล่าวว่า พระนางทรงเป็นที่รู้จักกันว่า "เป็นอิสตรีผู้ยิ่งใหญ่พระองค์แรกในประวัติศาสตร์ ที่พวกเรามีข้อมูล" เดิมนักวิชาการมิได้จัดว่าพระนางแฮตเชปซุตเป็นพระเจ้าแผ่นดิน แต่เป็นผู้สำเร็จราชการซึ่งดำรงตำแหน่งเป็นเวลา 21 ปี เนื่องจากปรากฏว่าพระนางสิ้นพระชนม์ในปี 1458 ก่อนคริสต์ศักราช จึงคำนวณว่าพระนางอยู่ในตำแหน่งตั้งแต่ปี 1479 ถึง 1458 ก่อนคริสต์ศักราช แต่ปัจจุบัน นักวิทยาการอีปยิปต์เห็นพ้องกันว่า พระนางแฮตเชปซุตได้ราชาภิเษกเป็นพระมหากษัตริย์ และเสวยราชย์เป็นเวลา 22 ปี ทั้งยังนับถือกันว่า พระนางเป็นพระเจ้าแผ่นดินที่ทรงประสบความสำเร็จในการบริหารราชการแผ่นดินมากที่สุดพระองค์หนึ่ง.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและฟาโรห์แฮตเชปซุต · ดูเพิ่มเติม »

ฟาโรห์โซเบกเนเฟรู

ซเบกเนเฟรู เป็นฟาโรห์องค์สุดท้ายของราชวงศ์ที่ 12 เป็นสตรีเพศ นามราชินีโซเบกเนเฟรู พระนางอาจเคยได้ปกครองเป็นผู้สำเร็จราชการร่วมกับอเมเนมเฮตที่ 4 มาก่อนที่จะได้ครองบัลลังก์โดยสมบูรณ์ มีพระสมัญญาว่า "นางเหยี่ยวผู้เป็นที่รักของเร" รูปสลักบางชิ้นเป็นภาพนางสวมเครื่องแบบบุรุษบ้างก็เป็นเครื่องทรงแบบสตรี แต่ใช่ว่านางจะเป็นฟาโรห์หญิงเพียงคนเดียวในประวัติศาสตร์อียิปต์เพราะมีฟาโรห์หญิงอีกคนที่ทรงอำนาจที่ลือชื่อมากกว่าราชินีโซเบกเนเฟรู นั่นคือ ราชินีฮัตเชปซุต.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและฟาโรห์โซเบกเนเฟรู · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1918

ทธศักราช 1918 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและพ.ศ. 1918 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1925

ทธศักราช 1925 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและพ.ศ. 1925 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1926

ทธศักราช 1926 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและพ.ศ. 1926 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1928

ทธศักราช 1928 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและพ.ศ. 1928 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1942

ทธศักราช 1942 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและพ.ศ. 1942 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1955

ทธศักราช 1955 ใกล้เคียงกั..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและพ.ศ. 1955 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1996

ทธศักราช 1996 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและพ.ศ. 1996 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2007

ทธศักราช 2007 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและพ.ศ. 2007 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2013

แผนที่ทวีปยุโรปเมื่อ ค.ศ. 1470 พุทธศักราช 2013 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและพ.ศ. 2013 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2017

ทธศักราช 2017 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและพ.ศ. 2017 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2032

ทธศักราช 2032 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและพ.ศ. 2032 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2047

ทธศักราช 2047 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและพ.ศ. 2047 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2063

ทธศักราช 2063 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและพ.ศ. 2063 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2073

ทธศักราช 2073 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและพ.ศ. 2073 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2083

ทธศักราช 2083 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและพ.ศ. 2083 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2096

ทธศักราช 2096 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและพ.ศ. 2096 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2098

ทธศักราช 2098 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและพ.ศ. 2098 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2101

ทธศักราช 2101 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและพ.ศ. 2101 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2118

ทธศักราช 2118 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและพ.ศ. 2118 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2129

ทธศักราช 2129 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและพ.ศ. 2129 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2146

ทธศักราช 2146 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและพ.ศ. 2146 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2232

ทธศักราช 2232 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและพ.ศ. 2232 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2237

ทธศักราช 2237 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและพ.ศ. 2237 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2245

ทธศักราช 2245 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและพ.ศ. 2245 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2257

ทธศักราช 2257 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและพ.ศ. 2257 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2268

ทธศักราช 2268 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและพ.ศ. 2268 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2270

ทธศักราช 2270 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและพ.ศ. 2270 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2273

ทธศักราช 2273 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและพ.ศ. 2273 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2283

ทธศักราช 2283 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและพ.ศ. 2283 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2284

ทธศักราช 2284 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและพ.ศ. 2284 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2305

ทธศักราช 2305 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและพ.ศ. 2305 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2320

ทธศักราช 2320 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและพ.ศ. 2320 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2325

ทธศักราช 2325 ตรงกับคริสต์ศักราช 1782 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินจูเลียน.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและพ.ศ. 2325 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2339

ทธศักราช 2339 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1796 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและพ.ศ. 2339 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2357

ทธศักราช 2357 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1814.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและพ.ศ. 2357 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2359

ทธศักราช 2359 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและพ.ศ. 2359 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2369

ทธศักราช 2369 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและพ.ศ. 2369 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2371

ทธศักราช 2371 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและพ.ศ. 2371 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2372

ทธศักราช 2372 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและพ.ศ. 2372 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2376

ทธศักราช 2376 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและพ.ศ. 2376 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2377

ทธศักราช 2377 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1834.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและพ.ศ. 2377 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2378

ทธศักราช 2378 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1835.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและพ.ศ. 2378 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2380

ทธศักราช 2380 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1837.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและพ.ศ. 2380 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2384

ทธศักราช 2384 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและพ.ศ. 2384 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2387

ทธศักราช 2387 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและพ.ศ. 2387 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2388

ทธศักราช 2388 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและพ.ศ. 2388 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2396

ทธศักราช 2396 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1853.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและพ.ศ. 2396 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2404

ทธศักราช 2404 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1861.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและพ.ศ. 2404 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2407

ทธศักราช 2407 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1864.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและพ.ศ. 2407 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2411

ทธศักราช 2411 ตรงกั.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและพ.ศ. 2411 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2426

ทธศักราช 2426 ตรงกั.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและพ.ศ. 2426 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2433

ทธศักราช 2433 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1890 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและพ.ศ. 2433 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2434

ทธศักราช 2434 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1891 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและพ.ศ. 2434 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2436

ทธศักราช 2436 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1893 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและพ.ศ. 2436 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2444

ทธศักราช 2444 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1901 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและพ.ศ. 2444 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2455

ทธศักราช 2455 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1912 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและพ.ศ. 2455 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2459

ทธศักราช 2459 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1916 เป็นปีอธิกสุรทินแรกของไทย ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและพ.ศ. 2459 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2460

ทธศักราช 2460 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1917 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน หรือ ปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินจูเลียน.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและพ.ศ. 2460 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2461

ทธศักราช 2461 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1918 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน หรือ ปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินจูเลียน.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและพ.ศ. 2461 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2462

ทธศักราช 2462 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1919 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและพ.ศ. 2462 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2473

ทธศักราช 2473 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1930 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและพ.ศ. 2473 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2475

ทธศักราช 2475 ตรงกั.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและพ.ศ. 2475 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2491

ทธศักราช 2491 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1948.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและพ.ศ. 2491 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2495

ทธศักราช 2495 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1952.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและพ.ศ. 2495 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2507

ทธศักราช 2507 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1964 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและพ.ศ. 2507 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2508

ทธศักราช 2508 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1965 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและพ.ศ. 2508 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2515

ทธศักราช 2515 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1972 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและพ.ศ. 2515 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2523

ทธศักราช 2523 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1980 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและพ.ศ. 2523 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2544

ทธศักราช 2544 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2001 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและพ.ศ. 2544 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2556

ทธศักราช 2556 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2013 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและพ.ศ. 2556 · ดูเพิ่มเติม »

พระมหากษัตริย์

กษัตริย์ หรือ พระมหากษัตริย์ คือประมุขหรือผู้ปกครองสูงสุดของรัฐ ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์หรือในราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ ปัจจุบันพระมหากษัตริย์ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มีน้อยมากซึ่งส่วนใหญ่เป็นประเทศขนาดเล็ก พระมหากษัตริย์เป็นได้ด้วยการสืบสันตติวงศ์หรือโดยการยึดอำนาจจากพระมหากษัตริย์พระองค์เดิมแล้วปราบดาภิเษกตนเองขึ้นเป็นพระมหากษัตริย์ การสืบสันตติวงศ์ของพระมหากษัตริย์จะสืบทอดต่อกันมาโดยเชื้อพระวงศ์ เรียกว่าพระราชวงศ์ เมื่อสิ้นสุดการสืบทอดโดยเชื้อพระวงศ์ด้วยเหตุใดเหตุหนึ่ง พระมหากษัตริย์พระองค์ใหม่จะเป็นตันพระราชวงศ์ใหม่ หรือเป็นผู้สถาปนาพระราชวงศ์ พระมหากษัตริย์อาจมีคำเรียกแตกต่างกัน เช่น พระราชาธิบดี พระจักรพรรดิ พระราชา เจ้ามหาชีวิต เป็นต้น กษัตริย์ ในสังคมฮินดู ยังหมายถึงวรรณะที่ 2 จาก 4 วรรณะ คือวรรณะพราหมณ์ วรรณะกษัตริย์ วรรณะแพศย์ และวรรณะศูทร.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและพระมหากษัตริย์ · ดูเพิ่มเติม »

พระมหากษัตริย์พระราชสวามี

ระมหากษัตริย์พระราชสวามี หรือ สมเด็จพระจักรพรรดิพระราชสวามี คือตำแหน่งของพระราชสวามีในสมเด็จพระราชินีนาถ หรือ สมเด็จพระจักรพรรดินีนาถ มีพระอิสริยยศสูงกว่าเจ้าชายพระราชสวามี บางครั้งก็ถึอว่าเป็นชื่อเรียกอีกอย่างของสมเด็จพระราชาธิบดี เป็นอิศริยยศที่ไม่ค่อยปรากฏ เพราะส่วนใหญ่พระสวามีของสมเด็จพระราชินีนาถจะทรงพระอิสริยศเป็นเจ้าชายพระราชสวามี อย่างไรก็ตามการสถาปนาพระมหากษัตริย์พระราชสวามีนั้นจะต้องมีความเห็นชอบจากรัฐสภาเสียก่อน เนื่องจากมีพระเกียรติยศสูงเสมอสมเด็จพระราชินีน.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและพระมหากษัตริย์พระราชสวามี · ดูเพิ่มเติม »

พระราชินีจินซองแห่งซิลลา

สมเด็จพระราชินีจินซองแห่งซิลลา (ครองราชย์ ค.ศ. 887 - ค.ศ. 897) สมเด็จพระราชินีแห่งอาณาจักรซิลลา หนึ่งใน สามก๊กแห่งเกาหลี เป็นกษัตริย์ลำดับที่ 51 แห่งอาณาจักรซิลลา สมเด็จพระราชินีจินซองเป็นพระราชธิดาของพระเจ้าคยองมุนแห่งซิลลาเป็นพระขนิษฐาของพระเจ้าฮอนคังแห่งซิลลาและพระเจ้าจองคังแห่งซิลลา พระนางขึ้นเป็นราชินีแห่งอาณาจักรซิลลาหลังจากพระเจ้าจองคังสวรรคตโดยไร้รัชทายาทเมื่อปี ค.ศ. 887 สมเด็จพระราชินีจินซองถูกบันทึกไว้ในบันทึกซัมกุก ซากิ ว่าเป็นราชินีที่ประพฤติตนผิดศีลธรรมอย่างมากเป็นราชินีที่มักมากในกามพระนางมักมีรับสั่งให้นำตัวเด็กหนุ่มวัยแรกรุ่นเข้ามาในพระราชวังบ่อยครั้งเพื่อมีความสัมพันธ์กับเด็กหนุ่มเหล่านั้นเป็นอันมาก ในตอนต้นรัชสมัยของพระนางนั้นอาณาจักรซิลลามีความวุ่นวายเกิดขึ้นเป็นอย่างมาก ทางการไม่สามารถเก็บภาษีจากราษฎรได้ ระบบการเกณฑ์ทหารของอาณาจักรซิลลาเริ่มล้มเหลว บ้านเมืองเริ่มเกิดความระส่ำระส่ายเป็นอย่างมากเกิดกบฏทั่วอาณาจักร ยางกิลได้ตั้งตนเป็นใหญ่ทางภาคตะวันตกเฉียงเหนือและทางภาคตะวันตกเฉียงใต้นั้น คยอน ฮวอน ได้ก่อกบฏและได้ก่อตั้งอาณาจักรฮูแพกเจขึ้นสถาปนาตนขึ้นเป็น พระเจ้าคยอน ฮวอน กษัตริย์พระองค์แรกแห่งอาณาจักรฮูแพกเจ ในปี ค.ศ. 895 พระนางได้ตั้ง องค์ชายคิมโย พระราชโอรสของพระเจ้าฮอนคังกับพระชายาอึยมยองขึ้นเป็นองค์รัชทายาทแห่งซิลลา และในปี ค.ศ. 897 พระนางสิ้นพระชนม์ขณะออกว่าราชการบนบัลลังก์ พระศพของพระนางได้ถูกนำไปฝั่งที่บริเวณทิศเหนือของวัดซาจาซาในเมืองคยองจู หมวดหมู่:ราชวงศ์ชิลลา หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 9.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและพระราชินีจินซองแห่งซิลลา · ดูเพิ่มเติม »

พระนางชินด็อกแห่งชิลลา

มเด็จพระราชินีชินด็อกแห่งซิลลา (ครองราชย์ ค.ศ. 647 - ค.ศ. 654) สมเด็จพระราชินีแห่งอาณาจักรซิลลา หนึ่งในสามก๊กแห่งเกาหลี กษัตริย์ลำดับที่ 28 แห่งอาณาจักรซิลลา และเป็นราชินีพระองค์ที่สองที่ปกครองของต่อจากสมเด็จพระราชินีชอนด็อกแห่งชิลลา ในรัชสมัยของพระราชินีชินด็อกแห่งซิลลา ชิลลาทำสงครามกับแพกเจ โดยได้รับการสนับสนุนจาก ราชวงศ์ถัง พระนางสามารถสร้างความเข้มแข็งให้ชิลลาและเพิ่มความในการป้องกันมากขึ้นและสร้างความความสัมพันธ์กับจีนให้มั่นคงยิ่งขึ้น ด้วยความพยายามของพระองค์จึงเป็นผู้ที่วางรากฐานสำหรับการรวมกันของทั้งสามอาณาจักร คืออาณาจักรชิลลา, อาณาจักรแพกเจและอาณาจักรโคกูรยอ.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและพระนางชินด็อกแห่งชิลลา · ดูเพิ่มเติม »

พระนางช็อนด็อกแห่งชิลลา

มเด็จพระราชินีช็อนด็อกแห่งชิลลา (Queen Seondok of Silla; 선덕여왕 善德女王; ? - ค.ศ. 647; ครองราชย์ ค.ศ. 632 – ค.ศ. 647) เป็นสมเด็จพระราชินีนาถผู้ปกครองรัชกาลที่ 27 แห่งอาณาจักรชิลลา หนึ่งในสามอาณาจักรของเกาหลี (Three Kingdoms of Korea) รัชสมัยของพระองค์เป็นช่วยเวลาแห่งความรุ่งเรืองสมัยหนึ่งของอาณาจักรชิลล.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและพระนางช็อนด็อกแห่งชิลลา · ดูเพิ่มเติม »

พระนางวิสุทธิเทวี

ระนางวิสุทธิเทวี หรือ สมเด็จเจ้าราชวิสุทธ (? — พ.ศ. 2121) เป็นขัตติยราชนารีพระองค์หนึ่งที่สำคัญพระองค์หนึ่งของอาณาจักรล้านนา และเป็นพระกษัตรีย์องค์สุดท้ายแห่งราชวงศ์มังราย ก่อนที่การปกครองอาณาจักรล้านนาจะตกไปสู่การปกครองของราชวงศ์ตองอู มหาเทวีวิสุทธิได้ให้การยอมรับอำนาจของพม่า และสนองนโยบายการขยายอำนาจจากล้านนาไปสู่กรุงศรีอยุธยา และล้านช้าง โดยใช้ล้านนาเป็นที่มั่น และส่งกองทัพเข้าร่วมรบกับเชียงใหม่ในคราวเสียกรุงศรีอ..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและพระนางวิสุทธิเทวี · ดูเพิ่มเติม »

พระนางจามเทวี

ระนางจามเทวี เป็นสตรีซึ่งปรากฏพระนามในเอกสารต่างๆ ซึ่งระบุว่าทรงเป็นปฐมกษัตริย์แห่งอาณาจักรหริภุญชัย อันเป็นอาณาจักรโบราณในภาคเหนือของประเทศไทยปัจจุบัน ตำนานต่างๆ ที่กล่าวถึงพระองค์ระบุศักราชไว้ไม่ตรงกัน ปรากฏบันทึกและการสอบศักราชโดยบุคคลต่างๆ เช่น (คัดจากหนังสือ วัฒนธรรม พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์ และภูมิปัญญา จังหวัดลำพูน พ.ศ. 2544).

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและพระนางจามเทวี · ดูเพิ่มเติม »

พระนางจิรประภาเทวี

ระนางจิรประภาเทวี (ครองราชย์ พ.ศ. 2088–2089) หรือ มหาเทวีจิรประภา (110px) เป็นพระอัครมเหสีในพระเมืองเกษเกล้า พระมหากษัตริย์ลำดับที่ 12 แห่งอาณาจักรล้านนาสืบต่อจากพระราชสวามี ซึ่งในรัชกาลของพระนางหัวเมืองฝ่ายเหนือเกิดการระส่ำระสายเนื่องจากบ้านเมืองเกิดการแย่งอำนาจระหว่างขุนนางกับเจ้านาย บ้านเมืองอ่อนแอมีศึกสงครามขนาบทั้งทิศเหนือและใต้ ทั้งกองทัพพม่า และอยุธยา ซึ่งตรงกับรัชสมัย สมเด็จพระไชยราชาธิราชแห่งกรุงศรีอยุธยาที่ยกทัพมาถึงเชียงใหม่ พระนางปกครองบ้านเมืองเพียงแค่เพียงปีเศษก็ได้สละราชบัลลังก์แก่ สมเด็จพระเจ้าไชยเชษฐาธิราช พระราชนัดดา (หลานยาย) ซึ่งเป็นพระราชโอรสของกษัตริย์โพธิสารราชแห่งอาณาจักรล้านช้าง และภายหลังพระองค์และพระราชนัดดาได้เสด็จไปประทับในนครหลวงพระบางและมิได้นิวัติกลับมายังนครเชียงใหม่อีกเลยตลอดปลายพระชนม์ชี.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและพระนางจิรประภาเทวี · ดูเพิ่มเติม »

พระนางเชงสอบู

ระนางเชงสอบู (ရှင်စောပု,; သေဝ်စါဝ်ပေါအ်; อักษรโรมัน: Shin Sawbu; ในราชาธิราชฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) ถอดเสียงเป็น แสจาโป) หรือ พระนางพระยาท้าว, ตละเจ้าปุ, พระนางพญาท้าว, ตละเจ้าท้าว และ นางพระยาตละเจ้าท้าว (ဗညားထောဝ်; อักษรโรมัน: Binnya Thau) เป็นกษัตริย์หญิงแห่งอาณาจักรมอญเพียงพระองค์เดียวที่ปกครองชาวมอญเป็นเวลา 17 ปี (พ.ศ. 1996 - 2013) และถือเป็นกษัตริย์ในราชวงศ์ฟ้ารั่วองค์สุดท้ายที่ปกครองอาณาจักรมอญ พระองค์เป็นพระราชธิดาในพระเจ้าราชาธิราช หลังจากพระเจ้าราชาธิราชเสด็จสวรรคต ได้มีกษัตริย์สืบต่อมาอีกหลายพระองค์จนสิ้นรัชทายาทที่เป็นบุรุษ จึงได้ยกพระนางขึ้นปกครองแทน.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและพระนางเชงสอบู · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าฟร็องซัวที่ 2 แห่งฝรั่งเศส

ระเจ้าฟรองซัวส์ที่ 2 แห่งฝรั่งเศส (Francis II of France) (19 มกราคม ค.ศ. 1544 - 5 ธันวาคม ค.ศ. 1560) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งฝรั่งเศสแห่งราชวงศ์วาลัวส์ ผู้ครองราชบัลลังก์ฝรั่งเศสระหว่างวันที่ 10 กรกฎาคม ค.ศ. 1559 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม ค.ศ. 1560 พระเจ้าฟรองซัวส์ที่ 2 เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 19 มกราคม ค.ศ. 1544 ที่วังฟองแตนโบลในประเทศฝรั่งเศส เป็นพระราชโอรสองค์ที่สองในพระเจ้าอองรีที่ 2 และ แคทเธอรีน เดอ เม.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและพระเจ้าฟร็องซัวที่ 2 แห่งฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์

ลตรี พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์ หรือ พระองค์จุล (28 มีนาคม พ.ศ. 2451 – 30 ธันวาคม พ.ศ. 2506) พระโอรสพระองค์เดียวในจอมพล สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ กับ หม่อมคัทริน ณ พิศณุโลก ชาวรัสเซีย ทรงสมรสกับหม่อมเอลิสะเบธ จักรพงษ์ ณ อยุธยา เมื่อวันที่ 30 กันยายน..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าวิลเลียมที่ 1 แห่งอังกฤษ

ระเจ้าวิลเลียมที่ 1 แห่งอังกฤษ (William I of England) หรือพระเจ้าวิลเลียมผู้พิชิต (William the Conqueror) หรือพระเจ้าวิลเลียมแห่งนอร์ม็องดี (William II of Normandy) หรือบ้างเรียก พระเจ้าวิลเลียมลูกนอกสมรส (William the Bastard) พระเจ้าวิลเลียมที่ 1 ประสูติเมื่อประมาณปี ค.ศ. 1027 (พ.ศ. 1570) และเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 9 กันยายน ค.ศ. 1087 (พ.ศ. 1630) ทรงเป็นลูกนอกสมรสของโรเบิร์ตที่ 2 ดยุกแห่งนอร์ม็องดีและเฮอร์เลวา เดิมทรงมีฐานะเป็นดยุกแห่งนอร์ม็องดีในฝรั่งเศส เสด็จขึ้นครองราชบัลลังก์อังกฤษเมื่อวันที่ 25 ธันวาคม ค.ศ. 1066 (พ.ศ. 1609) หลังจากที่พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดธรรมสักขีสิ้นพระชนม์เมื่อ..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและพระเจ้าวิลเลียมที่ 1 แห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าวิลเลียมที่ 3 แห่งอังกฤษ

ลายเซ็นของพระองค์ พระเจ้าวิลเลียมที่ 3 แห่งอังกฤษ (William III of England; 4 พฤศจิกายน ค.ศ. 1650 — 8 มีนาคม ค.ศ. 1702) ทรงเป็นที่รู้จักกันในนามว่า วิลเลียมที่ 2 แห่งสกอตแลนด์ และ วิลเลมที่ 3 แห่งออเรนจ์ ทรงเป็นขุนนางดัทช์ชั้นสูง และทรงเป็นศาสนิกชนนิกายโปรแตสแตนต์ เป็นพระราชโอรสของเจ้าชายวิลเลมแห่งออเรนจ์และเจ้าหญิงแมรี สจวตประสูติที่ The Hague ภายหลัง 8 วันจากที่พระองค์ประสูติ พระบิดาของพระองค์ก็สวรรคตด้วยไข้ทรพิษ ดังนั้นจึงทำให้พระเจ้าวิลเลียมทรงกลายเป็นเจ้าชายผู้ทรงอำนาจสูงสุดนับตั้งแต่ถือกำเนิดเลยทีเดียวก็ว่าได้ ต่อมาเมื่อวันที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2203 เมื่อพระเจ้าวิลเลียมมีพระชนมายุได้ราวสิบกว่าพรรษา พระราชมารดาก็สวรรคตด้วยไข้ทรพิษในระหว่างที่ทรงเยี่ยมพระเจ้าชาลส์ที่ 2 แห่งอังกฤษพระเชษฐาของพระองค์ โดยก่อนที่จะสิ้นพระชนม์ลงได้ทรงตัดสินใจให้พระเจ้าชาลส์เป็นผู้ปกครอง โดยพระเจ้าชาลส์นั้นได้ทรงมอบหน้าที่ให้เป็นของเจ้าหญิงอมาเลีย เนื่องจากทรงเข้าใจในพระราชประสงค์ของพระเจ้าชาลส์เป็นอย่างดี และพระองค์ก็มิได้ทรงละเลยในการเขียนจดหมายติดต่อถึงหลานชายแต่อย่างใด ในปี พ.ศ. 2217 พระองค์ได้มีความพยายามในการที่จะสมรสกับแมรีหลานสาวของพระองค์เอง ซึ่งแมรี่เป็นธิดาของพระเจ้าเจมส์ที่ 2 แห่งอังกฤษ การสมรสนี้แม้นว่าเป็นไปอย่างยาก ลำบากมากก็ตาม แต่ในที่สุดก็ทรงได้เข้าพิธีอภิเษกสมรสในปี พ.ศ. 2220 พระองค์ได้ทรงเข้าไปมีส่วนร่วมในสงครามที่ต่อต้านอำนาจพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศสหลายต่อหลายครั้งด้วยกัน เหล่าสมาชิกนิกายโปรแตสแตนต์ถึงกับได้มอบเหรียญตราและเครื่องราชอิสริยาภรณ์เนื่องจากเลื่อมใสศรัทธาในพระองค์ แต่นั่นก็เป็นเพียงแค่บางส่วนเท่านั้น ชื่อเสียงและกิตติศัพท์ของพระองค์ทำให้พระองค์ทรงได้รับการสถาปนาเป็นพระมหากษัตริย์อังกฤษในเวลาต่อมา ถึงแม้ว่าจะมีเหตุผลอื่น ในการประสบความสำเร็จของพระองค์จะเป็นในด้านการทหาร หรือกองเรือรบที่มีขนาดใหญ่ที่สุดก็ตาม พระองค์สวรรคตในปี พ.ศ. 2245 ด้วยโรคปอดอักเสบ อันเนื่องจากการที่พระองค์ทรงตกจากม้าของพระองค์เอง และเป็นที่เชื่อกันว่าม้าของพระองค์ นั้นได้ก้าวเท้าพลาดไปสะดุดกับรังของตัวตุ่นเข้า และนี่คงเป็นเหตุผลหนึ่งของที่มา ในการดื่มอวยพร Make a toasted ซึ่งมักจะมีการนิยมกล่าวกันในระหว่างที่ดื่มอวยพรว่า "the little gentleman in the black velvet waistcoat." และในปีถัดมา ท่านเซอร์วินสตัน เชอร์ชิล ก็ได้เพิ่มเติมลงไปอีกว่า "opened the trapdoor to a host of lurking foes".

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและพระเจ้าวิลเลียมที่ 3 แห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าวิลเลียมที่ 4 แห่งสหราชอาณาจักร

ระเจ้าวิลเลียมที่ 4 (William IV) (21 สิงหาคม ค.ศ. 1765 – 20 มิถุนายน ค.ศ. 1837) เป็นพระมหากษัตริย์แห่งสหราชอาณาจักรและราชอาณาจักรฮันโนเวอร์ สมัยราชวงศ์แฮโนเวอร์ แห่งระหว่างปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและพระเจ้าวิลเลียมที่ 4 แห่งสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 6 แห่งอังกฤษ

ระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 6 แห่งอังกฤษ ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งอังกฤษและไอร์แลนด์ ตั้งแต่วันที่ 28 มกราคม..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 6 แห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าเฮนรีที่ 1 แห่งอังกฤษ

ระเจ้าเฮนรีที่ 1 แห่งอังกฤษ (Henry I of England) (ราว ค.ศ. 1068/ค.ศ. 1069 – 1 ธันวาคม ค.ศ. 1135) เป็นพระเจ้าแผ่นดินของราชอาณาจักรอังกฤษในราชวงศ์นอร์มัน พระเจ้าเฮนรีที่ 1 เสด็จพระราชสมภพราว ค.ศ. 1068/ค.ศ. 1069 ที่เซลบี ในยอร์กเชอร์ ในประเทศอังกฤษ เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่สี่ในพระเจ้าวิลเลียมที่ 1 แห่งอังกฤษและพระนางมาทิลดาแห่งแฟลนเดิร์ส เป็นพระราชโอรสพระองค์แรกของพระเจ้าวิลเลียมที่เกิดหลังจากทรงได้รับชัยชนะในการรุกรานอังกฤษ และทรงราชย์หลังจากพระเจ้าวิลเลียมที่ 2 พระเชษฐาธิราชระหว่างวันที่ 3 สิงหาคม ค.ศ. 1100 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 1 ธันวาคม ค.ศ. 1135 ที่ลียง ลา ฟอเรสต์, นอร์ม็องดี ประเทศฝรั่งเศส ในปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและพระเจ้าเฮนรีที่ 1 แห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าเฮนรีที่ 2 แห่งอังกฤษ

ระเจ้าเฮนรีที่ 2 แห่งอังกฤษ (Henry II of England หรือ “Curtmantle”) (25 มีนาคม ค.ศ. 1133 – 6 กรกฎาคม ค.ศ. 1189) เป็นพระเจ้าแผ่นดินราชอาณาจักรอังกฤษองค์แรกในสมัยราชวงศ์แพลนแทเจเนต.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและพระเจ้าเฮนรีที่ 2 แห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าเฮนรีที่ 7 แห่งอังกฤษ

ระเจ้าเฮนรีที่ 7 แห่งอังกฤษ (Henry VII of England) (28 มกราคม ค.ศ. 1457 – 21 เมษายน ค.ศ. 1509) เป็นพระเจ้าแผ่นดินราชอาณาจักรอังกฤษสมัยราชวงศ์ทิวดอร์ ระหว่างปี ค.ศ. 1485 ถึงปี ค.ศ. 1509.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและพระเจ้าเฮนรีที่ 7 แห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

กฎหมายแซลิก

ระเจ้าโคลวิสที่ 1 แห่งฝรั่งเศสทรงแถลงกฎหมายแซลิก ท่ามกลางแม่ทัพนายกองของพระองค์ กฎหมายแซลิก (Lex Salica; Salic law) หรือ ประชุมกฎหมายอนารยชน (Code of the Barbaric Laws) เป็นกลุ่มกฎหมายเกี่ยวกับชนชาติแฟรงค์แซเลียน (Salian Franks) เมื่อต้นยุคกลางระหว่างรัชสมัยของพระเจ้าโคลวิสที่ 1 แห่งฝรั่งเศสในคริสต์ศตวรรษที่ 6 โดยสันนิษฐานกันว่ากฎหมายแซลิกรวบรวมขึ้นระหว่างปี ค.ศ. 507 ถึงปี ค.ศ. 511.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและกฎหมายแซลิก · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพ

กรุงเทพ อาจหมายถึง; ดินแดนและการปกครอง.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและกรุงเทพ · ดูเพิ่มเติม »

กษัตรีองค์มี

กษัตรีองค์มี หรือ พระองค์เจ้าหญิงมี หรือ นักองค์เม็ญศานติ ภักดีคำ ผ. ดร.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและกษัตรีองค์มี · ดูเพิ่มเติม »

การล้มล้างราชอาณาจักรฮาวาย

การล้มล้างราชอาณาจักรฮาวาย (Overthrow of the Kingdom of Hawaii) เป็นการปฏิวัติที่เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 17 มกราคม ค.ศ. 1893 เป็นการล้มล้างระบอบราชาธิปไตยของราชอาณาจักรฮาวาย คณะปฏิวัติคือ ทหารจากสหรัฐอเมริกาและพ่อค้าชาวยุโรปและอเมริกา เพื่อล้มราชบัลลังก์ของสมเด็จพระราชินีนาถลีลีโอกาลานีแห่งฮาวาย กษัตริย์ของชาวพื้นเมือง และจัดตั้งสาธารณรัฐฮาวายขึ้น แต่เป้าหมายสูงสุดของการปฏิวัติคือการผนวกฮาวายรวมเข้ากับประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งก็ประสบความสำเร็จในปี 1898.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและการล้มล้างราชอาณาจักรฮาวาย · ดูเพิ่มเติม »

กาตาลินาแห่งอารากอน พระราชินีแห่งอังกฤษ

ระนางกาตาลินาแห่งอารากอน (Catalina de Aragón; Catherine of Aragon, Katharine of Aragon; พ.ศ. 2028 — พ.ศ. 2079) พระราชินีแห่งอังกฤษ พระมเหสีพระองค์แรกในพระเจ้าเฮนรีที่ 8 แห่งอังกฤษ (พ.ศ. 2052-2090) อภิเษกสมรสครั้งแรกในปี พ.ศ. 2044 กับเจ้าชายอาร์เธอร์ พระโอรสในพระเจ้าเฮนรีที่ 7 แห่งอังกฤษ (พ.ศ. 2029-2045) แต่เมื่อพระสวามีสิ้นพระชนม์เสียตั้งแต่ยังทรงพระเยาว์ เจ้าหญิงกาตาลินาก็ได้ทรงรับหมั้นกับเจ้าชายที่เป็นน้องสามี ซึ่งต่อมาคือพระเจ้าเฮนรีที่ 8 ในขณะที่มีพระชนมายุเพียง 11 ขวบ และได้อภิเษกสมรสกันในเวลาต่อมาเมื่อ..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและกาตาลินาแห่งอารากอน พระราชินีแห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

มาทิลดาแห่งแฟลนเดิร์ส สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษ

มเด็จพระราชินีมาทิลดา แห่งฟลานเดอร์ (Matilda of Flanders) ประสูติเมื่อราว ค.ศ. 1028 และสิ้นพระชนม์ใน ค.ศ. 1083 เป็นพระชายาใน สมเด็จพระเจ้าวิลเลียมที่ 1 แห่งอังกฤษ อภิเษกสมรสในปี ค.ศ. 1052 และเป็นพระมารดาของสมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 1 เป็นพระชายาเพียงพระองค์เดียวของสมเด็จพระเจ้าวิลเลียมที่ 1.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและมาทิลดาแห่งแฟลนเดิร์ส สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐฮาวาย

รัฐฮาวาย (Hawaii,, ภาษาฮาวาย: Hawaii) เป็นรัฐในสหรัฐอเมริกาตั้งอยู่ในหมู่เกาะฮาวายในมหาสมุทรแปซิฟิก ฮาวายได้รวมเข้ากับสหรัฐอเมริกาเป็นลำดับสุดท้ายคือลำดับที่ 50 ในวันที่ 21 สิงหาคม พ.ศ. 2502 (ค.ศ. 1959) โดยฮาวายตั้งห่างจากชายฝั่งสหรัฐอเมริกาประมาณ 3,700 กม.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและรัฐฮาวาย · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรฮาวาย

ราชอาณาจักรฮาวาย (Kingdom of Hawaii) เป็นราชอาณาจักรที่ตั้งอยู่บนหมู่เกาะฮาวาย ที่ก่อตั้งขึ้นเมื่อประมาณปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและราชอาณาจักรฮาวาย · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามเจ้าผู้ครองราชรัฐลักเซมเบิร์ก

ประเทศลักเซมเบิร์กปกครองโดยเจ้าผู้ครองราชรัฐซึ่งมีฐานันดรศักดิ์เป็นเคานต์ ดยุก และแกรนด์ดยุก ตามลำดับ ในอดีตเป็นรัฐนี้ส่วนหนึ่งของราชอาณาจักรเยอรมนีและจากนั้นเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ จนกระทั่งได้ปกครองตนเองในปี พ.ศ. 2358.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและรายพระนามเจ้าผู้ครองราชรัฐลักเซมเบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

ลักเซมเบิร์ก

ลักเซมเบิร์ก (Luxembourg) อาจหมายถึง.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและลักเซมเบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินี

ระราชินีแมรี ในวันพระราชพิธีบรมราชาภิเษกในปี พ.ศ. 2454 สมเด็จพระราชินี (Queen Consort) เป็นพระอิสริยยศสำหรับพระอัครมเหสีของสมเด็จพระราชาธิบดีที่ยังครองราชสมบัติอยู่ สมเด็จพระราชินีโดยมากจะทรงมีฐานันดรศักดิ์เทียบเท่าพระราชสวามี (ทั้งระบอบราชาธิปไตยที่ใช้กฎหมายซาลิก หรือ กึ่งซาลิก) และดำรงพระอิสริยยศสำหรับพระมเหสีซึ่งเทียบเท่าพระอิสริยยศกษัตริย์ของพระราชสวามีด้วย โดยส่วนใหญ่แล้วสมเด็จพระราชินีจะไม่ทรงอำนาจทางการเมืองการปกครองใดทั้งสิ้น.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและสมเด็จพระราชินี · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถชาร์ลอตต์แห่งไซปรัส

มเด็จพระราชินีนาถชาร์ลอตต์แห่งไซปรัส (28 มิถุนายน 1444 – 16 กรกฎาคม 1487) เป็น สมเด็จพระราชินีนาถแห่งไชปรัสและเจ้าหญิงแห่งแอนติออก และพระองค์ยังทรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระราชินีแห่งเยรูซาเล็มและอาร์เมเนียด้วย สมเด็จพระราชินีนาถชาร์ลอตต์ เป็นพระราชธิดาองค์โตและพระองค์องค์เดียวที่ยังทรงพระชนม์ของพระเจ้าจอห์นที่ 2 แห่งไซปรัสกับเฮเลนา ปาลาอิโอจินา ขณะที่พระองค์มีพระชนมายุได้ 14 พรรษา พระองค์ก็ได้ครองราชย์บัลลังก์ไชปรัสหลังการสวรรคตของพระราชบิดาของพระองค์ในปี 1458 พระเชษฐาต่างพระมารดาของพระองค์พระเจ้าเจมส์ที่ 2 แห่งไซปรัส ได้ชิงบรรลังก์จากพระองค์ด้วยการสนับสนุนของชาวอียิปต์ พระองค์ถูกบีบบังคับให้ออกจากเกาะในปี 1463 พระองค์ทรงมีความพยายามที่จะกลับมาครองราชย์บัลลังก์อีกครั้ง แต่ก็ไม่ประสบความสำเร็จ พระองค์เสด็จสิ้นพระชนม์ที่กรุงโรม อิตาลีWomen of History – C date.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและสมเด็จพระราชินีนาถชาร์ลอตต์แห่งไซปรัส · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถมารีอาที่ 1 แห่งโปรตุเกส

มเด็จพระราชินีนาถมารีอาที่ 1 แห่งโปรตุเกส (17 ธันวาคม พ.ศ. 2277 - 20 มีนาคม พ.ศ. 2359,พระนามเต็ม: มารีอา ฟรานซิสกา อิซาเบล โจเซฟา แอนโทเนีย เจอร์ทรูด ริตา ฮวนนา) ทรงเป็นสมเด็จพระราชินีนาถแห่งโปรตุเกสและแอลการ์ฟ ตั้งแต..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและสมเด็จพระราชินีนาถมารีอาที่ 1 แห่งโปรตุเกส · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถมารีอาที่ 2 แห่งโปรตุเกส

มเด็จพระราชินีนาถมารีอาที่ 2 แห่งโปรตุเกส ("Maria II de Portugal") (4 เมษายน 1819 - 15 พฤศจิกายน 1853) ทรงเป็นสมเด็จพระราชินีนาถแห่งโปรตุเกส พระนางเป็นพระราชธิดาของพระเจ้าเปดรูที่ 4กับอาร์ชดัชเชสมาเรีย ลีโอโพลดีนาแห่งออสเตรีย อภิเสกสมรสครั้งแรกกับออกุสต์ เดอ โบฮาร์เนส์ ดยุคแห่งเลาช์เทนเบิร์ก ครั้งที่สองกับเจ้าชายเฟอร์ดินานด์แห่งแซ็กซ์-โคบูร์กและก็อตธา พระนางครองราชสมบัติสองครั้ง ครั้งแรกเมื่อ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2369 - 30 มิถุนายน พ.ศ. 2371 ครั้งที่สองเมื่อ 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2377 - 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2396.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและสมเด็จพระราชินีนาถมารีอาที่ 2 แห่งโปรตุเกส · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถมาร์กาเร็ตแห่งสกอตแลนด์

สมเด็จพระราชินีนาถมาร์กาเร็ตแห่งสก็อตแลนด์ หรือ มาร์กาเร็ต ราชนารีแห่งนอร์เวย์ (Margaret, Maid of Norway) (9 เมษายน 1283 ถึง 26 กันยายน 1290) เป็น สมเด็จพระราชินีนาถแห่งสก็อตแลนด์ และ เจ้าหญิงนอร์เวย์ ยังเป็นที่รู้จักกันในนามมาร์กาเร็ตแห่งสกอตแลนด์ (นอร์เวย์: Margrete AV Skottland) และราชินีของนอร์เวย์ (นอร์เวย์: Jomfruen AV Norge) มาร์กาเร็ตทรงเป็นราชินีตั้งแต่ปี 1286 จนกระทั่งพระองค์สวรรคตในปี 1290 ในขณะที่เส้นทางที่จะเสด็จไป สก็อตแลนด์ รวมพระชนมายุได้เพียง 7 พรรษา การสวรรคตของพระองค์นำไปสู่ ​​สงครามประกาศอิสรภาพสกอตแลนด์ พระองค์เป็นพระราชธิดาของกษัตริย์อีริคที่ 2 แห่งนอร์เวย์ และ มาร์กาเร็ต ธิดาของกษัตริย์ อเล็กซานเดอร์ที่ 3 แห่งสกอตแลนด์ มาร์กาเร็ตประสูติเมื่อวันที่ 9 เมษายน 1283 ใน ทอนส์เบิร์ก พระราชมารดาของพระองค์สิ้นพระชนม์เมื่อพระองค์ประสูติ หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์สวีเดน หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์นอร์เวย์ หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์สกอตแลนด์ หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์ที่สวรรคตขณะทรงพระเยาว์.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและสมเด็จพระราชินีนาถมาร์กาเร็ตแห่งสกอตแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 1 แห่งเดนมาร์ก

มเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธที่ 1 แห่งเดนมาร์ก (Queen Margaret I of Denmark) เป็นพระราชินีนาถแห่งเดนมาร์ก, นอร์เวย์และสวีเดน และผู้ก่อตั้งสหภาพคาลมาร์ ซึ่งปกครองประเทศแถบสแกนดิเนเวียเป็นเวลากว่าหนึ่งศตวรรษ พระนามของพระองค์ในเดนมาร์กได้มาจากพระบิดาของพระองค์ สมเด็จพระเจ้าวัลเดมาร์ที่ 4 พระองค์ได้เป็นสมเด็จพระราชินีนาถแห่งนอร์เวย์และสวีเดนโดยอาศัยอำนาจในการที่พระองค์อภิเสกสมรสกับสมเด็จพระเจ้าโฮกุนที่ 6.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและสมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 1 แห่งเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 แห่งเดนมาร์ก

มเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 แห่งเดนมาร์ก (Queen Margrethe II of Denmark; มาร์เกรเธอ อเล็กซานดรีน ธอร์ฮิลดูร์ อิงกริด; พระราชสมภพ 16 เมษายน พ.ศ. 2483) เป็นสมเด็จพระราชินีนาถแห่งราชอาณาจักรเดนมาร์ก ในฐานะที่เป็นพระราชธิดาองค์โตในสมเด็จพระเจ้าเฟรเดอริกที่ 9 แห่งเดนมาร์กกับเจ้าหญิงอิงกริดแห่งสวีเดน พระนางทรงสืบราชบัลลังก์เดนมาร์กหลังจากการเสด็จสวรรคตของพระราชบิดาในวันที่ 14 มกราคม..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและสมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 แห่งเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถยูเลียนาแห่งเนเธอร์แลนด์

้าหญิงยูเลียนาเมื่อทรงพระเยาว์ เจ้าหญิงยูเลียนาและพระราชมารดา เจ้าหญิงยูเลียนา พ.ศ. 2480 สมเด็จพระราชินีนาถยูเลียนาแห่งเนเธอร์แลนด์ หรือพระนามเต็ม ยูเลียนา เอ็มมา หลุยส์ มารี วิลเฮลมินา ฟาน ออรันเย-นัสเซา (Queen Juliana of the Netherlands,; 30 เมษายน พ.ศ. 2452 - 20 มีนาคม พ.ศ. 2547) เป็นพระราชินีนาถแห่งราชอาณาจักรเนเธอร์แลนด์ตั้งแต่การสละราชสมบัติของพระราชชนนีในปี พ.ศ. 2491 จนถึงการสละราชสมบัติของพระองค์เองในปี พ.ศ. 2523 และทรงเป็นสมเด็จพระราชชนนีตั้งแต่ พ.ศ. 2523 ถึง พ.ศ. 2547 พระอิสริยยศเดิมก่อนเสวยราชสมบัติคือ เจ้าฟ้าหญิงยูเลียนาแห่งเนเธอร์แลนด์ (HRH Princess Juliana of the Netherlands).

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและสมเด็จพระราชินีนาถยูเลียนาแห่งเนเธอร์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถราฟอไฮแห่งอาราโซรา

มเด็จพระราชินีนาถราฟอไฮแห่งอาราโซรา (Queen Rafohy of Alasora)เป็นสมเด็จพระราชินีนาถแห่งอาราโซรา พระองค์ปกครองอาณาจักรในตอนกลางของมาดากัสการ์ พระองค์ครองราชย์ต่อจากพระราชมารดาของพระองค์สมเด็จพระราชินีนาถรานจิตาแห่งเมรีมันจากา ผู้เป็นสมเด็จพระราชินีนาถแห่งเมรีมันจากา และผู้ที่ครองราชย์ต่อจากพระองค์ หลังจากที่พระองค์สวรรคตคือพระเจ้าอันเดรียนมาเนโลพระราชโอรสของพระอง.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและสมเด็จพระราชินีนาถราฟอไฮแห่งอาราโซรา · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถราซอเฮอรินาแห่งมาดากัสการ์

มเด็จพระราชินีนาถราซอเฮอรินาแห่งมาดากัสการ์(อังกฤษ:Rasoherina หรือ Rasoaherina) (พ.ศ. 2357 - 1 เมษายน พ.ศ. 2411) ทรงเป็นสมเด็จพระราชินีนาถแห่งมาดากัสการ์ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและสมเด็จพระราชินีนาถราซอเฮอรินาแห่งมาดากัสการ์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถรานาวาโลนาที่ 1 แห่งมาดากัสการ์

มเด็จพระราชินีนาถรานาวาโลนาที่ 1 แห่งมาดากัสการ์ (Ranavalona I; ประมาณ ค.ศ. 1828 – 16 สิงหาคม ค.ศ. 1861) พระนามเดิมว่า รามาโว (Ramavo) หรือ รานาวาโล-มันจากาที่ 1 (Ranavalo-Manjaka I) เป็นพระประมุขของราชอาณาจักรมาดากัสการ์ ในช่วงปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและสมเด็จพระราชินีนาถรานาวาโลนาที่ 1 แห่งมาดากัสการ์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถรานาวาโลนาที่ 2 แห่งมาดากัสการ์

มเด็จพระราชินีนาถรานาวาโลนาที่ 2 แห่งมาดากัสการ์ (อังกฤษ:Ranavalona II)(พ.ศ. 2372 - 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2426) ทรงเป็นสมเด็จพระราชินีนาถแห่งมาดากัสการ์ในระหว่างปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและสมเด็จพระราชินีนาถรานาวาโลนาที่ 2 แห่งมาดากัสการ์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถรานาวาโลนาที่ 3 แห่งมาดากัสการ์

มเด็จพระราชินีรานาวาโลนาที่ 3 แห่งมาดากัสการ์ หรือ รานาวาโล มันจากาที่ 3 (22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2404 — 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2460) ทรงเป็นสมเด็จพระราชินีนาถพระองค์สุดท้ายแห่งอาณาจักรเมรีนาหรือประเทศมาดากัสการ์ปัจจุบัน ตั้งแต..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและสมเด็จพระราชินีนาถรานาวาโลนาที่ 3 แห่งมาดากัสการ์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถรานจิตาแห่งเมรีมันจากา

มเด็จพระราชินีนาถรานจิตาแห่งเมรีมันจากา (Queen Rangita of Merimanjaka) หรืออีกพระนามหนึ่งคือ สมเด็จพระราชินีนาถรานจิตาแมนจากาทริโมฟาวี (Queen Rangitamanjakatrimovavy) เป็นสมเด็จพระราชินีนาถแห่งเมรีมันจากา พระองค์ปกครองอาณาจักรในที่ราบสูงตอนกลางของมาดากัสการ์ พระองค์ครองราชย์ต่อจากพระราชบิดาของพระองค์พระเจ้าอันเดรียนมพันดรามาเนนิทรา และผู้ที่ครองราชย์ต่อจากพระองค์ หลังจากที่พระองค์สิ้นพระชนม์คือสมเด็จพระราชินีนาถราฟอไฮแห่งอาราโซราพระราชธิดาของพระองค์ (ข้อมูลบางแหล่งกล่าวว่าคือพระขนิษฐาบุญธรรม).

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและสมเด็จพระราชินีนาถรานจิตาแห่งเมรีมันจากา · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถลีลีโอกาลานีแห่งฮาวาย

มเด็จพระราชินีนาถลีลีโอกาลานีแห่งฮาวาย (Queen Liliuokalani of Hawaii) (2 กันยายน พ.ศ. 2381 - 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2460) ทรงเป็นสมเด็จพระราชินีนาถแห่งราชอาณาจักรฮาวาย มีพระนามเดิมว่า ลิเดีย ลิลิอู โลโลกู วาลาเนีย เวเวฮิ คามาคาเอฮา อา คาปาอาเคอา เมื่อทรงได้เข้าเป็นส่วนหนึ่งของราชวงศ์มีพระนามว่า เจ้าหญิงลีลีโอกาลานี หลังจากทรงอภิเษกสมรสก็มีพระนามว่า ลิเดีย เค โดมิน.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและสมเด็จพระราชินีนาถลีลีโอกาลานีแห่งฮาวาย · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร

มเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย พระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักรในช่วงระหว่าง 20 มิถุนายน..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถวิลเฮลมินาแห่งเนเธอร์แลนด์

้าหญิงวิลเฮลมินาและพระมารดาราชินีเอ็มม่าแห่งวัลเด็คและไพร์มอนต์ สมเด็จพระราชินีนาถวิลเฮลมินาแห่งเนเธอร์แลนด์ (HM Queen Wilhelmina of the Netherlands, วิลเฮลมินา เฮเลนา พอลีน มารี ฟาน ออรันเย-นัสเซา; 31 สิงหาคม พ.ศ. 2423 - 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2505) พระองค์ทรงเป็นธิดาของสมเด็จพระราชาธิบดีวิลเล็มที่ 3 แห่งเนเธอร์แลนด์ และ สมเด็จพระราชินีนาถเอ็มมาแห่งวัลเด็คและไพร์มอนต์ พระนางทรงเป็นสมเด็จพระราชินีนาถแห่งราชอาณาจักรเนเธอร์แลนด์ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2433 ถึงปี พ.ศ. 2491 และสมเด็จพระราชชนนี (พระอิสริยยศ เจ้าหญิง) ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและสมเด็จพระราชินีนาถวิลเฮลมินาแห่งเนเธอร์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถอูลริกาแห่งสวีเดน

มเด็จพระราชินีนาถอูลริกาแห่งสวีเดน (23 มกราคม 1688 – 24 พฤศจิกายน 1741) ทรงเป็นสมเด็จพระราชินีนาถแห่งสวีเดน ที่ปกครองสวีเดนระหว่าง 5 ธันวาคม ค.ศ. 1718 ถึง 29 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1720 พระนางเป็นพระราชธิดาของพระเจ้าคาร์ลที่ 11 และ สมเด็จพระราชินีอัลริกา เอเลอโนรา พระนางปกครองสวีเดนต่อจากพระเจ้าคาร์ลที่ 12 พระเชษฐาของพระนาง และพระนางก็สละราชสมบัติให้พระเจ้าเฟรเดอริกที่ 1 พระราชสวามี และปกครองสวีเดนในฐานะสมเด็จพระราชินี.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและสมเด็จพระราชินีนาถอูลริกาแห่งสวีเดน · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถอีซาเบลที่ 1 แห่งคาสตีล

มเด็จพระราชินีนาถอีซาเบลที่ 1 แห่งคาสตีล (Isabel I de Castilla; Isabella I of Castile22 เมษายน พ.ศ. 1994-26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2047) เป็นพระราชินีนาถแห่งคาสตีลและเลออนในราชวงศ์ตรัสตามารา พระนางและพระเจ้าเฟร์นันโดที่ 2 แห่งอารากอน พระราชสวามี ได้วางรากฐานในการรวมสเปนให้สืบต่อไปจนถึงรุ่นหลาน คือจักรพรรดิคาร์ลที่ 5 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ทั้งสองได้เป็นขั้วอำนาจที่ยิ่งใหญ่ในการยึดดินแดนสเปนกลับคืนมาจากพวกมัวร์และได้กระทำการรวมชาติสเปนเป็นปึกแผ่น พระนางทรงอนุมัติให้คริสโตเฟอร์ โคลัมบัสไปแสวงหาดินแดนโพ้นทะเลและจนสำรวจพบทวีปอเมริกา พระนางจัดได้ว่าเป็นนักปกครองที่ได้รับการกล่าวชื่อในประวัติศาสตร์ พระนางได้ทำให้ศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิกเจริญอย่างมากในสเปนและพระนางทำให้กรานาดาในการปกครองของมุสลิมมัวร์ยินยอมส่งเครื่องบรรณาการต่อพระองค์ ต่อมาพระนางได้ทำการยึดครองกรานาดาได้สำเร็จ และยึดครองนาวาร์ได้ในปี พ.ศ. 2055 แล้ว คำว่า สเปน (España) ก็เริ่มถูกนำมาใช้เพื่อเรียกชื่อของราชอาณาจักรที่รวมกันใหม่นี้ การรวมเป็นหนึ่งเดียวของราชอาณาจักรคาสตีล ราชอาณาจักรอารากอน และราชอาณาจักรนาวาร์ได้วางรากฐานให้กับการเกิดสเปนสมัยใหม่และจักรวรรดิสเปน (Spanish Empire) สเปนกลายเป็นผู้นำอำนาจของยุโรปตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 16 จนถึงครึ่งแรกของคริสต์ศตวรรษที่ 17 เนื่องมาจากการปรับปรุงด้านการเมือง สังคม และการทหารในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 15 การขยายตัวของผลผลิตที่ได้จากเหมืองแร่เงินในทวีปอเมริกาในกลางคริสต์ศตวรรษที่ 16 ก็ยิ่งเสริมตำแหน่งมหาอำนาจให้มั่นคงขึ้นอีก.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและสมเด็จพระราชินีนาถอีซาเบลที่ 1 แห่งคาสตีล · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถอีซาเบลที่ 2 แห่งสเปน

มเด็จพระราชินีนาถอีซาเบลที่ 2 แห่งสเปน (Isabel II de España) (10 ตุลาคม 1830 - 10 เมษายน 1904) เป็นสมเด็จพระราชินีนาถพระองค์เดียวของสเปน พระนางเป็นพระราชธิดาในพระเจ้าเฟร์นันโด และสมเด็จพระราชินีมาเรีย คริสตีน่า พระนางปกครองสเปนต่อจากพระเจ้าเฟร์นันโดที่ 7 พระราชบิดา หลังจากนั้นพระนางก็ทรงถูกถอดจากราชสมบัติในการปฏิวัติอันรุ่งโรจน์เมื่อปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและสมเด็จพระราชินีนาถอีซาเบลที่ 2 แห่งสเปน · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถคริสตีนาแห่งสวีเดน

มเด็จพระราชินีนาถคริสติน่าแห่งสวีเดน เป็นพระราชธิดาใน สมเด็จพระราชาธิบดีกุสตาฟ อดอล์ฟที่ 2 แห่งสวีเดน ประสูติในปี ค.ศ. 1626 ในพระราชวังสตอกโฮลม์ ประเทศสวีเดน พระนางมีบุคลิกลักษณะเหมือนผู้ชายมากกว่าผู้หญิง โปรดการทรงม้า การลุกนั่งแบบผู้ชายและฉลองพระองค์สั้นผู้รับใช้เบื้องพระยุคลบาทเรียกพระนางว่า เจ้าชายคริสติน.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและสมเด็จพระราชินีนาถคริสตีนาแห่งสวีเดน · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถฆัวนาแห่งกัสติยา

มเด็จพระราชินีนาถฆัวนาแห่งกัสติยา (Juana I de Castilla) หรือที่เรียกว่า ฆัวนาผู้บ้าคลั่ง (Juana la Loca) เป็นพระราชธิดาในพระเจ้าเฟร์นันโดที่ 2 แห่งอารากอน และ สมเด็จพระราชินีอิซาเบลลาที่ 1 แห่งกัสติยา เมื่อมีพระชนมายุ 16 พรรษา ทรงอภิเษกสมรสกับเจ้าชายฟิลิปแห่งออสเตรีย พระราชโอรสในสมเด็จพระจักรพรรดิแม็กซิมิเลียนที่ 1 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ และพระนางมารี เดอ บูร์กอญ การอภิเษกสมรสเป็นไปเพื่อการสร้างความมั่นคงทางการเมืองของสเปน สานความสัมพันธ์กับราชวงศ์ต่าง ๆ ในยุโรปเช่นเดียวกันกับการอภิเษกสมรสของพระโอรสธิดาองค์อื่น.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและสมเด็จพระราชินีนาถฆัวนาแห่งกัสติยา · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถซาโลเต ตูโปอูที่ 3 แห่งตองงา

สมเด็จพระราชินีนาถซาโลเต ตูโปอูที่ 3 แห่งตองกา ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ องค์ที่ 3 แห่งราชวงศ์ตูโปอู และทรงเป็น สมเด็จพระราชินีนาถแห่งตองกา เพียงพระองค์เดียว ทรงพระราชสมภพเมื่อวันที่ 13 มีนาคม พ.ศ. 2443 เป็นพระราชธิดาในพระเจ้าจอร์จ ตูโปอูที่ 2และสมเด็จพระราชินีลาวิเนีย เวอิออนโก ทรงเป็นกษัตริย์นักพัฒนา ทรงพัฒนาธุรกิจและเสริมสร้างความสัมพันธ์ระหว่างประเทศถือเป็นกษัตริย์นักพัฒนาอีกพระองค์หนึ่งนอกจากพระเจ้าจอร์จ ตูโปอูที่ 1 จึงทำให้ยุคของพระนางเป็นยุคทองของประเทศตองงา นอกจากรัชสมัยของพระเจ้าจอร์จ ตูโปอูที่ 1 พระองค์ทรงอภิเษกสมรสกับ วิเลียมี ตังกิ ไมเลฟีฮี พระองค์ทรงขึ้นครองราชย์ในวันที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2461 และสวรรคตในวันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2508 สมเด็จพระราชินีนาถซาโลเต ตูโปอูที่ 3 ซาโลเต หมวดหมู่:สมเด็จพระราชินีนาถ หมวดหมู่:ผู้ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์จีบีอี.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและสมเด็จพระราชินีนาถซาโลเต ตูโปอูที่ 3 แห่งตองงา · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 1 แห่งสกอตแลนด์

มเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 1 (Mary I) หรือ แมรี สจวต (Mary Stuart) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งสกอตแลนด์ระหว่าง..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและสมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 1 แห่งสกอตแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 1 แห่งอังกฤษ

มเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 1 แห่งอังกฤษ (Mary I of England, 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2059 - 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2101) ทรงเป็นสมเด็จพระราชินีนาถแห่งอังกฤษ สมเด็จพระราชินีนาถแห่งไอร์แลนด์ สมเด็จพระราชินีแห่งอรากอน คาสตีลและเนเปิล และสมเด็จพระราชินีแห่งเนเธอร์แลนด์ เมื่อวันที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2096 จนกระทั่งเสด็จสวรรคต สมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 1 ทรงเป็นกษัตริย์องค์ที่ 4 ในราชวงศ์ทิวดอร์ เป็นผู้ซึ่งฟื้นฟูศาสนาคริสต์ นิกายโรมันคาทอลิกในอังกฤษ พระนางได้ดำเนินการเผาเหล่าบุคคลต่างศาสนา ต่างนิกายกว่า 300 คนทั้งเป็น ซึ่งเป็นที่มาของชื่อว่า แมรีบ้าเลือด หรือ แมรีผู้กระหายเลือด (Bloody Mary).

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและสมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 1 แห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 2 แห่งอังกฤษ

มเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 2 แห่งอังกฤษ (Mary II of England) (30 เมษายน ค.ศ. 1662 – 28 ธันวาคม ค.ศ. 1694) เป็นพระเจ้าแผ่นดินแห่งราชวงศ์สจวตของราชอาณาจักรอังกฤษและไอร์แลนด์ระหว่างปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและสมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 2 แห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถแอนนาแห่งโปแลนด์

มเด็จพระราชินีนาถแอนนาแห่งโปแลนด์ (Anna Jagiellon) (18 ตุลาคม 1523 - 9 กันยายน 1596) ทรงเป็นสมเด็จพระราชินีนาถแห่งราชอาณาจักรโปแลนด์ พระองค์เป็นพระราชธิดาในสมเด็จพระเจ้าซีกิสมุนด์ที่ 1 แห่งโปแลนด์กับสมเด็จพระราชินีโบนา ฟอร์ซา พระองค์ทรงอภิเษกสมรสกับสตีเฟน บาทอรี่ พระองค์ทรงได้รับเลือให้เป็นพระมหากษัตริย์แห่งเครือจักรภพโปแลนด์-ลิทัวเนีย และต่อมาพระองค์ก็ทรงสละราชบัลลังก์ให้พระราชสวามี.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและสมเด็จพระราชินีนาถแอนนาแห่งโปแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถแอนน์แห่งบริเตนใหญ่

มเด็จพระราชินีนาถแอนน์แห่งบริเตนใหญ่ (Anne of Great Britain; 6 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1665 – 1 สิงหาคม ค.ศ. 1714) ทรงขึ้นครองราชย์เป็นพระราชินีนาถราชวงศ์สจวตองค์สุดท้ายของราชอาณาจักรอังกฤษ ราชอาณาจักรสกอตแลนด์ และราชอาณาจักรไอร์แลนด์ เมื่อวันที่ 8 มีนาคม ค.ศ. 1702 สืบต่อจากสมเด็จพระเจ้าวิลเลียมที่ 3 แห่งอังกฤษ พระนางเจ้าแอนน์ทรงพระราชสมภพเมื่อวันที่ 6 กุมภาพัน..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและสมเด็จพระราชินีนาถแอนน์แห่งบริเตนใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถแคทเทอรีนแห่งไซปรัส

มเด็จพระราชินีนาถแคทเทอรีนแห่งไซปรัส หรือ โนบิล ดอนน่า แคทเทอรีน คอร์นาโร (Catherine Cornaro; ภาษาเวนีเชียน: Catarina) (25 พฤศจิกายน พ.ศ. 1997 - 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2053) ทรงเป็นสมเด็จพระราชินีนาถแห่งราชอาณาจักรไซปรัสระหว่างปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและสมเด็จพระราชินีนาถแคทเทอรีนแห่งไซปรัส · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถเบียทริกซ์แห่งเนเธอร์แลนด์

้าหญิงเบียทริกซ์แห่งเนเธอร์แลนด์ (31 มกราคม พ.ศ. 2481) หรือพระนามเต็มว่า เบียทริกซ์ วิลเฮลมินา อาร์มการ์ด (Beatrix Wilhelmina Armgard) หรือเดิมคือ สมเด็จพระราชินีนาถเบียทริกซ์แห่งเนเธอร์แลนด์ (Beatrix der Nederlanden) อดีตสมเด็จพระราชินีนาถแห่งเนเธอร์แลนด์ ครองราชสมบัติตั้งแต่วันที่ 30 เมษายน..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและสมเด็จพระราชินีนาถเบียทริกซ์แห่งเนเธอร์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถเบียทริซแห่งโปรตุเกส

มเด็จพระราชินีนาถเบียทริซแห่งโปรตุเกส (7 กุมภาพันธ์ 1373 - 1420) เป็นสมเด็จพระราชินีแห่งคาสตีนและเลออน และผู้อ้างสิทธิในตำแหน่งสมเด็จพระราชินีนาถแห่งโปรตุเกส พระนางเป็นพระราชธิดาของ สมเด็จพระเจ้าเฟอร์นานโดที่ 1 แห่งโปรตุเกส และ ลีโอเนอร์ เทลเลอส์ เดอ เมเนเซส พระนางอภิเสกสมรสกับสมเด็จพระเจ้าจอห์นที่ 1 แห่งคาสตีล โดยทั่วไปนักประวัติศาสตร์ยังไม่ยอมรับการครองราชของพระนาง เพราะผู้ปกครองที่แท้จริงคือพระราชสวามีของพระองค์ พระองค์น่าจะเป็นเพียงพระราชินี.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและสมเด็จพระราชินีนาถเบียทริซแห่งโปรตุเกส · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 1 แห่งอังกฤษ

มเด็จพระราชินีนาถอลิซาเบธที่ 1 แห่งอังกฤษ (Elizabeth I of England หรือ Virgin Queen หรือ Gloriana หรือ Good Queen Bess -- 7 กันยายน พ.ศ. 2076 -- 24 มีนาคม พ.ศ. 2146) และทรงเป็นสมเด็จพระราชินีนาถแห่งอังกฤษ และสมเด็จพระราชินีนาถแห่งไอร์แลนด์ ตั้งแต่ วันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2101 จนเสด็จสวรรคต บางครั้งพระองค์ก็ทรงได้รับพระฉายานามว่า "ราชินีพรหมจารี" (เนื่องจากการไม่อภิเษกสมรสเลยตลอดพระชนม์ชีพ) สมเด็จพระราชินีนาถอลิซาเบธที่ 1 ทรงเป็นกษัตรีย์พระองค์ที่ 5 และนับเป็นกษัตริย์องค์สุดท้ายของราชวงศ์ทิวดอร์ สมเด็จพระราชินีนาถอลิซาเบธที่ 1 ผู้ประสูติที่พระราชวังกรีนิช เป็นพระราชธิดาในสมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 8 กับสมเด็จพระราชินีแอนน์ บุลิน พระมเหสีพระองค์ที่ 2 ซึ่งถูกประหารชีวิตโดยการบั่นพระเศียรเมื่อสมเด็จพระราชินีนาถอลิซาเบธที่ 1 พระชนมายุได้เพียงเกือบ 3 พรรษา จากนั้นพระองค์ก็ทรงถูกประกาศว่าเป็นพระราชธิดานอกกฎหมาย เมื่อสมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 8 สวรรคตราชบัลลังก์อังกฤษก็ตกไปเป็นของสมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 6 พระราชโอรสในพระเจ้าเฮนรีและสมเด็จพระราชินีเจน ซีมัวร์ พระมเหสีองค์ที่ 3 เมื่อเสด็จสวรรคตพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดก็ทรงมอบราชบัลลังก์แก่เลดีเจน เกรย์ซึ่งเท่ากับเป็นการตัดพระเชษฐภคินีต่างพระมารดาสองพระองค์ออกจากสิทธิในการสืบราชบัลลังก์ แต่ในที่สุดเจ้าหญิงแมรีก็ได้เสด็จขึ้นครองราชย์เป็นสมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 1 ผู้ทรงเป็นโรมันคาทอลิก ในรัชสมัยของราชินีนาถแมรีเจ้าหญิงอลิซาเบธทรงถูกจำขังอยู่ปีหนึ่งในข้อสงสัยว่าทรงมีส่วนร่วมในการสนับสนุนฝ่ายก่อการโปรเตสแตนต์ หลังจากเสด็จสวรรคตของพระเชษฐภคินีสมเด็จพระราชินีนาถแมรี เจ้าหญิงอลิซาเบธก็เสด็จขึ้นครองราชย์ พระองค์ทรงตั้งพระทัยที่จะปกครองโดยมีที่ปรึกษาราชการผู้มีคุณธรรม พระองค์ทรงไว้วางพระทัยในกลุ่มที่ปรึกษาที่ทรงไว้วางใจที่นำโดยวิลเลียม เซซิล บารอนแห่งเบอร์ลีย์ที่ 1 สิ่งแรกที่ทรงกระทำในฐานะพระราชินีนาถคือการสนับสนุนการก่อตั้งสถาบันโปรเตสแตนต์อังกฤษ ซึ่งมีพระองค์เองเป็น “ประมุขสูงสุด” (Supreme Governor) นโยบายทางศาสนาของพระองค์เป็นนโยบายที่ดำเนินตลอดมาในช่วงรัชสมัยการปกครอง และต่อมาวิวัฒนาการมาเป็น “นิกายเชิร์ชออฟอิงแลนด์” ในปัจจุบัน ในระหว่างที่ครองราชย์ก็เป็นที่หวังกันว่าพระองค์จะทรงเสกสมรส แต่แม้ว่ารัฐบาลจะยื่นคำร้องหลายครั้ง และ การทรงทำความรู้จักกับกับคู่หมายหลายคนพระราชินีนาถอลิซาเบธก็มิได้ทรงทำการเสกสมรสกับผู้ใด สาเหตุที่ไม่ทรงยอมเสกสมรสก็ยังคงเป็นที่ถกเถียงกันอยู่ เมื่อมีพระชนมายุสูงขึ้นพระองค์ก็ทรงมีชื่อเสียงจากการเป็น “พระราชินีผู้ทรงพรหมจรรย์” และเกิดลัทธินิยมของผู้ติดตามนโยบายดังว่าที่เฉลิมฉลองกันด้วยภาพเหมือน, เทศกาล และ วรรณกรรมร่วมสมัย ในด้านการปกครองพระราชินีนาถอลิซาเบธทรงดำเนินนโยบายที่เป็นสายกลางมากกว่าพระราชบิดา พระอนุชา และ พระเชษฐภคินีStarkey, 5.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 1 แห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร

มเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 (Elizabeth II; พระราชสมภพ 21 เมษายน พ.ศ. 2469) เป็นพระประมุขของ 16 ประเทศ จาก 53 รัฐสมาชิกในเครือจักรภพแห่งชาติ พระองค์เป็นประธานเครือจักรภพและผู้ปกครองสูงสุดแห่งคริสตจักรแห่งอังกฤษ เมื่อสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 เสด็จขึ้นครองราชย์เมื่อวันที่ 6 กุมภาพัน..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถเจดวิกาแห่งโปแลนด์

มเด็จพระราชินีนาถเจดวิกาแห่งโปแลนด์ (Jadwiga of Poland) (3 ตุลาคม 1373 - 17 กรกฎาคม 1399) ทรงเป็นสมเด็จพระราชินีนาถแห่งราชอาณาจักรโปแลนด์ ต้งแต่ปี 1384 จนถึงการสวรรคตของพระองค์ พระองค์เป็นพระราชธิดาในสมเด็จพระเจ้าหลุยส์ที่ 1 แห่งฮังการีกับสมเด็จพระราชินีอลิซาเบธแห่งบอสเนีย พระองค์เป็นที่รู้จักในภาษาโปแลนด์ในพระนามว่า เจดวิกา ในภาษาอังกฤษและภาษาเยอรมันว่า เฮ็ดวิก ยุโรปในช่วงเวลานั้นการครองราชย์ของพระราชินีนาถค่อนข้างไม่ใช่เรื่องที่ปกติ พระองค์เป็นพระมหากษัตริย์อย่างเป็นทางการของประเทศโปแลนด์Hedvigis Rex Polonie: M. Barański, S. Ciara, M. Kunicki-Goldfinger, Poczet królów i książąt polskich, Warszawa 1997, also Teresa Dunin-Wąsowicz,.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและสมเด็จพระราชินีนาถเจดวิกาแห่งโปแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง

ันเอกหญิง สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง มีพระนามเดิมว่า พระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจ้าเสาวภาผ่องศรี เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระประสูติแต่สมเด็จพระปิยมาวดี ศรีพัชรินทรมาตา (เจ้าจอมมารดาเปี่ยม) เมื่อวันที่ 1 มกราคม..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระจักรพรรดินีเซาดีตูที่ 1 แห่งเอธิโอเปีย

มเด็จพระจักรพรรดินีเซาดีตูที่ 1 แห่งเอธิโอเปีย (Zewditu I, Zawditu หรือ Zauditu; อักษรกีเอส:ዘውዲቱ; 29 เมษายน พ.ศ. 2419 - 2 เมษายน พ.ศ. 2473) ทรงเป็นสมเด็จพระจักรพรรดินีแห่งเอธิโอเปียตั้งแต..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและสมเด็จพระจักรพรรดินีเซาดีตูที่ 1 แห่งเอธิโอเปีย · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ

อมพลหญิง จอมพลเรือหญิง จอมพลอากาศหญิง สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ (พระนามเดิม: หม่อมราชวงศ์สิริกิติ์ กิติยากร; พระราชสมภพ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2475) เป็นสมเด็จพระบรมราชินีนาถในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เป็นสมเด็จพระบรมราชชนนีพันปีหลวงในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร และโดยพระชนมายุจึงนับเป็นพระกุลเชษฐ์พระองค์ปัจจุบันในพระบรมราชจักรีวงศ์ เนื่องจากสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินี เป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ขณะที่พระราชสวามีเสด็จออกผนวช ระหว่างวันที่ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2499 - 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2499ราชกิจจานุเบกษา,, เล่ม 73, ตอน 76ก, 25 กันยายน..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ · ดูเพิ่มเติม »

สหราชอาณาจักร

หราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ หรือโดยทั่วไปรู้จักกันว่า สหราชอาณาจักร และ บริเตน (Britain) เป็นรัฐเอกราชตั้งอยู่นอกชายฝั่งตะวันตกเฉียงเหนือของยุโรปภาคพื้นทวีป ประเทศนี้ประกอบด้วยเกาะบริเตนใหญ่ ส่วนตะวันออกเฉียงเหนือของเกาะไอร์แลนด์ และเกาะที่เล็กกว่าจำนวนมาก ไอร์แลนด์เหนือเป็นเพียงส่วนเดียวของสหราชอาณาจักรที่มีพรมแดนทางบกติดต่อกับรัฐอื่น คือ ประเทศไอร์แลนด์ นอกเหนือจากนี้แล้ว สหราชอาณาจักรล้อมรอบด้วยมหาสมุทรแอตแลนติกทางทิศตะวันตกและเหนือ ทะเลเหนือทางทิศตะวันออก ช่องแคบอังกฤษทางทิศใต้ และทะเลไอร์แลนด์ทางทิศตะวันตก รูปแบบการปกครองเป็นแบบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยมีระบบรัฐสภา เมืองหลวง คือ กรุงลอนดอน ประกอบด้วยสี่ประเทศ คือ ประเทศอังกฤษ สกอตแลนด์ เวลส์ และไอร์แลนด์เหนือ สามประเทศหลังนี้ได้รับการถ่ายโอนการบริหาร โดยมีอำนาจแตกต่างกัน ตั้งอยู่ในเมืองหลวงของประเทศนั้น ๆ คือ เอดินบะระ คาร์ดิฟฟ์ และเบลฟัสต์ตามลำดับ ส่วนเกิร์นซีย์ เจอร์ซีย์ และเกาะแมนเป็นบริติชคราวน์ดีเพนเดนซี และมิใช่ส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักร สหราชอาณาจักรมีดินแดนโพ้นทะเล 14 แห่ง ซึ่งเป็นสิ่งที่เหลืออยู่ของจักรวรรดิอังกฤษ ซึ่งขณะที่รุ่งเรืองที่สุดในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 นั้น ครอบคลุมพื้นดินของโลกเกือบหนึ่งในสี่ และเป็นจักรวรรดิใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ อิทธิพลของอังกฤษยังสามารถพบเห็นได้จากความแพร่หลายของภาษา วัฒนธรรมและระบบกฎหมายในอดีตอาณานิคมหลายแห่ง สหราชอาณาจักรเป็นประเทศพัฒนาแล้ว และมีเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 7 ของโลก ตามค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ ณ ราคาตลาด และเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 8 ของโลก ตามความเท่าเทียมของอำนาจซื้อ สหราชอาณาจักรเป็นประเทศอุตสาหกรรมประเทศแรกในโลก และเป็นมหาอำนาจอันดับหนึ่งของโลกระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 สหราชอาณาจักรยังถูกกล่าวขานว่าเป็นมหาอำนาจและยังมีอิทธิพลทางเศรษฐกิจ วัฒนธรรม ทหาร วิทยาศาสตร์และการเมืองระหว่างประเทศค่อนข้างมากอยู่ สหราชอาณาจักรได้รับรองว่าเป็นรัฐอาวุธนิวเคลียร์และมีรายจ่ายทางทหารมากเป็นอันดับที่ 4 ของโลก สหราชอาณาจักรเป็นสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาตินับแต่สมัยประชุมแรกใน..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

สำนักงานราชบัณฑิตยสภา

ำนักงานราชบัณฑิตยสภา (Office of the Royal Society) หรือชื่อเดิมว่า ราชบัณฑิตยสถาน (the Royal Institute), ข่าวประชาสัมพันธ์ เว็บไซต.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและสำนักงานราชบัณฑิตยสภา · ดูเพิ่มเติม »

สิงหาคม

งหาคม เป็นเดือนที่ 8 ของปี ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นหนึ่งในเดือน 7 เดือนที่มี 31 วัน ตามหลักโหราศาสตร์ เดือนสิงหาคมเริ่มต้นขึ้นเมื่อดวงอาทิตย์ยกเข้าสู่ราศีสิงห์ และสิ้นสุดเมื่อยกเข้าสู่ราศีกันย์ แต่ในทางดาราศาสตร์ ต้นเดือนสิงหาคมดวงอาทิตย์อยู่ในกลุ่มดาวปูและปลายเดือนไปอยู่ในกลุ่มดาวสิงโต เดือนสิงหาคมเดิมใช้ชื่อในภาษาละตินว่า ซิกซ์ตีลิส (Sextilis) เนื่องจากเป็นเดือนที่ 6 ในปฏิทินโรมันดั้งเดิมที่เริ่มต้นปีในเดือนมีนาคม ต่อมาเปลี่ยนเป็น August เพื่อเป็นเกียรติแด่ ออกัสตัส ซีซาร์ เพราะเป็นเดือนที่พระองค์เข้าไปโรมในชัยชนะของเจ้าทั้งตะวันออกและตะวันตก ประเทศไทยเริ่มใช้ชื่อเดือนสิงหาคมในปี พ.ศ. 2432 ตรงกับสมัยรัชกาลที่ 5 โดยสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาเทววงศ์วโรปการ เป็นผู้เสนอให้ใช้ราศีกำหนดชื่อเดือน.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและสิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง

งครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World War I หรือ First World War) หรือที่มักเรียกว่า "สงครามโลก" หรือ "มหาสงคราม" (Great War) ก่อน..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรล้านนา

อาณาจักรล้านนา (95px) คือ ราชอาณาจักรของชาวไทยวนในอดีตที่ตั้งอยู่บริเวณภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย ตลอดจนสิบสองปันนา เช่น เมืองเชียงรุ่ง (จิ่งหง) มณฑลยูนนาน ภาคตะวันออกของพม่า ฝั่งตะวันออกของแม่น้ำสาละวิน ซึ่งมีเมืองเชียงตุงเป็นเมืองเอก ฝั่งตะวันตกแม่นำสาละวิน มีเมืองนายเป็นเมืองเอก และ 8 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดเชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง เชียงราย พะเยา แพร่ น่าน และแม่ฮ่องสอนสรัสวดี อ๋องสกุล.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและอาณาจักรล้านนา · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรหริภุญชัย

แผนที่อาณาจักรหริภุญชัยประมาณ พ.ศ. 1543-1643 (สีเขียว) อาณาจักรหริภุญชัย หรือ หริภุญไชย เป็นอาณาจักรมอญที่ตั้งอยู่บริเวณภาคเหนือของประเทศไทยปัจจุบัน ตำนานจามเทวีวงศ์โบราณได้บันทึกไว้ว่า ฤๅษีวาสุเทพเป็นผู้สร้างเมืองหริภุญชัยขึ้นในปี พ.ศ. 1310 แล้วทูลเชิญพระนางจามเทวี ซึ่งเป็นเจ้าหญิงจากอาณาจักรละโว้ ขึ้นมาครองเมืองหริภุญชัย ในครั้งนั้นพระนางจามเทวีได้นำพระภิกษุ นักปราชญ์ และช่างศิลปะต่าง ๆ จากละโว้ขึ้นไปด้วยเป็นจำนวนมากราวหมื่นคน พระนางได้ทำนุบำรุงและก่อสร้างบ้านเมือง ทำให้เมืองหริภุญชัย (ลำพูน) นั้นเป็นแหล่งศิลปวัฒนธรรมที่เจริญรุ่งเรืองยิ่ง ต่อมาพระนางได้สร้างเขลางค์นคร (ลำปาง) ขึ้นอีกเมืองหนึ่งให้เป็นเมืองสำคัญ สมัยนั้นปรากฏมีการใช้ภาษามอญโบราณในศิลาจารึกของหริภุญชัย มีหนังสือหมานซูของจีนสมัยราชวงศ์ถัง กล่าวถึงนครหริภุญชัยไว้ว่าเป็น “อาณาจักรของสมเด็จพระราชินีนาถ” (女王國 หนี่ว์ หวัง กว๋อ) ต่อมา พ.ศ. 1824 พญามังรายมหาราชผู้สถาปนาอาณาจักรล้านนา ได้ยกกองทัพเข้ายึดเอาเมืองหริภุญชัยจากพญายีบาได้ ต่อจากนั้นอาณาจักรหริภุญชัยจึงสิ้นสุดลงหลังจากรุ่งเรืองมา 618 ปี มีพระมหากษัตริย์ครองเมือง 49 พระองค์ ปัจจุบัน โบราณสถานสำคัญของอาณาจักรหริภุญชัยคือพระธาตุหริภุญไชย ที่จังหวัดลำพูน ซึ่งเป็นบริเวณที่สันนิษฐานว่าเป็นราชธานีในสมัยนั้น และยังมีเมืองโบราณเวียงมโน ตำบลหนองตอง อำเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่ โบราณสถานที่เวียงเกาะ บ้านสองแคว อำเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ และเวียงท่ากาน ที่ตำบลบ้านกลาง ต.สันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่ ได้มีการพบจารึกอักษรมอญโบราณ สมัยหริภุญไชย ราวพุทธศตวรรษที่ 17 จำนวน 7 หลัก ที่ลำพูน ปัจจุบันอยู่ที่พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติหริภุญไชย จังหวัดลำพูน บางหมู่บ้านของจังหวัดลำพูนนั้นพบว่า ยังมีคนพูดภาษามอญและอนุรักษ์วัฒนธรรมมอญอยู.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและอาณาจักรหริภุญชัย · ดูเพิ่มเติม »

อียิปต์โบราณ

มมฟิสและสุสานโบราณ อียิปต์โบราณ หรือ ไอยคุปต์ เป็นหนึ่งในอารยธรรมที่เก่าแก่ที่สุดในโลก ตั้งอยู่ทางตอนตะวันออกเฉียงเหนือของทวีปแอฟริกา มีพื้นที่ตั้งแต่ตอนกลางจนถึงปากแม่น้ำไนล์ ปัจจุบันเป็นที่ตั้งของประเทศอียิปต์ อารยธรรมอียิปต์โบราณเริ่มขึ้นประมาณ 3150 ปีก่อนคริตศักราช โดยการรวมอำนาจทางการเมืองของอียิปต์ตอนเหนือและตอนใต้ ภายใต้ฟาโรห์องค์แรกแห่งอียิปต์ และมีการพัฒนาอารยธรรมเรื่อยมากว่า 5,000 ปี ประวัติของอียิปต์โบราณปรากฏขึ้นในช่วงระยะเวลาหนึ่ง หรือที่รู้จักกันว่า "ราชอาณาจักร" มีการแบ่งยุคสมัยของอียิปต์โบราณเป็นราชอาณาจักร ส่วนมากแบ่งตามราชวงศ์ที่ขึ้นมาปกครอง จนกระทั่งราชอาณาจักรสุดท้าย หรือที่รู้จักกันในชื่อว่า "ราชอาณาจักรกลาง" อารยธรรมอียิปต์อยู่ในช่วงที่มีการพัฒนาที่ยมาก และส่วนมากลดลง ซึ่งเป็นเวลาเดียวกันที่อียิปต์ชนพ่ายต่อการทำสงครามจากชาติอื่น ดังเช่นชาวอัสซีเรียและเปอร์เซีย จนกระทั่งเมื่อ 332 ปีก่อนคริสตศักราช ก็เป็นการสิ้นสุดอารยธรรมอียิปต์โบราณลง เมื่อพระเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราชสามารถยึดครองอียิปต์ และจัดอียิปต์เป็นเพียงจังหวัดหนึ่งในจักรวรรดิมาซิโดเนีย อารยธรรมอียิปต์พัฒนาการมาจากสภาพของลุ่มแม่น้ำไนล์ การควบคุมระบบชลประทาน, การควบคุมการผลิตพืชผลทางการเกษตร พร้อมกับพัฒนาอารยธรรมทางสังคม และวัฒนธรรม พื้นที่ของอียิปต์นั้นล้อมรอบด้วยทะเลทรายเสมือนปราการป้องกันการรุกรานจากศัตรูภายนอก นอกจากนี้ยังมีการทำเหมืองแร่ และอียิปต์ยังเป็นชนชาติแรกๆที่มีการพัฒนาการด้วยการเขียน ประดิษฐ์ตัวอักษรขึ้นใช้,การบริหารอียิปต์เน้นไปทางสิ่งปลูกสร้าง และการเกษตรกรรม พร้อมกันนั้นก็มีการพัฒนาการทางทหารของอียิปต์ที่เสริมสร้างความแข็งแกร่งแก่ราชอาณาจักร โดยประชาชนจะให้ความเคารพกษัตริย์หรือฟาโรห์เสมือนหนึ่งเทพเจ้า ฟาโรห์มีอำนาจและโหดร้ายมาก ทำให้การบริหารราชการบ้านเมืองและการควบคุมอำนาจนั้นทำได้อย่างมีประสิทธิภาพ ชาวอียิปต์โบราณไม่ได้เป็นเพียงแต่นักเกษตรกรรม และนักสร้างสรรค์อารยธรรมเท่านั้น แต่ยังเป็นนักคิด, นักปรัชญา ได้มาซึ่งความรู้ในศาสตร์ต่างๆมากมายตลอดการพัฒนาอารยธรรมกว่า 4,000 ปี ทั้งในด้านคณิตศาสตร์, เทคนิคการสร้างพีระมิด, วัด, โอเบลิสก์, ตัวอักษร และเทคนิคโลยีด้านกระจก นอกจากนี้ยังมีการพัฒนาประสิทธิภาพทางด้านการแพทย์, ระบบชลประทานและการเกษตรกรรม อียิปต์ทิ้งมรดกสุดท้ายแก่อนุชนรุ่นหลังไว้คือศิลปะ และสถาปัตยกรรม ซึ่งถูกคัดลอกนำไปใช้ทั่วโลก อนุสรณ์สถานที่ต่างๆในอียิปต์ต่างดึงดูดนักท่องเที่ยว นักประพันธ์กว่าหลายศตวรรษที่ผ่านมา ปัจจุบันมีการค้นพบวัตถุใหม่ๆในอียิปต์มากมายซึ่งกำลังตรวจสอบถึงประวัติความเป็นมา เพื่อเป็นหลักฐานให้แก่อารยธรรมอียิปต์ และเป็นหลักฐานแก่อารยธรรมของโลกต่อไป.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและอียิปต์โบราณ · ดูเพิ่มเติม »

ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์

ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ หรือ ผู้สำเร็จราชการแผ่นดิน (regent) เป็นผู้ได้รับแต่งตั้งให้ปฏิบัติพระราชกรณียกิจในพระปรมาภิไธยพระมหากษัตริย์ของประเทศที่มีพระมหากษัตริย์เป็นพระประมุข เนื่องจากพระมหากษัตริย์ยังไม่ทรงบรรลุนิติภาวะ หรือทรงพระประชวร หรือไม่ทรงอยู่ในประเทศ หรือทรงบริหารพระราชกิจไม่ได้ไม่ว่าด้วยเหตุใดก็ตาม ทั้งนี้ ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ยังมีขึ้นได้ในกรณีที่ระบอบพระมหากษัตริย์ยังมิได้มีพระมหากษัตริย์ที่เหมาะสม เช่น เมื่อประเทศฟินแลนด์ประกาศเอกราชจากจักรวรรดิรัสเซียแล้วมีการสถาปนาราชอาณาจักรฟินแลนด์ขึ้น แต่ยังไม่มีเชื้อพระวงศ์ต่างประเทศพระองค์ใดเหมาะสม จึงให้ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ทำหน้าที่ไปพลางก่อน จนรัฐสภาฟินแลนด์เลือกเจ้าชายเฟรเดอริก ชาร์ลแห่งเฮสส์ แห่งแคว้นเฮสส์จากจักรวรรดิเยอรมันขึ้นเป็นสมเด็จพระราชาธิบดีแห่งฟินแลนด์ ตำแหน่งผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์จึงสิ้นสุดลง.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิถังไท่จง

มเด็จพระจักรพรรดิถังไท่จง (1170-1186) พระนามเดิม หลี่ซื่อหมิน จักรพรรดิองค์ที่สองแห่งราชวงศ์ถังของประเทศจีน (ราว 1,600 ปี) ได้ยึดถือหลักคำสอนเรื่องนี้ของบรมครูขงจื่อในการ ปกครองประเทศจีน และทำให้ประเทศจีนในยุคที่พระองค์ทรงปกครองรุ่งเรืองที่สุดยุคหนึ่งในประวัติศาสตร์ 5 เป็นประเทศมหาอำนาจของโลกในยุคสมัยของพระองค์ราชวงศ์ถังนั้นยิ่งใหญ่มากมายนั้นเลยก็ว่าได้ แม้ว่าพระองค์มีพระราชอำนาจสูงสุด สามารถตัดสินพระทัยสั่งการใด ๆ ก็ได้ พระองค์ก็ทรงมิได้ปฏิบัติเช่นนั้น พระองค์จะไต่ถามความเห็นของเหล่าเสนาบดี และที่ปรึกษาของพระองค์ก่อนที่จะตัดสินพระทัยเสมอ โดยเฉพาะที่ปรึกษาท่านหนึ่ง นาม เว่ยเจิง ซึ่งครั้งหนึ่งเคยเป็นที่ปรึกษาของพี่ชายพระองค์ที่เป็นรัชทายาท และได้แนะนำให้พี่ชายของพระองค์ วางแผนสังหารพระองค์ เนื่องจากที่ปรึกษาท่านนี้มองเห็นว่า พระองค์จะเป็นภัยก่อการขบถยึดราชบัลลังก์ของพี่ชาย เนื่องจากถังไท่จงเหนือชั้นกว่า จึงวางแผนซ้อนแผน แทนที่พระองค์จะถูกสังหาร พี่ชายของพระองค์กลับถูกปลิดพระชนม์ชีพแทน แต่ถังไท่จงรับสั่งมิให้ทหารของพระองค์ทำร้ายที่ปรึกษาผู้นั้น นอกจากไม่ทำร้ายแล้ว พระองค์ยังทรงแต่งตั้งเขาขึ้นเป็นประธานที่ปรึกษา เมื่อพระองค์ขึ้นครองราชย์สืบต่อจากพระราชบิดาอีก ด้วยเหตุผลก็คือ พระองค์ท่านจะได้มีที่ปรึกษาอย่างน้อยหนึ่งท่านที่คิดแตกต่าง หรือไม่เหมือนกับที่พระองค์คิด กล้าคัดค้านพระองค์อย่างตรงไปตรงมาโดยไม่เกรงกลัว หรือหวาดหวั่นต่อพระราชอำนาจ จักรพรรดิถังไท่จงได้รับการยกย่องจากนักประวัติศาสตร์ให้เป็นมหาจักรพรรดิของจีนเพราะพระองค์แตกต่างจากจักรพรรดิทั้งปวง กล่าวคือ ไม่ว่าเชื้อพระวงศ์ก็ดี หรือเสนาบดีก็ดี หรือที่ปรึกษาก็ดีไปแอบนินทา ให้ร้ายพระองค์ลับหลัง พระองค์ก็จะทรงลงพระอาญา เพราะถือว่า พระองค์ทรงให้โอกาสวิพากษ์วิจารณ์อย่างเปิดเผย และถูกต้องแล้วบุคคลเหล่านี้กลับไม่ทำ หรือไม่ใช้โอกาสดังกล่าว กลับมาแอบทำลับหลังพระองค์ จึงต้องถูกลงโทษให้เป็นเยี่ยงอย่าง ส่วนผู้ที่กล้าวิพากษ์วิจารณ์ หรือคัดค้านพระองค์ต่อหน้าพระพักตร์อย่างชนิดตรงไปตรงมา อย่างเช่น อดีตที่ปรึกษาของพระเชษฐาขององค์จักรพรรดิถังไท่จงก็ทรงปูนบำเหน็จรางวัลให้เพื่อให้บรรดาเหล่าขุนนาง หรือข้าราชบริพารมีความกล้าที่จะใช้โอกาสดังกล่าวคัดค้านพระองค์ด้วยเหตุด้วยผล ไม่ใช่ไปแอบทำข้างหลัง นอกจากนั้นพระองค์ก็ทรงปลอมเป็นสามัญชนไปกับประธานที่ปรึกษาออกตระเวนเยี่ยมประชาชนของพระองค์ และตรวจงานการปฏิบัติราชการของ เหล่าข้าราชบริพารเป็นประจำทุกปี เพื่อจะได้ทรงทราบว่า บรรดารายงานของข้าราชการที่ส่งไปให้พระองค์ทรงอ่านที่เมืองหลวงนั้นมีความถูกต้อง สอดคล้องกับความเป็นจริงมากเพียงใด ไม่ใช่ทรงอยู่แต่ในวังหลวงพึ่งพารายงานจากข้าราชการอย่างเดียว บางครั้ง หากพระองค์ประชวร พระองค์ก็จะทรงส่งประธานที่ปรึกษาของพระองค์ออกทำงานแทนพระองค์ จักรพรรดิถังไท่จงถือว่าประชาชนมีความสำคัญกว่าพระองค์ และพระราชวงศ์ เวลาพระองค์จะตัดสินพระทัยทำอะไร ก็มักจะมองไปที่ผลประโยชน์ของประชาชนก่อนเสมอ ก่อนที่จะขึ้นครองราชย์นั้น พระองค์มีพระนามว่า "หลี ซื่อ หมิน" ประสูติเมื่อ..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและจักรพรรดิถังไท่จง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิถังเกาจง

มเด็จพระจักรพรรดิเกาจง (ค.ศ. 649-683, พ.ศ. 1192-1226) จักรพรรดิองค์ที่ 3 แห่งราชวงศ์ถัง ประสูติเมื่อปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและจักรพรรดิถังเกาจง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิปีเตอร์ที่ 1 แห่งรัสเซีย

ักรพรรดิปีเตอร์ที่ 1 แห่งรัสเซีย หรือ ปีเตอร์มหาราช (Пётр I Великий, 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2215 - 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2268) ทรงเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิรัสเซียตั้งแต่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2225 จนกระทั่งสวรรคต และถือได้ว่าเป็นหนึ่งในผู้ทรงอำนาจของยุโรปในสมัยนั้น ในช่วงระยะเวลาของรัชสมัยจักรพรรดิปีเตอร์ที่ 1 มหาราช พระองค์ได้ทรงสร้างประเทศเป็น “จักรวรรดิ” ที่เป็นที่น่าเกรงขามได้สำเร็จ การติดต่อด้านการค้าและการทูตกับต่างประเทศ การรับเอาความเจริญทางด้านการทหาร การช่างและวิทยาศาสตร์มาใช้ในการปรับปรุงและพัฒนาประเทศ ในสมัยต้นราชวงศ์โรมานอฟล้วนแต่เป็นการแผ้วทางไปสู่ความยิ่งใหญ่ของการเป็นมหาอํานาจของรัสเซีย เมื่อพระองค์เสด็จสวรรคตใน..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและจักรพรรดิปีเตอร์ที่ 1 แห่งรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิปีเตอร์ที่ 3 แห่งรัสเซีย

ักรพรรดิปีเตอร์ที่ 3 แห่งรัสเซีย (Пётр III Фëдорович, Pyotr III Fyodorovitch) (21 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1728 - 17 กรกฎาคม ค.ศ. 1762) ทรงปกครองจักรวรรดิรัสเซียในฐานะพระจักรพรรดิเป็นเวลา 6 เดือน (5 มกราคม ค.ศ. 1762 - 9 กรกฎาคม ค.ศ. 1762).

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและจักรพรรดิปีเตอร์ที่ 3 แห่งรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีมาทิลดา

มเด็จพระจักรพรรดินีมาทิลดา หรือ ม้อด (Empress Matilda หรือ Maud หรือ Maude) ต่อมาเป็นเคานท์เทสแห่งอ็องฌู และ อิสตรีแห่่งชนอังกฤษ (กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1102 – ค.ศ. 1167) เป็นพระราชินีนาถราชวงศ์แพลนทาเจเน็ทของราชอาณาจักรอังกฤษ พระจักรพรรดินีมาทิลดาเสด็จพระราชสมภพเมื่อเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 1102 ที่วินเชสเตอร์ในอังกฤษ เป็นพระราชธิดาของสมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 1 แห่งอังกฤษ และ มาทิลดาแห่งสกอตแลนด์ สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษ ทรงเสกสมรสครั้งแรกกับสมเด็จพระจักรพรรดิเฮนรีที่ 5 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ และต่อมากับเจฟฟรีย์ที่ 5 เคานต์แห่งอ็องฌู ผู้มีพระราชโอรสด้วยกัน -- สมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 2 แห่งอังกฤษ พระจักรพรรดินีมาทิลดาทรงราชย์ระหว่างเดือนเมษายนถึงเดือน พฤศจิกายน ค.ศ. 1141 พระจักรพรรดินีมาทิลดาเสด็จสวรรคตเมื่อ 10 กันยายน ค.ศ. 1167ที่รูออง ฝรั่งเศส พระจักรพรรดินีมาทิลดาทรงเป็นประมุขสตรีองค์แรกของราชอาณาจักรอังกฤษแต่มิได้ทรงสวมมงกุฏและเป็นประมุขเพียงระยะสั้น พระจักรพรรดินีมาทิลดาไม่ทรงสามารถยึดบัลลังก์เป็นการถาวรฉะนั้นรัชสมัยของพระองค์จึงเป็นรัชสมัยที่ยาวเพียง 7 เดือน บางครั้งพระนามจึงไม่ปรากฏในรายนามพระมหากษัตริย์อังกฤษแม้แต่เว็บไซต์ทางการของประมุขของอังกฤษก็ไม่มีพระนามของมาทิลดาแต่ระบุพระนามสมเด็จพระเจ้าสตีเฟน แห่งอังกฤษปกครองอังกฤษระหว่างปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและจักรพรรดินีมาทิลดา · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีหวัง (จักรพรรดิถังเกาจง)

จักรพรรดินีหวัง (王皇后_(唐高宗)Empress Wang (Gaozong), ?-ค.ศ.655)เป็นจักรพรรดินีในสมัยราชวงศ์ถังโดยทรงเป็นสมเด็จพระจักรพรรดินีองค์แรกของจักรพรรดิถังเกาจงต่อมาถูกถอดและสิ้นพระชนม์ในปีค.ศ.655 หมวดหมู่:จักรพรรดินีราชวงศ์ถัง หมวดหมู่:บุคคลในยุคราชวงศ์ถัง หมวดหมู่:ตัวละครในบูเช็คเทียน จอมนางเหนือแผ่นดิน.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและจักรพรรดินีหวัง (จักรพรรดิถังเกาจง) · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีจิงงุ

มเด็จพระจักรพรรดินีนาถจิงงุ หรือ เป็นหนึ่งในจักรพรรดิในตำนานของญี่ปุ่น เป็นพระอัครมเหสีในสมเด็จพระจักรพรรดิชูไอ พระบรมราชสวามีของพระองค์เสด็จสวรรคตใน..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและจักรพรรดินีจิงงุ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีจิโต

ักรพรรดินีจิโต(持統天皇 จิโต-เทนโน, พ.ศ. 1188 - 13 มกราคม พ.ศ. 1246) เป็นสมเด็จพระจักรพรรดินีนาถแห่งญี่ปุ่นพระองค์ที่ 41Imperial Household Agency (Kunaichō): อันเนื่องมาจากการสืบราชสันตติวงศ์ตามโบราณราชประเพณี จักรพรรดินีจิโตครองราชย์ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและจักรพรรดินีจิโต · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีซุอิโกะ

ักรพรรดินีซุอิโกะ (Empress Suiko; 554 – 15 เมษายน 628) เป็นพระเจ้าแผ่นดินญี่ปุ่นองค์ที่ 33Imperial Household Agency (Kunaichō): ตามลำดับการสืบสันตติวงศ์แต่โบราณ พระนางอยู่ในตำแหน่งตั้งแต่ปี 593 จนสวรรคตเมื่อปี 628 ตามประวัติศาสตร์ญี่ปุ่นแล้ว นางเป็นสตรีคนแรกในบรรดาแปดคนที่ได้เป็นจักรพรรดินี (empress regnant) อีกเจ็ดคนที่เหลือ คือ โคเงียวกุ (Kōgyoku), จิโต (Jitō), เก็มเม (Gemmei), เก็นโช (Genshō), โคเก็ง (Kōken), เมโช (Meishō) และโกะ-ซะกุระมะชิ (Go-Sakuramachi) ตามลำดั.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและจักรพรรดินีซุอิโกะ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีแอนนาแห่งรัสเซีย

ักรพรรดินีแอนนาแห่งรัสเซีย (Анна Иоанновна Anna of Russia) (7 กุมภาพันธ์ 1693 - 28 ตุลาคม 1740) เป็นจักรพรรดินีแห่งรัสเซียต่อจากจักรพรรดิปีเตอร์ที่ 2 พระนางเป็นพระราชธิดาของพระเจ้าซาร์อีวานที่ 5และปราสโกเวีย ซัลตีโควา พระนางอภิเสกสมรสกับเฟรเดอริก วิลเลียม ดยุคแห่งคอร์แลนด์ จักรพรรดิที่ครองราชต่อจากพระนางคือจักรพรรดิอีวานที่ 6.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและจักรพรรดินีแอนนาแห่งรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีโกะ-ซะกุระมะชิ

มเด็จพระจักรพรรดินีโกะ-ซะกุระมะชิ (後桜町天皇 โกะ-ซะกุระมะชิ-เท็นโน, 23 กันยายน พ.ศ. 2283 - 24 ธันวาคม พ.ศ. 2356) ทรงเป็นสมเด็จพระจักรพรรดินีแห่งญี่ปุ่นพระองค์ที่ 117Imperial Household Agency (Kunaichō): อันเนื่องมาจากการสืบราชสันตติวงศ์ตามโบราณราชประเพณีPonsonby-Fane, Richard.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและจักรพรรดินีโกะ-ซะกุระมะชิ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีโคเก็ง

มเด็จพระจักรพรรดินีโคเก็ง (661 – 29 ธันวาคม 721) เป็นสมเด็จพระจักรพรรดินีแห่งญี่ปุ่น พระองค์เป็นพระมหากษัตริย์องค์ที่ 46 ของประเทศญี่ปุ่น พระนางเป็นพระราชธิดาของสมเด็จพระจักรพรรดิโชมุ และ สมเด็จพระจักรพรรดินีโคเมียว พระนางเป็นหนึ่งในสองสมเด็จพระจักรพรรดินีที่ครองราชย์สองครั้ง อีกพระองค์หนึ่งคือจักรพรรดินีโคเงียวกุ พระนางครองราชย์ครั้งแรกเมื่อ..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและจักรพรรดินีโคเก็ง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีโคเงียวกุ

มเด็จพระจักรพรรดินีโคเงียวกุ (594–661) หรือ สมเด็จพระจักรพรรดินีไซเม เป็นสมเด็จพระจักรพรรดินีแห่งญี่ปุ่น พระองค์เป็นพระมหากษัตริย์องค์ที่ 35 และที่ 37 ของประเทศญี่ปุ่น พระนางเป็นหนึ่งในสมเด็จพระจักรพรรดินีเพียงสองพระองค์ของญี่ปุ่นที่ได้ครองราชย์ถึงสองครั้ง (อีกพระองค์หนึ่งคือจักรพรรดินีโคเก็ง) พระนางครองราชย์ครั้งแรกเมื่อค.ศ. 686 เมื่อจักรพรรดิโจเม พระราชสวามีได้เสด็จสวรรคต พระนางครองราชย์สั้นๆเป็นเวลา 3 ปี จึงสละราชบัลลังก์ให้จักรพรรดิโคโตะกุ ผู้มีศักดิ์เป็นหลานอาของจักรพรรดิโจเม ต่อมาภายหลังจักรพรรดิโคโตะกุสวรรคต พระนางได้ครองราชย์เป็นครั้งที่สองเมื่อ..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและจักรพรรดินีโคเงียวกุ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีเก็มเม

มเด็จพระจักรพรรดินีเก็มเม (661 – 29 ธันวาคม 721) เป็นสมเด็จพระจักรพรรดินีแห่งญี่ปุ่น พระองค์เป็นพระมหากษัตริย์องค์ที่ 43 ของประเทศญี่ปุ่น พระนางเป็นพระราชธิดาของสมเด็จพระจักรพรรดิเท็นจิ พระนางอภิเสกสมรสกับเจ้าชายคุซะกะเบะโนะมิโกะ พระนางครองราชย์เมื่อ 18 สิงหาคม..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและจักรพรรดินีเก็มเม · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีเก็นโช

มเด็จพระจักรพรรดินีเก็นโช (661 – 29 ธันวาคม 721) เป็นสมเด็จพระจักรพรรดินีแห่งญี่ปุ่น พระองค์เป็นพระมหากษัตริย์องค์ที่ 44 ของประเทศญี่ปุ่น พระนางเป็นพระราชธิดาของจักรพรรดินีเก็มเม กับ เจ้าชายคุซะกะเบะโนะมิโกะ พระนางมิได้ทรงอภิเสกสมรส พระนางครองราชย์เมื่อ 3 ตุลาคม..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและจักรพรรดินีเก็นโช · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีเมโช

มเด็จพระจักรพรรดินีเมโช (9 มกราคม 1624 – 4 ธันวาคม 1696) เป็นสมเด็จพระจักรพรรดินีแห่งญี่ปุ่น พระองค์เป็นพระมหากษัตริย์องค์ที่ 109 ของประเทศญี่ปุ่น พระนางครองราชย์เมื่อ 22 ธันวาคม..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและจักรพรรดินีเมโช · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีเยกาเจรีนาที่ 1 แห่งรัสเซีย

สมเด็จพระจักรพรรดินีแคทเธอรีนที่ 1 แห่งรัสเซีย หรือ ซารีนาแคทเธอรีนที่ 1 แห่งรัสเซีย (Emperess Catherine I of Russia, 15 เมษายน พ.ศ. 2227 — 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2270) จักรพรรดินีแห่งรัสเซีย เป็นพระมเหสีองค์ที่ 2 ใน จักรพรรดิปีเตอร์มหาราชต่อมาทรงบริหารราชการแผ่นดิน ร่วมกับพระสวามีเมื่อวันที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2267 และเมื่อพระสวามีสวรรคต ในวันที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2268 พระนางจึงทรงบริหารราชการแผ่นดินแต่เพียงพระองค์เดียวถือว่าเป็นพระจักรพรรดินี องค์แรกที่ได้ทรงครองแผ่นดินรัสเซีย แต่ทรงครองราชย์ได้เพียง 2 ปีก็สวรรคตเมื่อวันที่ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2270 ขณะพระชนม์เพียง 43 พรรษา ด้วยสาเหตุทรงพระกาสะและประชวรโดยมีพระโลหิตออกทางพระนาสิก สันนิษฐานว่าเกิดจากการติดเชื้อในพระปับผาสะ หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2227 หมวดหมู่:ราชวงศ์โรมานอฟ หมวดหมู่:บุคคลจากเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก หมวดหมู่:บุคคลจากลิโวเนีย หมวดหมู่:จักรพรรดินีรัสเซีย.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและจักรพรรดินีเยกาเจรีนาที่ 1 แห่งรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีเยกาเจรีนาที่ 2 แห่งรัสเซีย

ักรพรรดินีแคทเธอรีนที่ 2 แห่งรัสเซีย (Catherine II of Russia) ซึ่งทรงได้รับการถวายพระราชสมัญญาว่า "แคทเธอรีนมหาราชินี" (หรือ Екатерина II Великая; Katharina die Große; 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2272 - 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2339) พระองค์ทรงเป็นจักรพรรดินีนาถที่เป็นที่รู้จักมากที่สุดและครองราชย์ยาวนานที่สุดของรัสเซีย ทรงขึ้นครองราชย์ตั้งแต่วันที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2305 หลังจากการรัฐประหารและการปลงพระชนม์จักรพรรดิปีเตอร์ที่ 3 พระราชสวามีของพระองค์เอง (ไม่นานหลังจากการสิ้นสุดของสงครามเจ็ดปี) จนกระทั่งเสด็จสวรรคต การปกครองของพระองค์เป็นการอธิบายถึงการเป็น ผู้ใช้อำนาจเด็ดขาดที่ทรงเรืองปัญญา (enlightened despot) ทั้งยังทรงฟื้นฟูจักรวรรดิรัสเซียให้แข็งแกร่งและมีอาณาเขตกว้างกว่าเดิมอย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อน จนรัสเซียกลายมาเป็นชาติมหาอำนาจที่สำคัญมากที่สุดชาติหนึ่งในยุโรป ในการเข้าถึงขุมอำนาจและปกครองจักรวรรดิของพระองค์ พระนางแคทเธอรีนมักจะทรงพึ่งพาอำนาจจากเหล่าขุนนางที่ทรงโปรดปราน และผู้ที่มีชื่อเสียงมากที่สุดเช่นกริกอรี ออโลฟ และกริกอรี โปเตมคิน หรือเหล่านายพลผู้มีอำนาจบารมีสูงเช่น ปิออตร์ รูเมียนเซฟ และอเล็กซานเดอร์ ซูโวโลฟ หรือแม้แต่พลเรือเอกเช่น ฟิโอดอร์ อูชาโคฟ พระนางปกครองรัสเซียในช่วงเวลาที่จักรวรรดิได้ทำการแผ่ขยายอาณาเขตของตนโดยทั้งการศึกสงครามและการทูต ทางทิศใต้, อาณาจักรข่านแห่งไครเมียร์ถูกบดขยี้และตามมาด้วยชัยชนะเหนือจักรวรรดิออตโตมันในสงครามรัสเซีย-ตุรกี ต่อมารัสเซียได้ทำการเข้ายึดครองดินแดนอันว่างเปล่าแห่งโนโวรอสซิยาตลอดจนชายฝั่งทะเลดำและทะเลอะซอฟ ทางทิศตะวันตก, เครือจักรภพโปแลนด์-ลิทัวเนียซึ่งถูกปกครองโดยอดีตคนรักของพระนาง พระเจ้าสตานิส์ลอว์ ออกุส โปเนียโทว์สกี ในที่สุดก็ถูกแบ่งแยกออกจากกันโดยรัสเซียได้ส่วนแบ่งของดินแดนมากที่สุด ทางทิศตะวันออก, รัสเซียเริ่มเข้ายึดครองอะแลสกาในรูปแบบของอาณานิคมจนนำไปสู่การก่อตั้งอเมริกาของรัสเซีย พระองค์ทรงทำการปฏิรูประบบราชการภายในของเขตกูเบอร์นิยา รวมไปถึงมีรับสั่งให้สถาปนาเมืองและหมู่บ้านขึ้นมากมาย และในฐานะที่ทรงเป็นผู้นิยมชมชอบพระราชกรณียกิจของจักรพรรดิปีเตอร์มหาราช พระองค์จึงได้ดำเนินพระราโชบายตามแนวทางของจักรพรรดิปีเตอร์มหาราชโดยการปฏิรูปรัสเซียให้เข้าสู่ความทันสมัยตามแบบฉบับชาติยุโรปตะวันตก อย่างไรก็ตามการเข้ารับราชการในกองทัพและระบบเศรษฐกิจของประเทศยังคงต้องพึ่งพาระบบทาสอยู่ต่อไป ในขณะที่ความต้องการใช้แรงงานของประเทศและของเหล่าผู้ครอบครองที่ดินเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้การใช้แรงงานทาสดำเนินไปถึงขั้นกดขี่แรงงานทาส และระบบทาสดังกล่าวก็เป็นหนึ่งในเหตุผลประการสำคัญของการก่อกบฏหลายต่อหลายครั้ง ดังเช่นกบฏปูกาเชฟที่มีกองทหารม้าและชาวนาจำนวนมากมายเข้าร่วมการกบฏ ตลอดระยะเวลาในการครองราชย์หรือ สมัยแคทเธอรีน ถูกพิจารณาว่าเป็นยุคทองของจักรวรรดิรัสเซียและของระบอบศักดินาในรัสเซีย แถลงการณ์ว่าด้วยเสรีภาพของขุนนางซึ่งเป็นที่โต้แย้งกันในรัชสมัยของจักรพรรดิปีเตอร์ที่ 3 ก็ได้รับการยินยอมในช่วงรัชสมัยของพระนางแคทเธอรีน โดยแถลงการณ์ฉบับนี้ได้ให้อิสรภาพแก่บรรดาขุนนางไม่ต้องตกอยู่ภายใต้อำนาจของกองทัพหรือการรับราชการสนองคุณประเทศ ให้อิสรภาพในการครอบครองที่อยู่อาศัย เช่น แมนชันรูปแบบคลาสสิก โดยรูปแบบสถาปัตยกรรมดังกล่าวเป็นที่นิยมและได้รับการสนับสนุนโดยพระนางเจ้าแคทเธอรีนอย่างมาก ก่อให้เกิดตึกรามบ้านช่องอันหรูหราขึ้นจำนวนมาก ซึ่งตลอดช่วงการครองราชย์ของพระองค์ได้ทรงทำให้โฉมหน้าของประเทศเปลี่ยนไปอย่างสิ้นเชิง จึงกล่าวได้ว่ารัชสมัยของพระนางคือยุคเรืองปัญญาของรัสเซียก็ว่าได้.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและจักรพรรดินีเยกาเจรีนาที่ 2 แห่งรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีเอลิซาเบธแห่งรัสเซีย

ักรพรรดินีเอลิซาเบธแห่งรัสเซีย หรือ เยริซาเวตา เปตรอฟนา (Елизаве́та (Елисаве́т) Петро́вна; 29 ธันวาคม พ.ศ. 2252 - 5 มกราคม พ.ศ. 2305) ซึ่งทรงเป็นที่รู้จักในพระนาม เยลิซาเว็ต และ เอลิซาเบธ เป็นจักรพรรดินีแห่งรัสเซีย (พ.ศ. 2284 - พ.ศ. 2305) ทรงชักนำประเทศเข้าสู่สงครามสืบราชสมบัติออสเตรีย (พ.ศ. 2283 - พ.ศ. 2291) และสงครามเจ็ดปี (พ.ศ. 2249 - พ.ศ. 2306)Russian Tsars by Boris Antonov, p.105.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและจักรพรรดินีเอลิซาเบธแห่งรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิบริติช

ักรวรรดิบริติช (British Empire) หรือ จักรวรรดิอังกฤษ ประกอบด้วยประเทศในเครือจักรภพ, คราวน์โคโลนี, รัฐในอารักขา, รัฐในอาณัติ และดินแดนอื่นซึ่งสหราชอาณาจักรปกครองหรือบริหาร จักรวรรดิกำเนิดจากดินแดนอาณานิคมโพ้นทะเลและสถานีการค้าที่ราชอาณาจักรอังกฤษก่อตั้งระหว่างปลายคริสต์ศตวรรษที่ 16 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 18 ในช่วงที่เจริญถึงขีดสุด จักรวรรดิบริติชเป็นจักรวรรดิที่ใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ และเป็นมหาอำนาจโลกชั้นแนวหน้านานกว่าหนึ่งศตวรรษ ใน..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและจักรวรรดิบริติช · ดูเพิ่มเติม »

คริสต์ศตวรรษที่ 20

ริสต์ศตวรรษที่ 20 อยู่ระหว่างปี 1 มกราคม ค.ศ. 1901 ถึง 31 ธันวาคม ค.ศ. 2000.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและคริสต์ศตวรรษที่ 20 · ดูเพิ่มเติม »

คลีโอพัตรา

ลีโอพัตราที่ 7 ฟิโลพาเธอร์ (Κλεοπάτρα θεά φιλοπάτωρ; หรือรู้จักทั่วไปในนาม คลีโอพัตรา) (มกราคม ปีที่ 69 ก่อนคริสตกาล – 30 พฤศจิกายน ปีที่ 30 ก่อนคริสตกาล) เป็นพระราชินีแห่งอียิปต์โบราณและเชื้อพระวงศ์องค์สุดท้ายของราชวงศ์ทอเลมีแห่งมาซิโดเนีย ดังนั้นจึงเป็นผู้ปกครองอียิปต์ที่มีเชื้อสายกรีกคนสุดท้าย บิดาของพระนางคือทอเลมีที่ 12 ออเลติส และคาดว่าพระมารดาเป็นเชษฐภคินีของโอเลเตส ทรงพระนามว่า คลีโอพัตราที่ 5 ทรีฟาเอนา ชื่อ "คลีโอพัตรา" เป็นภาษากรีก แปลว่า "ความเจริญรุ่งเรืองของบิดา" พระนามเต็มของพระนางคือ "คลีโอพัตรา เธอา ฟิโลปาตอร์" ซึ่งหมายถึง "เทพีคลีโอพัตรา ผู้เป็นที่รักของบิดา" พระนางมีพระปรีชาสามารถมาก ทรงแตกฉานถึง 14 ภาษา เช่น ฮิบรู, ละติน, มาเซดอนโบราณ, เอธิโอเปียน, ซีเรีย, เปอร์เซีย, และ อียิปต์ ซึ่งแม้แต่ในราชวงศ์ น้อยคนนักที่จะแตกฉานภาษานี้ ปัจจุบัน คลีโอพัตราที่ 7 ฟิโลปาตอร์ นับว่าเป็นผู้ปกครองอียิปต์โบราณที่มีชื่อเสียงมากที่สุด นิยมเรียกพระนามสั้น ๆ ว่า คลีโอพัตรา ซึ่งทำให้ราชินีองค์ก่อน ๆ ที่ทรงพระนามคล้ายคลึงกัน ลบเลือนไปสิ้น ในความเป็นจริง พระนางไม่เคยปกครองอียิปต์เพียงลำพัง แต่ครองราชย์ร่วมกับพระบิดา, พระอนุชา, สวามีผู้เป็นอนุชาของพระองค์ หรือไม่ก็พระโอรส การครองราชย์ร่วมกันดังกล่าวมีผู้ร่วมบัลลังก์เป็นเพียงกษัตริย์ตามพระยศเท่านั้น อำนาจแท้จริงอยู่ในมือของคลีโอพัตราเองทั้งสิ้น.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและคลีโอพัตรา · ดูเพิ่มเติม »

คลีโอพัตราที่ 1

ลีโอพัตราที่ 1 ไซรา (Κλεοπάτρα Σύρα) (Cleopatra I Syra) เป็นเจ้าหญิงแห่งจักรวรรดิเซลูซิดโดยการอภิเษกสมรส และเป็นสมเด็จพระราชินีแห่งอียิปต์โบราณ จากราชวงศ์ทอเลมี พระนางทรงอภิเษกสมรสกับทอเลมีที่ 5 กษัตริย์แห่งอียิปต์ เมื่อพระราชสวามีสวรรคตพระนางก็ทรงปกครองอียิปต์ผ่านทางทอเลมีที่ 6 พระโอรส ซึ่งเป็นกษัตริย์องค์ต่อมา พระนางทรงปกครองอียิปต์จวบจนกระทั่งพระนางสวรรคต.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและคลีโอพัตราที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

คลีโอพัตราที่ 2

ลีโอพัตราที่ 2 แห่งอียิปต์ (Κλεοπάτρα) (Cleopatra II of Egypt) เป็นสมเด็จพระราชินี (และผู้ปกครองแต่เพียงพระองค์เดียว ในระยะเวลาสั้น ๆ) แห่งอาณาจักรอียิปต์โบราณ จากราชวงศ์ทอเลมี.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและคลีโอพัตราที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

คลีโอพัตราที่ 3

คลีโอพัตราที่ 3 แห่งอียิปต์ (Κλεοπάτρα) (Cleopatra III of Egypt) เป็นสมเด็จพระราชินี แห่งอาณาจักรอียิปต์โบราณ จากราชวงศ์ทอเลมี ตั้งแต่ 142–101 ปีก่อนคริสตกาลพระนางเป็นพระมเหสีในปโตเลมีที่ 8 พระนางเป็นผู้ปกครองอียิปต์ร่วมกับพระสวามีของพระนาง หมวดหมู่:สมเด็จพระราชินีนาถ.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและคลีโอพัตราที่ 3 · ดูเพิ่มเติม »

คลีโอพัตราที่ 4

คลีโอพัตราที่ 4 แห่งอียิปต์ (Κλεοπάτρα) (Cleopatra IV of Egypt) เป็นสมเด็จพระราชินี แห่งอาณาจักรอียิปต์โบราณ จากราชวงศ์ทอเลมี ตั้งแต่ 116-115 ปีก่อนคริสตกาล พระนางเป็นพระมเหสีในปโตเลมีที่ 9 พระนางเป็นผู้ปกครองอียิปต์ร่วมกับพระสวามีของพระนาง หมวดหมู่:สมเด็จพระราชินีนาถ.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและคลีโอพัตราที่ 4 · ดูเพิ่มเติม »

คลีโอพัตราที่ 5

คลีโอพัตราที่ 5 แห่งอียิปต์ (Κλεοπάτρα) (Cleopatra V of Egypt) เป็นสมเด็จพระราชินี แห่งอาณาจักรอียิปต์โบราณ จากราชวงศ์ทอเลมี เป็นพระราชธิดาในปโตเลมีที่ 9กับคลีโอพัตราที่ 4 พระนางเป็นพระมเหสีในปโตเลมีที่ 12 พระนางเป็นผู้ปกครองอียิปต์ร่วมกับพระสวามีของพระนาง หมวดหมู่:สมเด็จพระราชินีนาถ.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและคลีโอพัตราที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

คลีโอพัตราที่ 6

คลีโอพัตราที่ 6 ทรีฟาเอนา (Κλεοπάτρα Τρύφαινα) (Cleopatra VI Tryphaena) เป็นสมเด็จพระราชินี แห่งอาณาจักรอียิปต์โบราณ จากราชวงศ์ทอเลมี พระนางเป็นพระธิดาในทอเลมีที่ 12กับคลีโอพัตราที่ 5 พระนางเป็นพระขนิษฐาของคลีโอพัตราที่ 7 ราชินีแห่งอียิปต์พระองค์ต่อมา หมวดหมู่:สมเด็จพระราชินีนาถ.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและคลีโอพัตราที่ 6 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศพม่า

ม่า หรือ เมียนมา (မြန်မာ,, มฺยะหฺม่า) มีชื่อทางการว่า สาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า หรือ สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา (ပြည်ထောင်စု သမ္မတ မြန်မာနိုင်ငံတော်, ปหฺยี่เด่าง์ซุ ตัมมะดะ มฺยะหฺม่า ไหฺน่หฺงั่นด่อ) เป็นรัฐเอกราชในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพรมแดนติดกับอินเดีย บังกลาเทศ จีน ลาว และไทย หนึ่งในสามของพรมแดนพม่าที่มีความยาว 1,930 กิโลเมตรเป็นแนวชายฝั่งตามอ่าวเบงกอลและทะเลอันดามัน ด้วยพื้นที่ 676,578 ตารางกิโลเมตร ประเทศพม่าเป็นประเทศที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 40 ของโลก และใหญ่เป็นอันดับที่ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สำมะโนของประเทศในปี 2557 เผยว่าประเทศพม่ามีประชากรน้อยกว่าที่คาดการณ์ โดยมีบันทึกประชากร 51 ล้านคน มีเมืองหลวง คือ กรุงเนปยีดอ และนครใหญ่สุด คือ ย่างกุ้ง อารยธรรมช่วงต้นของประเทศพม่ามีนครรัฐปยูที่พูดภาษาตระกูลทิเบต-พม่าในพม่าตอนบน และราชอาณาจักรมอญในพม่าตอนล่าง ในคริสต์ศตวรรษที่ 9 ชาวพม่าได้เข้าครอบครองบริเวณลุ่มแม่น้ำอิรวดีตอนบน และสถาปนาราชอาณาจักรพุกามในช่วงคริสต์ทศวรรษที่ 1050 ภาษาและวัฒนธรรมพม่าพร้อมด้วยศาสนาพุทธนิกายเถรวาทค่อย ๆ ครอบงำในประเทศ อาณาจักรพุกามล่มสลายเพราะการบุกครองของมองโกลและรัฐหลายรัฐกำเนิดขึ้น ในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ราชวงศ์ตองอูสร้างเอกภาพอีกครั้ง และช่วงสั้น ๆ เป็นจักรวรรรดิใหญ่สุดในประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ต้นศตวรรษที่ 19 ราชวงศ์คองบองได้ปกครองพื้นที่ประเทศพม่าและควบคุมมณีปุระและอัสสัมในช่วงสั้น ๆ ด้วย บริติชพิชิตพม่าหลังสงครามอังกฤษ-พม่าทั้งสามครั้งในคริสต์ศตวรรษที่ 19 และประเทศกลายเป็นอาณานิคมบริติช ประเทศพม่าได้รับเอกราชใน..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและประเทศพม่า · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศกัมพูชา

กัมพูชา หรือ ก็อมปุเจีย (កម្ពុជា กมฺพุชา) ชื่ออย่างเป็นทางการว่า ราชอาณาจักรกัมพูชา หรือ ราชอาณาจักรก็อมปุเจีย (ព្រះរាជាណាចក្រកម្ពុជា พฺระราชาณาจกฺรกมฺพุชา) เป็นประเทศตั้งอยู่ในส่วนใต้ของคาบสมุทรอินโดจีนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพื้นที่ 181,035 ตารางกิโลเมตร มีพรมแดนทิศตะวันตกติดต่อกับประเทศไทย ทิศเหนือติดกับประเทศไทยและลาว ทิศตะวันออกและทิศใต้ติดกับเวียดนาม และทิศตะวันตกเฉียงใต้ติดอ่าวไทย ด้วยประชากรกว่า 14.8 ล้านคน กัมพูชาเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดอันดับที่ 66 ของโลก ศาสนาพุทธนิกายเถรวาทเป็นศาสนาประจำชาติ ซึ่งประชากรกัมพูชานับถือประมาณ 95% ชนกลุ่มน้อยในประเทศมีชาวเวียดนาม ชาวจีน ชาวจาม และชาวเขากว่า 30 เผ่า เมืองหลวงและเมืองใหญ่สุด คือ พนมเปญ ซึ่งเป็นศูนย์กลางการเมือง เศรษฐกิจและวัฒนธรรมของกัมพูชา ราชอาณาจักรกัมพูชาปกครองแบบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ มีพระบาทสมเด็จพระบรมนาถ นโรดม สีหมุนี มาจากการเลือกตั้งโดยราชสภาเพื่อราชบัลลังก์ เป็นประมุขแห่งรัฐ ประมุขรัฐบาล คือ สมเด็จอัครมหาเสนาบดีเดโช ฮุน เซน ผู้ซึ่งปัจจุบันเป็นผู้นำที่ดำรงตำแหน่งนานที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยได้ปกครองกัมพูชามาเป็นระยะเวลากว่า 25 ปี ใน..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและประเทศกัมพูชา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศญี่ปุ่น

ประเทศญี่ปุ่น (ชื่ออย่างเป็นทางการ) เป็นรัฐเอกราชหมู่เกาะในเอเชียตะวันออก ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกนอกฝั่งตะวันออกของแผ่นดินใหญ่เอเชีย ทางตะวันตกติดกับคาบสมุทรเกาหลีและประเทศจีน โดยมีทะเลญี่ปุ่นกั้น ส่วนทางทิศเหนือติดกับประเทศรัสเซีย มีทะเลโอค็อตสค์เป็นเส้นแบ่งแดน ตัวอักษรคันจิของชื่อญี่ปุ่นแปลว่า "ถิ่นกำเนิดของดวงอาทิตย์" จึงทำให้มักได้ชื่อว่า "ดินแดนแห่งอาทิตย์อุทัย" ประเทศญี่ปุ่นเป็นกลุ่มเกาะกรวยภูเขาไฟสลับชั้นซึ่งมีเกาะประมาณ 6,852 เกาะ เกาะใหญ่สุดคือ เกาะฮนชู ฮกไกโด คีวชู และชิโกกุ ซึ่งคิดเป็นพื้นที่แผ่นดินประมาณร้อยละ 97 ของประเทศญี่ปุ่น และมักเรียกว่าเป็นหมู่เกาะเหย้า (home islands) ประเทศแบ่งเป็น 47 จังหวัดใน 8 ภูมิภาค โดยมีฮกไกโดเป็นจังหวัดเหนือสุด และโอกินาวะเป็นจังหวัดใต้สุด ประเทศญี่ปุ่นมีประชากร 127 ล้านคน เป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับ 10 ของโลก ชาวญี่ปุ่นเป็นร้อยละ 98.5 ของประชากรทั้งหมดของประเทศญี่ปุ่น ประมาณ 9.1 ล้านคนอาศัยอยู่ในกรุงโตเกียว เมืองหลวงของประเทศ การวิจัยทางโบราณคดีระบุว่ามีมนุษย์อาศัยในญี่ปุ่นปัจจุบันครั้งแรกตั้งแต่ยุคหินเก่า การกล่าวถึงญี่ปุ่นเป็นลายลักษณ์อักษรครั้งแรกปรากฏในบันทึกของราชสำนักจีนตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 1 ญี่ปุ่นได้รับอิทธิพลจากจีนในหลายด้าน เช่นภาษา การปกครองและวัฒนธรรม แต่ขณะเดียวกันก็มีการปรับเปลี่ยนให้เป็นเอกลักษณ์ของตนเอง จึงทำให้ญี่ปุ่นมีวัฒนธรรมที่โดดเด่นมาจนปัจจุบัน อีกหลายศตวรรษต่อมา ญี่ปุ่นก็รับเอาเทคโนโลยีตะวันตกและนำมาพัฒนาประเทศจนกลายเป็นประเทศที่ก้าวหน้าและมีอิทธิพลมากที่สุดในเอเชียตะวันออก หลังจากแพ้สงครามโลกครั้งที่สอง ญี่ปุ่นก็มีการเปลี่ยนแปลงทางการปกครองโดยการใช้รัฐธรรมนูญใหม่ใน..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและประเทศญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศมาดากัสการ์

มาดากัสการ์ (Madagascar; Madagasikara) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐมาดากัสการ์ (République de Madagascar; Repoblikan'i Madagasikara) คือชาติเกาะในมหาสมุทรอินเดีย ตั้งอยู่นอกชายฝั่งทางตะวันออกของแอฟริกา ใกล้กับโมซัมบิก เกาะมาดากัสการ์ที่เป็นเกาะหลักเป็นเกาะใหญ่เป็นอันดับ 4 ของโลก เป็นถิ่นของสายพันธุ์พืชและสัตว์ถึงร้อยละ 5 ของโลก และมีมากกว่าร้อยละ 80 ที่เป็นสัตว์หรือพืชเฉพาะถิ่นมาดากัสการ์ ที่เด่นคือตัวลีเมอร์ซึ่งอยู่ในตระกูลไพรเมต ตัวฟอสซา (fossa) ซึ่งกินเนื้อ นกเฉพาะถิ่น 3 ตระกูล และต้นบาวบับ (baobab) 6 ชนิด ภาษาหลักคือภาษามาลากาซี สมดุลทางธรรมชาติของมาดากัสการ์ถูกคุกคาม เนื่องจากป่าส่วนใหญ่เสียหาย และลีเมอร์ได้สูญพันธุ์ถึง 15 สายพัน.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและประเทศมาดากัสการ์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศรัสเซีย

รัสเซีย (Russia; Росси́я) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สหพันธรัฐรัสเซีย (Russian Federation; a) เป็นประเทศในยูเรเชียเหนือ และเป็นประเทศใหญ่ที่สุดในโลก กว่า 10,000,000 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ที่สามารถอยู่อาศัยของโลกถึงหนึ่งในแปด รัสเซียยังเป็นชาติมีประชากรมากที่สุดอันดับที่ 9 ของโลก โดยมีประชากร 143 ล้านคน รัสเซียปกครองด้วยระบอบสหพันธ์สาธารณรัฐกึ่งประธานาธิบดี ประกอบด้วย 83 เขตการปกครอง ไล่จากตะวันตกเฉียงเหนือถึงตะวันออกเฉียงใต้ รัสเซียมีพรมแดนติดกับนอร์เวย์ ฟินแลนด์ เอสโตเนีย ลัตเวีย ลิทัวเนีย และโปแลนด์ (ทั้งสองผ่านมณฑลคาลินินกราด) เบลารุส ยูเครน จอร์เจีย อาเซอร์ไบจาน คาซัคสถาน จีน มองโกเลียและเกาหลีเหนือ นอกจากนี้ยังมีพรมแดนทางทะเลติดกับญี่ปุ่นโดยทะเลโอฮอตสค์ และสหรัฐอเมริกาโดยช่องแคบแบริง อาณาเขตของรัสเซียกินเอเชียเหนือทั้งหมดและ 40% ของยุโรป แผ่ข้ามเก้าเขตเวลาและมีสิ่งแวดล้อมและธรณีสัณฐานหลากหลาย รัสเซียมีปริมาณทรัพยากรแร่ธาตุและพลังงานสำรองใหญ่ที่สุดของโลก และเป็นผู้ผลิตก๊าซธรรมชาติอันดับหนึ่งของโลก เช่นเดียวกับผู้ผลิตน้ำมันอันดับหนึ่งทั่วโลก รัสเซียมีป่าไม้สำรองใหญ่ที่สุดในโลกและทะเลสาบในรัสเซียบรรจุน้ำจืดประมาณหนึ่งในสี่ของโลก ประวัติศาสตร์ของชาติเริ่มขึ้นด้วยชาวสลาฟตะวันออก ผู้ถือกำเนิดขึ้นเป็นกลุ่มที่โดดเด่นได้ในยุโรประหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 3 ถึงที่ 8 รัฐรุสในสมัยกลาง ซึ่งก่อตั้งและปกครองโดยอภิชนนักรบวารันเจียนและผู้สืบเชื้อสาย เกิดขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 9 ใน..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและประเทศรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสวีเดน

วีเดน (Sweden; สฺแวรฺแย) หรือชื่อทางการคือ ราชอาณาจักรสวีเดน (Kingdom of Sweden) เป็นประเทศกลุ่มนอร์ดิกตั้งอยู่บนคาบสมุทรสแกนดิเนเวีย ในยุโรปเหนือ เขตแดนทางตะวันตกจรดประเทศนอร์เวย์ ทางตะวันออกเฉียงเหนือจรดประเทศฟินแลนด์ และช่องแคบ สแกเกอร์แรก (Skagerrak) ทางตะวันตกเฉียงใต้จรดช่องแคบแคทีแกต (Kattegat) และทางตะวันออกจรดทะเลบอลติก และอ่าวบอทเนีย มีกรุงสต็อกโฮล์มเป็นเมืองหลวง ประเทศสวีเดนมีประชากรที่เบาบาง เว้นแต่ในเขตเมืองใหญ่ พื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศประกอบด้วยป่าไม้ และภูเขาสูง หลังจากสิ้นสุดยุคไวกิง สวีเดนกลายเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพคาลมาร์ ร่วมกับเดนมาร์กและนอร์เวย์ (ในช่วงเวลานี้ ฟินแลนด์เป็นส่วนหนึ่งของราชอาณาจักรสวีเดน) สวีเดนได้ออกจากสหภาพในช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 16 และได้รบสู้กับประเทศเพื่อนบ้านเป็นเวลาหลายปี โดยเฉพาะรัสเซีย และเดนมาร์กกับนอร์เวย์ที่ยังเป็นสหภาพอยู่ ซึ่งไม่ยอมรับการที่สวีเดนออกจากสหภาพ ในคริสศตวรรษที่ 17 สวีเดนได้ขยายเขตด้วยสงครามและกลายเป็นมหาอำนาจด้วยขนาด 2 เท่าของปัจจุบัน ถึง..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและประเทศสวีเดน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสเปน

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและประเทศสเปน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอังกฤษ

อังกฤษ (England อิง(ก)ลันด์) หรือในอดีตเรียกว่า แคว้นอังกฤษ เป็นประเทศอันเป็นส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักร มีพรมแดนทางบกติดต่อกับสกอตแลนด์ทางเหนือ และเวลส์ทางตะวันตก ทะเลไอร์แลนด์ทางตะวันตกเฉียงเหนือ ทะเลเคลติกทางตะวันตกเฉียงใต้ ทะเลเหนือทางตะวันออก และช่องแคบอังกฤษซึ่งคั่นระหว่างอังกฤษกับยุโรปแผ่นดินใหญ่ พื้นที่ประเทศอังกฤษส่วนใหญ่ตั้งอยู่ทางตอนกลางและตอนใต้ของเกาะบริเตนใหญ่ในมหาสมุทรแอตแลนติกเหนือ ประเทศอังกฤษยังรวมถึงเกาะที่เล็กกว่าอีกกว่า 100 เกาะ เช่น หมู่เกาะซิลลีและเกาะไวต์ ภูมิประเทศของอังกฤษส่วนมากประกอบด้วยเขาเตี้ยๆ และที่ราบ โดยเฉพาะทางตอนกลางและตอนใต้ของอังกฤษ อย่างไรก็ตาม ทางเหนือและทางตะวันตกเฉียงใต้เป็นที่สูง วินเชสเตอร์เป็นเมืองหลวงเก่าของอังกฤษกระทั่งเปลี่ยนมาเป็นลอนดอนใน..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและประเทศอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศจีน

ประเทศจีน มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐประชาชนจีน (People's Republic of China (PRC)) เป็นรัฐเอกราชในเอเชียตะวันออก เป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดในโลก กว่า 1,300 ล้านคน เป็นรัฐพรรคการเมืองเดียวปกครองโดยพรรคคอมมิวนิสต์จีน มีเมืองหลวงอยู่ที่กรุงปักกิ่ง ประเทศจีนแบ่งการปกครองออกเป็น 22 มณฑล (ไม่รวมพื้นที่พิพาทไต้หวัน) 5 เขตปกครองตนเอง 4 เทศบาลนคร (ปักกิ่ง เทียนจิน เซี่ยงไฮ้ และฉงชิ่ง) และ 2 เขตบริหารพิเศษ ได้แก่ ฮ่องกงและมาเก๊า ประเทศจีนมีพื้นที่ 9.6 ล้านตารางกิโลเมตร นับเป็นประเทศที่มีพื้นที่ทั้งหมดใหญ่ที่สุดในโลกเป็นอันดับ 3 หรือ 4 แล้วแต่วิธีการวัด ลักษณะภูมิประเทศของจีนมีความหลากหลาย ตั้งแต่ป่าสเต็ปป์และทะเลทรายในพื้นที่แห้งแล้งทางตอนเหนือของประเทศติดกับประเทศมองโกเลียและไซบีเรียของรัสเซีย และป่าฝนกึ่งโซนร้อนในพื้นที่ชื้นทางใต้ซึ่งติดกับเวียดนาม ลาว และพม่า ส่วนภูมิประเทศทางตะวันตกนั้นขรุขระและเป็นที่สูง โดยมีเทือกเขาหิมาลัยและเทือกเขาเทียนชานกั้นเป็นพรมแดนตามธรรมชาติกับประเทศอินเดีย เนปาล และเอเชียกลาง ในทางตรงกันข้าม แนวชายฝั่งด้านตะวันออกของจีนแผ่นดินใหญ่นั้นเป็นที่ราบต่ำ และมีแนวชายฝั่งยาว 14,500 กิโลเมตร (ยาวที่สุดเป็นอันดับที่ 11 ของโลก) ซึ่งติดต่อกับทะเลจีนใต้ทางใต้ และทะเลจีนตะวันออกทางตะวันออก นอกจากนี้ยังมีประเทศที่เป็นเกาะอยู่ใกล้เคียง ได้แก่ เกาหลี และญี่ปุ่น อารยธรรมจีนโบราณ ซึ่งถือว่าเป็นหนึ่งอารยธรรมยุคแรกเริ่มของโลก เจริญรุ่งเรืองในลุ่มแม่น้ำเหลืองอันอุดมสมบูรณ์ ซึ่งไหลผ่านที่ราบลุ่มจีนเหนือ จีนยึดระบบการเมืองแบบราชาธิปไตยหลายสหัสวรรษ จีนรวมกันเป็นปึกแผ่นครั้งแรกในสมัยราชวงศ์ฉินเมื่อ 221 ปีก่อนคริสตกาล ส่วนราชวงศ์สุดท้าย ราชวงศ์ชิง สิ้นสุดลงในปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและประเทศจีน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศตองงา

ตองงา (อังกฤษและTonga) มีชื่อทางการคือ ราชอาณาจักรตองงา (Kingdom of Tonga; Puleʻanga Fakatuʻi ʻo Tonga ปูเลอางา ฟากาตูอีโอโตงา) เป็นประเทศหมู่เกาะในภูมิภาคพอลินีเชีย ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิก ระหว่างประเทศนิวซีแลนด์กับรัฐฮาวายของสหรัฐอเมริกา โดยทะเลอาณาเขตทางตะวันตกติดกับประเทศฟิจิ ส่วนทางตะวันออกติดกับหมู่เกาะคุก นีวเว และอเมริกันซามัว ในขณะที่ทางทิศเหนือติดกับหมู่เกาะวาลิสและฟูตูนา ประเทศซามัว และอเมริกันซามัว ชื่อประเทศในภาษาตองงาแปลว่าทิศใต้ นอกจากนี้ประเทศนี้ได้รับฉายาว่า หมู่เกาะมิตรภาพ จากกัปตันเจมส์ คุก ประเทศตองงาเป็นประเทศขนาดเล็กมีเนื้อที่เพียง 747 ตารางกิโลเมตร นับเป็นอันดับที่ 189 ของโลก หมู่เกาะตองงาประกอบไปด้วยเกาะน้อยใหญ่ประมาณ 169 เกาะ โดยมีเพียง 36 เกาะเท่านั้นที่มีผู้อยู่อาศัย เกาะที่ใหญ่ที่สุดคือเกาะโตงาตาปู ซึ่งเป็นที่ตั้งศูนย์กลางการปกครองคือนูกูอาโลฟา เกาะส่วนใหญ่ของตองงาเป็นเกาะที่เกิดจากการทับถมของปะการัง ประชากรของตองงามีทั้งสิ้น 103,036 คน นับเป็นอันดับที่ 192 ของโลก สันนิษฐานว่ามนุษย์เข้ามาอยู่อาศัยในตองงาครั้งแรกเมื่อ 826 ± 8 ปีก่อนคริสตกาล ตองงาเริ่มก่อตั้งอาณาจักรเป็นของตนเองในปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและประเทศตองงา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์

นอร์เวย์ (Norway; Norge; Noreg) มีชื่อทางการว่า ราชอาณาจักรนอร์เวย์ (Kingdom of Norway; Kongeriket Norge; Kongeriket Noreg) เป็นประเทศในกลุ่มนอร์ดิก ตั้งอยู่ในยุโรปเหนือ ส่วนตะวันตกของคาบสมุทรสแกนดิเนเวีย มีอาณาเขตจรดประเทศสวีเดน ฟินแลนด์ และรัสเซีย และมีอาณาเขตทางทะเลจรดมหาสมุทรแอตแลนติก ใกล้กับประเทศเดนมาร์กและสหราชอาณาจักร นอร์เวย์เป็นประเทศที่มีชายฝั่งยาวและเป็นที่ตั้งของฟยอร์ดที่มีชื่อเสียง ดินแดนหมู่เกาะที่อยู่ใกล้เคียง ได้แก่ สฟาลบาร์และยานไมเอน ต่างก็อยู่ภายใต้อำนาจอธิปไตยของนอร์เวย์และถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของราชอาณาจักร ในขณะที่เกาะบูแวในมหาสมุทรแอตแลนติกใต้ และเกาะปีเตอร์ที่ 1 ในมหาสมุทรแปซิฟิกใต้นั้น มีฐานะเป็นอาณานิคมของนอร์เวย์เท่านั้น ไม่ถือเป็นส่วนหนึ่งของราชอาณาจักร นอกจากนี้ นอร์เวย์ยังอ้างสิทธิ์เหนือดินแดนดรอนนิงมอดแลนด์ในทวีปแอนตาร์กติกา ซึ่งเป็นที่ตั้งของสถานีวิจัยอีกด้ว.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและประเทศนอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศโปรตุเกส

ปราสาทแห่งกีมารานช์ (Castle of Guimarães) ที่ถูกสร้างขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 10 ถือเป็นสัญลักษณ์ประจำชาติของประเทศโปรตุเกส เรียกได้อีกชื่อหนึ่งว่า "ต้นกำเนิดของโปรตุเกส" ศึกแห่งเซามาเมเด (São Mamede) เกิดขึ้นใกล้ๆ กับที่นี่ในปี พ.ศ. 1671 โปรตุเกส (Portugal ปุรตุกาล) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐโปรตุเกส (República Portuguesa) เป็นสาธารณรัฐซึ่งมีระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย ตั้งอยู่ในภาคตะวันตกและตะวันตกเฉียงใต้ของคาบสมุทรไอบีเรียทางตอนใต้ของทวีปยุโรป และถือว่าเป็นประเทศที่อยู่ทางทิศตะวันตกมากที่สุดในบรรดาประเทศในทวีปยุโรปทั้งหลาย (ยกเว้นหมู่เกาะบริเตนใหญ่และหมู่เกาะใกล้เคียง) โปรตุเกสมีพรมแดนติดกับประเทศสเปนในทางทิศเหนือและทิศตะวันออก และอยู่ติดกับมหาสมุทรแอตแลนติกในทางทิศตะวันตกและทิศใต้ นอกจากนี้ โปรตุเกสยังประกอบไปด้วยอาณาเขตหมู่เกาะอยู่หลายหมู่เกาะด้วยกันในมหาสมุทรแอตแลนติก อาทิเช่น อะโซร์ส (Azores หรือ Açores) และเกาะมาเดราและโปร์ตูซันตู (รวมถึงหมู่เกาะซาเวจด้วย).

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและประเทศโปรตุเกส · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศโปแลนด์

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและประเทศโปแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไซปรัส

ซปรัส (Cyprus; Κύπρος คีโปรส; Kıbrıs) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐไซปรัส (Republic of Cyprus; Κυπριακή Δημοκρατία; Kıbrıs Cumhuriyeti) เป็นเกาะที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 3 ในทะเลเมดิเตอร์เรเนียนทางตะวันออก อยู่ทางใต้ของประเทศตุรกี 44 ไมล์ อยู่ทางตะวันตกของชายฝั่งประเทศซีเรียประมาณ 64 ไมล์ และห่างจากเกาะโรดส์ และเกาะคาร์ปาทอส ทางตะวันออกเฉียงใต้ของกรีซ 240 ไมล์ ไซปรัสเป็นจุดหมายหนึ่งในทะเลเมดิเตอร์เรเนียนที่นักท่องเที่ยวนิยมไปมากที่สุด โดยมีจำนวนนักท่องเที่ยวประมาณ 2.4 ล้านคนต่อปี ไซปรัสได้รับเอกราชจากการเป็นอาณานิคมจากสหราชอาณาจักร เมื่อปี 1960 และเป็นประเทศสมาชิกในเครือจักรภพในปี 1961.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและประเทศไซปรัส · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเบลเยียม

ลเยียม (Belgium) หรือชื่อทางการว่า ราชอาณาจักรเบลเยียม (Kingdom of Belgium) เป็นประเทศในยุโรปตะวันตกเฉียงเหนือ มีอาณาเขตติดต่อกับประเทศเนเธอร์แลนด์ เยอรมนี ลักเซมเบิร์ก ฝรั่งเศส และทะเลเหนือ เบลเยียมเป็นสมาชิกรุ่นก่อตั้งของสหภาพยุโรป และเป็นที่ตั้งของสำนักงานใหญ่ เช่นเดียวกับของอีกหลายองค์กรระหว่างประเทศรวมถึงองค์การสนธิสัญญาป้องกันแอตแลนติกเหนือ ทั้งนี้ ลักษณะของประเทศ ยังคล้ายกับ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์อีกด้วย เบลเยียมมีความหลากหลายทางภาษาค่อนข้างสูง ส่งผลต่อระบบการปกครองที่ค่อนข้างซับซ้อน เบลเยียมแบ่งออกเป็นสองภูมิภาคใหญ่ ๆ ได้แก่ฟลานเดอส์ ซึ่งประชากรส่วนใหญ่พูดภาษาดัตช์ และวัลโลเนีย ซึ่งประชากรส่วนใหญ่พูดภาษาฝรั่งเศส บรัสเซลส์ เมืองหลวงของเบลเยียม เป็นเขตทวิภาษา ตั้งอยู่ในฟลานเดอส์ นอกจากนี้ยังมีชุมชนที่พูดภาษาเยอรมันในทางตะวันออกของวัลโลเนียด้วย คำว่าเบลเยียม (Belgium ในภาษาอังกฤษ België และ Belgique ในภาษาดัตช์และฝรั่งเศส) มีที่มาจาก Gallia Belgica ซึ่งเป็นจังหวัดในยุคโรมัน มีกลุ่มชาว Belgae อยู่อาศั.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและประเทศเบลเยียม · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเอธิโอเปีย

อธิโอเปีย (Ethiopia; อามฮารา) หรือชื่อทางการคือ สหพันธ์สาธารณรัฐประชาธิปไตยเอธิโอเปีย (Federal Democratic Republic of Ethiopia; อามฮารา) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลที่ตั้งอยู่ในส่วนแหลมของทวีปแอฟริกา (Horn of Africa) เป็นหนึ่งในชาติที่มีประวัติศาสตร์อันต่อเนื่องยาวนานที่สุดบนทวีปนี้ ในฐานะชาติอิสระ เอธิโอเปียเป็นประเทศเดียวในแอฟริกาที่ยังคงเอกราชระหว่างยุคล่าอาณานิคมในแอฟริกา (Scramble for Africa) และยังคงเอกราชไว้จนถึง พ.ศ. 2479 ซึ่งกองทัพอิตาลีในสมัยของเบนิโต มุสโสลินีได้เข้ายึดครองประเทศนี้ อังกฤษและเอธิโอเปียปราบกองทัพอิตาลีในพ.ศ. 2484 แต่เอธิโอเปียไม่ได้รับเอกราชใหม่จนถึงการลงนามในสนธิสัญญาระหว่างอังกฤษกับเอธิโอเปีย (Anglo-Ethiopian Agreement) เมื่อธันวาคม พ.ศ. 2487.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและประเทศเอธิโอเปีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเดนมาร์ก

นมาร์ก (Denmark; แดนมาก) (Danmark) หรือชื่อทางการคือ ราชอาณาจักรเดนมาร์ก เป็นประเทศกลุ่มนอร์ดิก มีแผ่นดินหลักตั้งอยู่บนคาบสมุทรจัตแลนด์ ทางทิศเหนือของประเทศเยอรมนี ซึ่งเป็นเพื่อนบ้านทางบกเพียงประเทศเดียว ทางทิศใต้ของประเทศนอร์เวย์ และตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศสวีเดน มีพรมแดนจรดทะเลเหนือและทะเลบอลติก เดนมาร์กมีดินแดนนอกชายฝั่งห่างไกลออกไปสองแห่ง คือหมู่เกาะแฟโรและกรีนแลนด์ ซึ่งแต่ละแห่งมีอำนาจปกครองตนเอง เดนมาร์กเป็นประเทศองค์ประกอบที่มีการปกครองระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพยุโรป แต่ยังไม่เข้าร่วมใช้สกุลเงินยูโร เดนมาร์กเป็นสมาชิกรุ่นก่อตั้งขององค์การสนธิสัญญาป้องกันแอตแลนติกเหนือ.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและประเทศเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเนเธอร์แลนด์

นเธอร์แลนด์ (Nederland เนเดอร์ลอนต์; Netherlands) หรือที่มักเรียกกันว่า ฮอลแลนด์ (Holland) หรือ ฮอลันดา หรือ วิลันดา เป็นประเทศองค์ประกอบ (constituent country) ของราชอาณาจักรเนเธอร์แลนด์ ประกอบด้วยสิบสองจังหวัดในยุโรปตะวันตก และสามเกาะในแคริบเบียน เนเธอร์แลนด์ส่วนที่อยู่ในทวีปยุโรปมีอาณาเขตทิศเหนือและตะวันตกจดทะเลเหนือ ทิศใต้จดประเทศเบลเยียม และทิศตะวันออกจดประเทศเยอรมนี และมีพรมแดนทางทะเลร่วมกับเบลเยียม เยอรมนีและสหราชอาณาจักร ประเทศเนเธอร์แลนด์เป็นประเทศแรก ๆ ของโลกที่มีรัฐสภาจากการเลือกตั้ง และปกครองด้วยประชาธิปไตยระบบรัฐสภา จัดระเบียบเป็นรัฐเดี่ยว เมืองหลวงของประเทศเนเธอร์แลนด์ตามที่ระบุไว้ในรัฐธรรมนูญ คือ อัมสเตอร์ดัม ทว่า ที่ทำการรัฐบาลตั้งอยู่ที่กรุงเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ทั้งหมดมักเรียกว่า "ฮอลแลนด์" ซึ่งในการใช้อย่างเข้มงวดจะหมายความถึงจังหวัดนอร์ทฮอลแลนด์และเซาท์ฮอลแลนด์เท่านั้น ถือกันว่าการใช้แบบแรกนั้นไม่ถูกต้อง หรือไม่เป็นทางการ ขึ้นอยู่กับบริบท ทว่า เป็นที่ยอมรับกันทั่วไปเมื่อหมายถึงฟุตบอลทีมชาติ ประเทศเนเธอร์แลนด์เป็นประเทศที่มีพื้นที่ต่ำ โดย 20% ของพื้นที่อยู่ และ 21% ของประชากรอาศัยอยู่ต่ำกว่าระดับน้ำทะเล และ 50% ของพื้นที่อยู่สูงกว่าระดับน้ำทะเลไม่เกินหนึ่งเมตร ซึ่งลักษณะเด่นนี้เป็นที่มาของชื่อประเทศ ในภาษาดัตช์ อังกฤษและภาษาอื่นของยุโรปอีกหลายภาษา ชื่อประเทศหมายถึง "แผ่นดินต่ำ" หรือ "กลุ่มประเทศแผ่นดินต่ำ" พื้นที่ส่วนใหญ่ที่อยู่ต่ำกว่าระดับน้ำทะเลเกิดจากฝีมือมนุษย์ ซึ่งเกิดจากการสกัดพีต (peat) อย่างกว้างขวางและมีการควบคุมไม่ดีหลายศตวรรษทำให้พื้นผิวต่ำลงหลายเมตร แม้ในพื้นที่น้ำท่วมถึง การสกัดพีตยังดำเนินต่อไปโดยการขุดลอกพื้นที่ ตั้งแต่ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 16 เริ่มมีการฟื้นสภาพที่ดินและปัจจุบันมีการสงวนพื้นที่โพลเดอร์ (polder) ขนาดใหญ่ด้วยระบบการระบายน้ำที่ซับซ้อนซึ่งมีทั้งพนัง คลองและสถานีสูบ พื้นที่เกือบ 17% ของประเทศเป็นพื้นที่ที่เกิดจากการถมทะเล พื้นที่บริเวณกว้างของเนเธอร์แลนด์เกิดจากชะวากทะเลของแม่น้ำสำคัญของทวีปยุโรปสามสายและลำน้ำแตกสาขาเกิดเป็นสามเหลี่ยมปากแม่น้ำไรน์–เมิซ–ซเกลดะ (Rhine–Meuse–Scheldt delta) พื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศเป็นที่ราบ ยกเว้นเนินเขาทางตะวันออกเฉียงใต้และเทือกเขาเตี้ย ๆ หลายเทือกทางตอนกลาง ประเทศเนเธอร์แลนด์เป็นสมาชิกก่อตั้งของสหภาพยุโรป จี-10 นาโต้ องค์การเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา (OECD) องค์การการค้าโลก และเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพเศรษฐกิจไตรภาคีเบเนลักซ์ ประเทศเนเธอร์แลนด์เป็นที่ตั้งขององค์การห้ามอาวุธเคมี และศาลระหว่างประเทศห้าศาล ได้แก่ ศาลอนุญาโตตุลาการถาวร ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ ศาลอาญาระหว่างประเทศ คณะตุลาการอาญาระหว่างประเทศสำหรับอดีตยูโกสลาเวียและคณะตุลาการพิเศษสำหรับเลบานอน สี่ศาลแรกตั้งอยู่ในกรุงเฮก เช่นเดียวกับยูโรโปล สำนักข่าวกรองอาชญากรรมของสหภาพยุโรป และยูโรจัสต์ สำนักความร่วมมือทางตุลาการ ทำให้กรุงเฮกได้รับสมญาว่า "เมืองหลวงกฎหมายโลก" ประเทศเนเธอร์แลนด์ใช้ระบบเศรษฐกิจแบบผสมอิงตลาด โดยอยู่ในอันดับที่ 17 จาก 177 ประเทศในดัชนีเสรีภาพทางเศรษฐกิจ ในปี 2554 เป็นประเทศที่มีรายได้ต่อหัวสูงสุดเป็นอันดับที่ 10 ของโลก ในเดือนพฤษภาคม ปีเดียวกัน OECD จัดให้เนเธอร์แลนด์เป็นประเทศ "ที่มีความสุขที่สุด" ในโลก ซึ่งสะท้อนถึงมาตรฐานการครองชีพที่สูง.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและประเทศเนเธอร์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

นครรัฐแพร่

นครรัฐแพร่ หรือ นครแพร่ เป็นนครรัฐอิสระขนาดเล็กในอดีตรัฐหนึ่ง ซึ่งตั้งอยู่บนที่ราบลุ่มแม่น้ำยม เดิมเรียกว่า “เมืองพล” นครพล, หรือพลนคร, “เวียงโกศัย” หรือโกศัยนคร, “เมืองแพล” มีชื่อเต็มว่า โกเสยุยธชุชพลวิชยแพร่แก้วเมืองมุร จนกระทั่ง..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและนครรัฐแพร่ · ดูเพิ่มเติม »

แกรนด์ดยุกวิลเลมที่ 4 แห่งลักเซมเบิร์ก

แกรนด์ดยุกวิลเลมที่ 4 แห่งลักเซมเบิร์ก (22 เมษายน พ.ศ. 2395 - 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2455) ทรงดำรงเป็นแกรนด์ดยุคผู้ปกครองแห่งราชรัฐลักเซมเบิร์กตั้งแต่ 17 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและแกรนด์ดยุกวิลเลมที่ 4 แห่งลักเซมเบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

แกรนด์ดยุกอ็องรีแห่งลักเซมเบิร์ก

แกรนด์ดยุกอ็องรีแห่งราชรัฐลักเซมเบิร์ก (16 เมษายน พ.ศ. 2498-) เป็นพระโอรสพระองค์แรกในแกรนด์ดยุกฌ็องและแกรนด์ดัชเชสโฌเซฟีน-ชาร์ล็อตแห่งลักเซมเบิร์ก เป็นพระราชนัดดาใน สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียม เป็นพระภาคิไนยใน สมเด็จพระราชาธิบดีอัลแบร์ที่ 2 แห่งเบลเยียม ขึ้นครองราชย์เมื่อวันที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2543 อภิเษกสมรสกับมาเรีย เตเรซา เมสเตรในปี พ.ศ. 2524.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและแกรนด์ดยุกอ็องรีแห่งลักเซมเบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

แกรนด์ดยุกฌ็องแห่งลักเซมเบิร์ก

แกรนด์ดยุกฌ็องแห่งลักเซมเบิร์ก (5 มกราคม พ.ศ. 2464 -) (พระนามเดิม: ฌอง เบอร์นอย กีโยม โรเบิร์ต แอนโตน หลุยส์ มารี อดอล์ฟ มาร์ก เดอ อาเวียโน) ทรงปกครองลักเซมเบิร์กตั้งแต..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและแกรนด์ดยุกฌ็องแห่งลักเซมเบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

แกรนด์ดัชเชสชาร์ล็อตแห่งลักเซมเบิร์ก

แกรนด์ดัชเชสชาร์ล็อตแห่งลักเซมเบิร์ก (Charlotte, Grand Duchess of Luxembourg, พระนามเต็ม ชาร์ล็อต อเดลก็อนเด เอลิซ มารี วิลเฮลมีน; 23 มกราคม พ.ศ. 2439 - 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2528) เป็นพระธิดาพระองค์ที่สองในแกรนด์ดยุกวิลเล็มที่ 4 แห่งลักเซมเบิร์ก และ เจ้าหญิงมารี แอนน์แห่งโปรตุเกส โดยเป็นพระราชนัดดาในพระเจ้ามิเกลแห่งโปรตุเกส และ เจ้าหญิงอเดลไฮด์แห่งเลอเว็นชไตน์-เวอร์ไธม์-โรเซ็นบอร์ก หากทรงครองราชสมบัติจนถึงวันสิ้นพระชนม์ พระองค์จะทรงราชย์เป็นเวลาทั้งสิ้น 66 ปี ซึ่งยาวนานกว่าผู้ปกครองลักเซมเบิร์กเท่าที่เคยมีมาทุกพระอง.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและแกรนด์ดัชเชสชาร์ล็อตแห่งลักเซมเบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

แกรนด์ดัชเชสมารี-อาเดลาอีดแห่งลักเซมเบิร์ก

แกรนด์ดัชเชสมารี-อาเดลาอีดแห่งลักเซมเบิร์ก (Maria Adelheid Theresia Hilda Antonia Wilhelmina vu Lëtzebuerg, Marie Adélaïde Thérèse Hilda Antonie Wilhelmine, พระนามเต็ม: มารี อเดเฮด เทเรซ ฮิลดา วิลเฮลมิเน ฟอน นัสเซา-ไวล์บวร์ก; 14 มิถุนายน พ.ศ. 2437 – 24 มกราคม พ.ศ. 2467) ทรงเป็นแกรนด์ดัสเชสลักเซมเบิร์กพระองค์แรกระหว่าง ครองราชย์ระหว่าง..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและแกรนด์ดัชเชสมารี-อาเดลาอีดแห่งลักเซมเบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

แม่เจ้าบัวไหล

แม่เจ้าบัวไหล เป็นชายาในเจ้าพิริยเทพวงษ์ เจ้าผู้ครองนครแพร่องค์ที่ 22 และเป็นแม่เจ้าหลวงแห่งเมืองนครแพร.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและแม่เจ้าบัวไหล · ดูเพิ่มเติม »

เกาหลี

กาหลี อาจหมายถึง.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและเกาหลี · ดูเพิ่มเติม »

เลดีเจน เกรย์

ลดีเจน เกรย์ (Lady Jane Grey; 1536/1537 -12 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1554) หรือ เลดีเจน ดัดลีย์ หรือที่รู้จักในนาม ราชินีเก้าวัน เป็นพระราชนัดดาของสมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 8 เป็นพระธิดาของเลดีฟรานเซส แบรนดอน และเฮนรี เกรย์ (ดำรงตำแหน่งดยุกแห่งซัฟโฟล์ก) ประสูติที่แบรดเกรทท์พาร์ก ในเลสเตอร์เชอร์ เมื่อเดือนตุลาคม..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและเลดีเจน เกรย์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้า

้า ในพระยศเจ้านายไทย หมายถึง พระมหากษัตริย์หรือเชื้อสายของพระมหากษัตริย์นับตั้งแต่ชั้นหม่อมเจ้าขึ้นไป ในระบบบรรดาศักดิ์ยุโรป เจ้า (ทั้งเจ้าชายและเจ้าหญิง) ถือเป็นฐานันดรศักดิ์สืบตระกูลในราชวงศ์สำหรับพระราชโอรสธิดาและพระราชนัดดาในพระมหากษัตริย์ เช่น เจ้าชายชาลส์ เจ้าชายแห่งเวลส์ พระราชโอรสในสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร นอกจากนี้ “เจ้า” ยังอาจหมายถึงประมุขของรัฐขนาดเล็กที่เรียกว่า เจ้าผู้ครองนคร ด้วย เช่น เจ้าแก้วนวรัฐ เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ ในยุโรป เจ้าชาย ยังหมายถึงเจ้าผู้ครองราชรัฐชั้นพรินซิพาลิตี หากเป็นสตรีก็เรียกว่าเจ้าหญิง เช่น เจ้าชายอัลแบร์ที่ 2 องค์อธิปัตย์แห่งโมนาโก ในปัจจุบันมีราชรัฐชั้นพรินซิพาลิตีเหลือเพียง 3 แห่งในโลก คือ ราชรัฐอันดอร์รา ราชรัฐโมนาโก และราชรัฐลิกเตนสไตน.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและเจ้า · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายพระราชสวามี

้าชายพระราชสวามี (prince consort) หมายถึงพระราชสวามีในสมเด็จพระราชินีนาถ แต่ไม่ได้เป็นพระมหากษัตริย์ตามสิทธิ์ของพระองค์เอง เจ้าชายพระราชสวามีที่ยังดำรงพระชนม์อยู่ในปัจจุบัน คือ เจ้าชายเฮนริกแห่งเดนมาร์ก พระราชสวามี ใน สมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 แห่งเดนมาร์ก โดยทั่วไปผู้ที่เป็นพระราชสวามีอาจได้รับพระยศเป็นเจ้าชาย เจ้าชายพระราชสวามี หรือพระมหากษัตริย์พระราชสวามี ตามแต่สมเด็จพระราชินีนาถจะทรงแต่งตั้ง กรณีที่ "เจ้าชายพระราชสวามี" เป็นอิสริยยศ พบว่าใช้กับเจ้าชายอัลเบิร์ต พระราชสวามีในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร ที่พระราชทานให้พระราชสวามีในปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและเจ้าชายพระราชสวามี · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายอัลเบิร์ต พระราชสวามี

้าชาย ฟรันซ์ อัลแบร์ท เอากุสตุส คาร์ล เอ็มมานูเอล แห่งซัคเซิน-โคบูร์ก-ซาลเฟลด์ (Franz Albert August Karl Emanuel von Sachsen-Coburg-Saalfeld) หรือ เจ้าชายอัลเบิร์ต พระราชสวามี (Albert, Prince Consort) เป็นเจ้าชายเยอรมันซึ่งสมรสเข้าสู่พระราชวงศ์อังกฤษ ทรงเป็นพระราชสวามีในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร จึงทำให้พระองค์ดำรงพระยศเป็น "เจ้าชายพระราชสวามี" อย่างเป็นทางการเพียงพระองค์เดียว ภายหลังจากการสวรรคตของสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียใน..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและเจ้าชายอัลเบิร์ต พระราชสวามี · ดูเพิ่มเติม »

เครือจักรภพ

รือจักรภพ (commonwealth) เป็นคำภาษาอังกฤษเดิมใช้กับชุมชนการเมืองที่ตั้งขึ้นเพื่อประโยชน์ร่วมกัน ในอดีต บางครั้งคำนี้สมนัยกับ "สาธารณรัฐนิยม" ภายหลังคำนี้ใช้กับสมาคมรัฐเอกราช ที่โดดเด่นที่สุด คือ เครือจักรภพแห่งชาติ สมาคมสำหรับอดีตสมาชิกจักรวรรดิอังกฤษเป็นหลัก มักเรียกย่อเป็น "เครือจักรภพ".

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและเครือจักรภพ · ดูเพิ่มเติม »

1 มกราคม

วันที่ 1 มกราคม เป็นวันแรกของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 364 วันในปีนั้น (365 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและ1 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

1 สิงหาคม

วันที่ 1 สิงหาคม เป็นวันที่ 213 ของปี (วันที่ 214 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 152 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและ1 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

1 เมษายน

วันที่ 1 เมษายน เป็นวันที่ 91 ของปี (วันที่ 92 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 274 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและ1 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

11 สิงหาคม

วันที่ 11 สิงหาคม เป็นวันที่ 223 ของปี (วันที่ 224 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 142 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและ11 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

12 พฤศจิกายน

วันที่ 12 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 316 ของปี (วันที่ 317 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 49 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและ12 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

12 สิงหาคม

วันที่ 12 สิงหาคม เป็นวันที่ 224 ของปี (วันที่ 225 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 141 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและ12 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

12 เมษายน

วันที่ 12 เมษายน เป็นวันที่ 102 ของปี (วันที่ 103 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 263 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและ12 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

13 กรกฎาคม

วันที่ 13 กรกฎาคม เป็นวันที่ 194 ของปี (วันที่ 195 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 171 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและ13 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

13 กุมภาพันธ์

วันที่ 13 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 44 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 321 วันในปีนั้น (322 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและ13 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

14 มกราคม

วันที่ 14 มกราคม เป็นวันที่ 14 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 351 วันในปีนั้น (352 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและ14 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

14 มีนาคม

วันที่ 14 มีนาคม เป็นวันที่ 73 ของปี (วันที่ 74 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 292 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและ14 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

15 พฤศจิกายน

วันที่ 15 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 319 ของปี (วันที่ 320 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 46 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและ15 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

16 สิงหาคม

วันที่ 16 สิงหาคม เป็นวันที่ 228 ของปี (วันที่ 229 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 137 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและ16 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

16 ธันวาคม

วันที่ 16 ธันวาคม เป็นวันที่ 350 ของปี (วันที่ 351 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 15 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและ16 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

17 พฤศจิกายน

วันที่ 17 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 321 ของปี (วันที่ 322 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 44 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและ17 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

17 พฤษภาคม

วันที่ 17 พฤษภาคม เป็นวันที่ 137 ของปี (วันที่ 138 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 228 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและ17 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

19 กรกฎาคม

วันที่ 19 กรกฎาคม เป็นวันที่ 200 ของปี (วันที่ 201 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 165 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและ19 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

2 เมษายน

วันที่ 2 เมษายน เป็นวันที่ 92 ของปี (วันที่ 93 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 273 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและ2 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

20 มิถุนายน

วันที่ 20 มิถุนายน เป็นวันที่ 171 ของปี (วันที่ 172 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 194 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและ20 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

20 มีนาคม

วันที่ 20 มีนาคม เป็นวันที่ 79 ของปี (วันที่ 80 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 286 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและ20 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

20 ตุลาคม

วันที่ 20 ตุลาคม เป็นวันที่ 293 ของปี (วันที่ 294 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 72 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและ20 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

22 พฤศจิกายน

วันที่ 22 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 326 ของปี (วันที่ 327 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 39 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและ22 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

22 มกราคม

วันที่ 22 มกราคม เป็นวันที่ 22 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 343 วันในปีนั้น (344 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและ22 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

22 ตุลาคม

วันที่ 22 ตุลาคม เป็นวันที่ 295 ของปี (วันที่ 296 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 70 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและ22 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

23 พฤศจิกายน

วันที่ 23 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 327 ของปี (วันที่ 328 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 38 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและ23 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

23 พฤษภาคม

วันที่ 23 พฤษภาคม เป็นวันที่ 143 ของปี (วันที่ 144 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 222 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและ23 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

24 กุมภาพันธ์

วันที่ 24 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 55 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 310 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและ24 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

24 มีนาคม

วันที่ 24 มีนาคม เป็นวันที่ 83 ของปี (วันที่ 84 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 282 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและ24 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

25 กุมภาพันธ์

วันที่ 25 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 56 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 309 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและ25 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

26 พฤศจิกายน

วันที่ 26 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 330 ของปี (วันที่ 331 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 35 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและ26 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

27 กันยายน

วันที่ 27 กันยายน เป็นวันที่ 270 ของปี (วันที่ 271 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 95 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและ27 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

28 กรกฎาคม

วันที่ 28 กรกฎาคม เป็นวันที่ 209 ของปี (วันที่ 210 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 156 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและ28 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

28 มิถุนายน

วันที่ 28 มิถุนายน เป็นวันที่ 179 ของปี (วันที่ 180 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 186 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและ28 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

28 ธันวาคม

วันที่ 28 ธันวาคม เป็นวันที่ 362 ของปี (วันที่ 363 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 3 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและ28 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

28 ตุลาคม

วันที่ 28 ตุลาคม เป็นวันที่ 301 ของปี (วันที่ 302 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 64 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและ28 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

29 กันยายน

วันที่ 29 กันยายน เป็นวันที่ 272 ของปี (วันที่ 273 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 93 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและ29 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

29 มกราคม

วันที่ 29 มกราคม เป็นวันที่ 29 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 336 วันในปีนั้น (337 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและ29 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

29 เมษายน

วันที่ 29 เมษายน เป็นวันที่ 119 ของปี (วันที่ 120 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 246 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและ29 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

30 กันยายน

วันที่ 30 กันยายน เป็นวันที่ 273 ของปี (วันที่ 274 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 92 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและ30 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

30 เมษายน

วันที่ 30 เมษายน เป็นวันที่ 120 ของปี (วันที่ 121 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 245 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและ30 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

4 กันยายน

วันที่ 4 กันยายน เป็นวันที่ 247 ของปี (วันที่ 248 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 118 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและ4 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

5 มกราคม

วันที่ 5 มกราคม เป็นวันที่ 5 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 360 วันในปีนั้น (361 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและ5 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

5 เมษายน

วันที่ 5 เมษายน เป็นวันที่ 95 ของปี (วันที่ 96 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 270 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและ5 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

6 กุมภาพันธ์

วันที่ 6 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 37 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 328 วันในปีนั้น (329 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและ6 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

6 ธันวาคม

วันที่ 6 ธันวาคม เป็นวันที่ 340 ของปี (วันที่ 341 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 25 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและ6 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

6 เมษายน

วันที่ 6 เมษายน เป็นวันที่ 96 ของปี (วันที่ 97 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 269 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและ6 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

8 กุมภาพันธ์

วันที่ 8 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 39 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 326 วันในปีนั้น (327 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและ8 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

8 มีนาคม

วันที่ 8 มีนาคม เป็นวันที่ 67 ของปี (วันที่ 68 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 298 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถและ8 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

สมเด็จพระบรมราชินีนาถพระราชินีนาถ

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »