โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พระธรรมเจดีย์ (จูม พนฺธุโล)

ดัชนี พระธรรมเจดีย์ (จูม พนฺธุโล)

ระธรรมเจดีย์ นามเดิม จูม จันทวงศ์ ฉายา พนฺธุโล เป็นอดีตเจ้าคณะมณฑลอุดรธานี (ธรรมยุต) อดีตผู้ช่วยเจ้าคณะภาค 3-4-5 (ธรรมยุต) อดีตเจ้าอาวาสวัดโพธิสมภรณ์ ตำบลหมากแข้ง อำเภอเมืองอุดรธานี.

40 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2463พ.ศ. 2466พ.ศ. 2468พ.ศ. 2470พ.ศ. 2473พ.ศ. 2478พ.ศ. 2488พระญาณสิทธาจารย์ (ทองพูล สิริกาโม)พระราชาคณะพระราชาคณะชั้นธรรมพระวิสุทธิญาณเถร (สมชาย ฐิตวิริโย)พระอุดมญาณโมลี (จันทร์ศรี จนฺททีโป)พระธรรมวิสุทธิมงคล (บัว ญาณสมฺปนฺโน)พระธรรมเจดีย์พระครูวินัยธรมั่น ภูริทตฺโตพระครูวิเวกพุทธกิจ (เสาร์ กนฺตสีโล)พระครูสัญญาบัตรพระปัญญาพิศาลเถร (ทูล ขิปฺปปญฺโญ)ฐานานุกรมวัดโพธิสมภรณ์สมณศักดิ์สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (เจริญ ญาณวโร)หลวงปู่พรหม จิรปุญฺโญหลวงปู่ฝั้น อาจาโรหลวงปู่ลี กุสลธโรหลวงปู่หลุย จนฺทสาโรหลวงปู่อ่อน ญาณสิริหลวงปู่ขาว อนาลโยอวย เกตุสิงห์อำเภอท่าอุเทนอำเภอเมืองอุดรธานีอุปัชฌาย์จังหวัดหนองบัวลำภูจังหวัดนครพนมธรรมยุติกนิกายตำบลหมากแข้งนักธรรมชั้นโทโรงพยาบาลศิริราชเจ้าอาวาสเปรียญธรรม 3 ประโยค

พ.ศ. 2463

ทธศักราช 2463 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1920 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พระธรรมเจดีย์ (จูม พนฺธุโล)และพ.ศ. 2463 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2466

ทธศักราช 2466 ตรงกั.

ใหม่!!: พระธรรมเจดีย์ (จูม พนฺธุโล)และพ.ศ. 2466 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2468

ทธศักราช 2468 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1925 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พระธรรมเจดีย์ (จูม พนฺธุโล)และพ.ศ. 2468 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2470

ทธศักราช 2470 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1927 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พระธรรมเจดีย์ (จูม พนฺธุโล)และพ.ศ. 2470 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2473

ทธศักราช 2473 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1930 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พระธรรมเจดีย์ (จูม พนฺธุโล)และพ.ศ. 2473 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2478

ทธศักราช 2478 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1935.

ใหม่!!: พระธรรมเจดีย์ (จูม พนฺธุโล)และพ.ศ. 2478 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2488

ทธศักราช 2488 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1945 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: พระธรรมเจดีย์ (จูม พนฺธุโล)และพ.ศ. 2488 · ดูเพิ่มเติม »

พระญาณสิทธาจารย์ (ทองพูล สิริกาโม)

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: พระธรรมเจดีย์ (จูม พนฺธุโล)และพระญาณสิทธาจารย์ (ทองพูล สิริกาโม) · ดูเพิ่มเติม »

พระราชาคณะ

ในการพระราชทานสมณศักดิ์ชั้นพระราชาคณะขึ้นไป พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จไปพระราชทานด้วยพระองค์เองหรือไม่ก็โปรดเกล้าให้ผู้แทนพระองค์เป็นผู้มอบแทน พัดยศสมณศักดิ์พระราชาคณะเจ้าคณะรอง พระราชาคณะ หมายถึงพระภิกษุที่ได้รับสถาปนาให้มีสมณศักดิ์ตั้งแต่ชั้นสามัญจนถึงชั้นสมเด็จพระราชาคณะ ในสมัยกรุงศรีอยุธยาเรียกว่าพระสังฆราชาคณะ หมายความว่าเจ้าคณะผู้ปกครองสงฆ์ ต่อมาในสมักรุงรัตนโกสินทร์เปลี่ยนเป็นพระราชาคณะ ความหมายยังคงเดิม มีคำนำหน้าราชทินนามว่าพระ แต่ภาษาชาวบ้านเรียกกันว่าเจ้าคุณหรือท่านเจ้าคุณ ถ้าเป็นสมเด็จพระราชาคณะเรียกว่าท่านเจ้าประคุณ แยกเป็นลำดับดังนี้ พัดยศสมณศักดิ์พระราชาคณะชั้นสามัญเปรียญ.

ใหม่!!: พระธรรมเจดีย์ (จูม พนฺธุโล)และพระราชาคณะ · ดูเพิ่มเติม »

พระราชาคณะชั้นธรรม

ระราชาคณะชั้นธรรม เป็นสมณศักดิ์ของพระสงฆ์ไทย มีศักดิ์รองลงมาจากพระราชาคณะเจ้าคณะรอง และสูงกว่าพระราชาคณะชั้นเท.

ใหม่!!: พระธรรมเจดีย์ (จูม พนฺธุโล)และพระราชาคณะชั้นธรรม · ดูเพิ่มเติม »

พระวิสุทธิญาณเถร (สมชาย ฐิตวิริโย)

ระวิสุทธิญาณเถร (หลวงปู่สมชาย ฐิตวิริโย) พระกรรมฐาน สายท่านพระอาจารย์มั่น ภูริทัตตเถระ อดีตประธานสงฆ์วัดเขาสุกิม เกิดเมื่อวันที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2468 ณ หมู่บ้านเหล่างิ้ว ตำบลจังหาร อำเภอจังหาร จังหวัดร้อยเอ็.

ใหม่!!: พระธรรมเจดีย์ (จูม พนฺธุโล)และพระวิสุทธิญาณเถร (สมชาย ฐิตวิริโย) · ดูเพิ่มเติม »

พระอุดมญาณโมลี (จันทร์ศรี จนฺททีโป)

ระอุดมญาณโมลี นามเดิม จันทร์ศรี แสนมงคล ฉายา จนฺททีโป หรือ หลวงปู่ใหญ่ (10 ตุลาคม 2454-14 ธันวาคม 2559) เป็นพระราชาคณะเจ้าคณะรองฝ่ายธรรมยุติกนิกาย ชาวจังหวัดอุดรธานี อดีตเจ้าอาวาสวัดโพธิสมภรณ.

ใหม่!!: พระธรรมเจดีย์ (จูม พนฺธุโล)และพระอุดมญาณโมลี (จันทร์ศรี จนฺททีโป) · ดูเพิ่มเติม »

พระธรรมวิสุทธิมงคล (บัว ญาณสมฺปนฺโน)

ระธรรมวิสุทธิมงคล นามเดิม บัว โลหิตดี ฉายา ญาณสมฺปนฺโน หรือที่นิยมเรียกกันว่า หลวงตามหาบัว หรือ หลวงตาบัว (12 สิงหาคม พ.ศ. 2456 - 30 มกราคม พ.ศ. 2554...เป็นพระภิกษุคณะธรรมยุติกนิกาย ชาวจังหวัดอุดรธานี เจ้าอาวาสองค์แรกของวัดป่าบ้านตาด (วัดเกษรศีลคุณ) เป็นวิปัสสนาจารย์สายพระป่าในประเทศไทย ศิษย์ของพระครูวินัยธรมั่น ภูริทตฺโต ซึ่งมีโอกาสอุปฐากรับใช้หลวงปู่มั่นในช่วงปัจฉิมวัยและเป็นผู้หนึ่งที่ได้บันทึกประวัติของหลวงปู่มั่นโดยละเอียดในเวลาต่อมา หลวงตามหาบัวเป็นที่รู้จักในฐานะพระนักปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานผู้มีปฏิปทาที่มั่นคง แน่วแน่ เด็ดขาด และจริงจัง บรรดาศิษยานุศิษย์ของหลวงปู่มั่นต่างนับถือกันว่าท่านเป็นลูกศิษย์องค์หนึ่งที่มีปฏิปทาที่คล้ายคลึงกับหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต การกล่าวขวัญถึงท่านในหมู่ผู้ศรัทธามีหลายเรื่องค่อนไปในเชิงอภินิหาร เช่น การล่วงรู้วาระจิตของบุคคลอื่น การที่เศษผม เศษเล็บ และชานหมากของท่านกลายเป็นพระธาตุไปตั้งแต่ครั้งท่านยังมีชีวิตอยู่เป็นต้น หลังวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจในประเทศไทยเมื่อ พ.ศ. 2540 หลวงตามหาบัวได้เป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวางยิ่งขึ้นทั้งในและนอกประเทศ จากการที่ท่านได้ดำเนินการทอดผ้าป่าทองคำและเงินสกุลดอลลาร์สหรัฐ ภายใต้ชื่อ "โครงการผ้าป่าช่วยชาติ โดยหลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน" เพื่อใช้เป็นทุนสำรองของประเทศไทย ซึ่งโครงการดังกล่าวนี้ได้ดำเนินการมาโดยตลอดในช่วงปัจฉิมวัยของท่าน อย่างไรก็ตาม ในช่วงปัจฉิมวัยนี้เองได้มีเหตุการณ์ที่ทำให้ท่านตกเป็นประเด็นวิพากษ์วิจารณ์ว่าท่านเข้ามายุ่งเกี่ยวทางการเมืองจากนักวิชาการและนักสื่อสารมวลชนจำนวนหนึ่ง เช่น ประเด็นการคัดค้านการรวมบัญชีเงินทุนสำรองของประเทศโดยธนาคารแห่งประเทศไทย ประเด็นการคัดค้านการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติสงฆ์ฉบับใหม่ และการเทศนาวิพากษ์วิจารณ์ทักษิณ ชินวัตร ครั้งดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีช่วง พ.ศ. 2548 เป็นต้น.

ใหม่!!: พระธรรมเจดีย์ (จูม พนฺธุโล)และพระธรรมวิสุทธิมงคล (บัว ญาณสมฺปนฺโน) · ดูเพิ่มเติม »

พระธรรมเจดีย์

ระธรรมเจดีย์ เป็นสมณศักดิ์พระราชาคณะชั้นธรรม ปัจจุบันผู้ที่ได้รับพระราชทานคือ พระธรรมเจดีย์ (สมคิด เขมจารี).

ใหม่!!: พระธรรมเจดีย์ (จูม พนฺธุโล)และพระธรรมเจดีย์ · ดูเพิ่มเติม »

พระครูวินัยธรมั่น ภูริทตฺโต

หลวงปู่มั่น ภูริทตฺโต หรือนามตามสมณศักดิ์ว่า พระครูวินัยธรมั่น ภูริทตฺโต (20 มกราคม พ.ศ. 2413 - 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2492) เป็นพระภิกษุฝ่ายธรรมยุติกนิกาย ชาวจังหวัดอุบลราชธานี ผู้เป็นบูรพาจารย์สายพระป่าในประเทศไทย พระอาจารย์มั่น ภูริทตฺโต ได้ปฏิบัติตนตามแนวทางคำสอนพระศาสดาอย่างเคร่งครัด และยึดถือธุดงควัตรด้วยจริยวัตรปฏิปทางดงาม จนได้รับการยกย่องจากผู้ศรัทธาทั้งหลายว่าเป็นพระผู้เลิศทางธุดงควัตร ท่านวางแนวทางในการปฏิบัติสมถะและวิปัสสนาตามหลักธรรมคำสอนขององค์สมเด็จพระสัมมาพุทธเจ้าให้แก่สมณะประชาชนอย่างกว้างขวาง จนมีพระสงฆ์และฆราวาสเป็นลูกศิษย์จำนวนมาก แนวคำสอนของท่านเป็นที่รู้จักกันดีในนามว่า คำสอนพระป่า (สายพระอาจารย์มั่น) หลังจากท่านมรณภาพลง ในปี..

ใหม่!!: พระธรรมเจดีย์ (จูม พนฺธุโล)และพระครูวินัยธรมั่น ภูริทตฺโต · ดูเพิ่มเติม »

พระครูวิเวกพุทธกิจ (เสาร์ กนฺตสีโล)

ระครูวิเวกพุทธกิจ หรือ หลวงปู่เสาร์ กนฺตสีโล (2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2402 - 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2485) เป็นพระภิกษุฝ่ายธรรมยุติกนิกาย ชาวจังหวัดอุบลราชธานี ผู้เป็นบูรพาจารย์สายพระป่าในประเทศไทย ท่านเป็นอาจารย์ของพระอาจารย์มั่น ภูริทตฺโต หลวงปู่เสาร์ กนฺตสีโล เป็นผู้มีอัธยาศัยน้อมไปในทางสมถะวิปัสสนา มีความเพียรเป็นเลิศ มีความสงบเสงี่ยม กิริยามารยาทเรียบร้อย สุขุม พูดน้อย และพอใจแนะนำสั่งสอนผู้อื่นในทางนั้นด้วย เป็นผู้ใฝ่ใจในธุดงควัตรหนักแน่นในพระธรรมวินัย ชอบวิเวกและไม่ติดถิ่นที่อยู่ เดินธุดงค์ไปหาสถานที่เจริญสมณธรรมตามชายป่าดงพงไพรภูเขาต่างๆ ทั้งในประเทศไทยและประเทศลาว.

ใหม่!!: พระธรรมเจดีย์ (จูม พนฺธุโล)และพระครูวิเวกพุทธกิจ (เสาร์ กนฺตสีโล) · ดูเพิ่มเติม »

พระครูสัญญาบัตร

ในปัจจุบันการพระราชทานสมณศักดิ์ชั้นพระครูสัญญาบัตรจะทรงมอบหมายให้สมเด็จพระสังฆราชหรือเจ้าคณะใหญ่ในหนนั้นๆ เป็นผู้แทนพระองค์มอบตำแหน่งแทน (พัดพุดตาน) พัดยศสมณศักดิ์พระครูสัญญาบัตร พระครูสัญญาบัตรจัดเป็นสมณศักดิ์สัญญาบัตรชั้นแรก เป็นพระครูมีราชทินนาม ในสมัยพ่อขุนรามคำแหงมหาราชแห่งกรุงสุโขทัยเรียกว่า"ปู่ครู" ต่อมาในสมัยพระมหาธรรมราชาที่ 1 ได้เปลี่ยนคำนำหน้าจากปู่ครูเป็นพระครู และโปรดให้มีราชทินนามสืบมาจนถึงปัจจุบัน พระครูสัญญาบัตรเป็นชื่อประเภทสมณศักดิ์ เครื่องหมายสมณศักดิ์ใช้คำว่าพระครูนำหน้าราชทินนาม แต่ในสัญญาบัตรมิได้กำหนดว่าเป็นพระครูสัญญาบัตรชั้นใดหรือตำแหน่งใด ก็จะมีพัดยศเป็นเครื่องแสดงชั้นหรือตำแหน่งนั้นๆ เมื่อได้เลื่อนตำแหน่ง จะไม่เปลี่ยนสัญญาบัตร คงเปลี่ยนเฉพาะพัดยศ และมีประกาศมหาเถรสมาคมแสดงความเป็นพระครูสัญญาบัตรตำแหน่งใดและชั้นใด ในปัจจุบันผู้ที่จะได้รับพระราชทานตั้งเป็นพระครูสัญญาบัตรต้องเป็นพระสังฆาธิการเท่านั้น เมื่อจะทรงแต่งตั้งครั้งแรกจัดชั้นและตำแหน่งให้เหมาะสมในการปกครอง หรือเหมาะสมกับวิทยฐานะ พระครูสัญญาบัตรจัดโดยชั้นมี 4 ชั้น คือ.

ใหม่!!: พระธรรมเจดีย์ (จูม พนฺธุโล)และพระครูสัญญาบัตร · ดูเพิ่มเติม »

พระปัญญาพิศาลเถร (ทูล ขิปฺปปญฺโญ)

ระปัญญาพิศาลเถร (ทูล ขิปฺปปญฺโญ) อดีตเจ้าอาวาสวัดป่าบ้านค้อ เกิดเมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม พ.ศ. 2478 ณ บ้านหนองค้อ ตำบลดอนหว่าน อำเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม เมื่ออายุได้ 7 ขวบ พ่อแม่ได้อพยพมาอยู่ที่บ้านหนองแวง (แก้มหอม) ตำบลไชยวาน อำเภอไชยวาน จังหวัดอุดรธานี และได้จบการศึกษาชั้นประถมปีที่ 4 ที่โรงเรียนบ้านหนองแวงนี้เอง การเข้าเรียนแต่ละชั้น เพื่อน ๆ ในชั้นเรียนเดียวกันได้ตั้งให้เป็นหัวหน้าในชั้นเรียนทุกชั้นไป เมื่อขึ้นชั้นประถมปีที่ 4 เด็กชายทูลได้รับความไว้วางใจจากครูว่ามีการศึกษาดี จึงได้รับเลือกให้เป็นผู้ช่วยสอนนักเรียนในชั้นประถม ก. กา และประถมปีที่ 1 และได้รับเลือกให้เป็นหัวหน้านักเรียนทั้งหมดในโรงเรียนนั้น ท่านได้อุปสมบทเมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2504 ณ วัดโพธิสมภรณ์ อำเภอเมืองอุดรธานี มีพระธรรมเจดีย์ (จูม พนฺธุโล) เป็นพระอุปัชฌาย์ จากนั้น ท่านได้ศึกษาจนมีความมั่นคงในพระพุทธศาสนา และมาอยู่เป็นลูกศิษย์หลวงปู่ขาว อนาลโย และในกาลต่อมา เมื่อท่านมรณภาพลง หลวงพ่อทูล ท่านได้มาสร้างวัดป่าบ้านค้อ และขึ้นดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาสรูปแรก (1 มกราคม พ.ศ. 2528 - 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551) ในตลอดระยะเวลา 23 ปี ที่ท่านเป็นเจ้าอาวาส ท่านได้ทุ่มเทกาย ทุ่มเทใจในการช่วยพัฒนาพระพุทธศาสนา และทำคุณประโยชน์อันมากมาย และสร้างบูรณะสิ่งต่าง ๆในวัดป่าบ้านค้อแห่งนี้ และเป็นพระนักพัฒนา ทำประโยชน์ให้กับสังคมอีกมากมาย หลวงพ่อท่านได้ถึงแก่มรณภาพเมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551 จึงถือว่า ท่านพ้นจากตำแหน่งเจ้าอาวาสวัดป่าบ้านค้อ ลูกศิษย์ของท่านที่สืบทอดพระพุทธศาสนาก็คือ พระอาจารย์ไชยา อ.

ใหม่!!: พระธรรมเจดีย์ (จูม พนฺธุโล)และพระปัญญาพิศาลเถร (ทูล ขิปฺปปญฺโญ) · ดูเพิ่มเติม »

ฐานานุกรม

ระราชาคณะตั้งแต่ชั้นสามัญขึ้นไป สามารถตั้งพระฐานานุกรมของตนได้ตามอัธยาศัย (ในพระบรมราชานุญาต) ฐานานุกรม คือชื่อเรียกลำดับตำแหน่งสมณศักดิ์ของพระสงฆ์ไทย ซึ่งภิกษุผู้มีตำแหน่งทางการปกครองหรือมีสมณศักดิ์สูงบางตำแหน่งมีสิทธิ์ตั้งพระรูปอื่นให้เป็นฐานากรมได้ตามศักดิ์ที่ได้รับพระบรมราชานุญาต เช่น พระสงฆ์ตำแหน่งเจ้าคณะอำเภอ สามารถตั้งฐานานุกรมได้ 3 ตำแหน่ง พระราชาคณะชั้นสามัญตั้งฐานานุกรมได้ 3 ตำแหน่ง เป็นต้น ไปจนกระทั่งถึงสมเด็จพระสังฆราชทรงตั้งฐานานุกรมได้ 15 ตำแหน่ง ฐานานุกรมนั้นมีตำแหน่งที่เป็นหลัก 3 ตำแหน่ง คือ พระปลัด พระสมุห์ พระใบฎีกา หากพระสงฆ์ทรงสมณศักดิ์ที่มีสิทธิ์ตั้งฐานานุกรมเป็นผู้ที่มีสมณศักดิ์ตั้งแต่พระราชาคณะชั้นราชขึ้นไป พระฐานานุกรมที่ท่านเหล่านั้นตั้ง จะเรียก "พระครู" นำหน้าตำแหน่งฐานานุกรมนั้นทุกตำแหน่ง เช่น พระครูปลัด พระครูสังฆรักษ์ เป็นต้น สิทธิในการให้พระสงฆ์ทรงสมณศักดิ์สามารถแต่งตั้งพระฐานานุกรมได้ จะมีระบุไว้ในสัญญาบัตรพระราชทานสมณศักดิ์ ว่าให้สามารถตั้งได้เท่านั้นเท่านี้รูป ซึ่งพระสงฆ์ผู้ได้รับพระราชทานสิทธิในการตั้งพระฐานานุกรม จะตั้งหรือไม่ตั้งก็ได้ หรือจะตั้ง แต่ตั้งเพียงจำนวนเท่าที่เห็นควรก็ได้ ไม่จำต้องตั้งทั้งหมด ตำแหน่งเหล่านี้เดิมมีพัดยศของหลวงพระราชทานมาให้ แต่ปัจจุบันนี้ต้องจัดทำเอง โดยพระสงฆ์ผู้ทรงสมณศักดิ์ที่มีสิทธิ์แต่งตั้งฐานานุกรมจะแต่งตั้งพระสงฆ์รูปใดในศิษยานุศิษย์ของตน ก็สุดแล้วแต่อัธยาศัย ทางการไม่ได้เกี่ยวข้องในการแต่งตั้งพระฐานานุกรม เพียงแต่รับรู้เท่านั้น ภิกษุผู้ได้รับแต่งตั้งในลักษณะนี้เรียกว่า พระฐานานุกรม ทุกรูปจัดเป็นพระมีสมณศักดิ์เหมือนพระสมณศักดิ์ที่ทรงแต่งตั้ง พระในตำแหน่งเหล่านี้บางทีเรียกประทวนสัญญาบัตร บ้าง ฐานาประทวน บ้าง และเนื่องจากสมณศักดิ์เหล่านี้พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวไม่ได้พระราชทานเอง ดังนั้นเมื่อพระสงฆ์ผู้ทรงสมณศักดิ์ที่ได้ตั้งฐานานุกรมไว้มรณภาพ ตำแหน่งฐานานุกรมต่าง ๆ ก็ถือว่าเป็นอันสิ้นสุดไปด้วย เรียกกันในภาษาปากว่า พระครูม่าย หรือ ฐานาม่าย จนกว่าจะได้รับแต่งตั้งฐานานุกรมใหม่ ในอดีต ตำแหน่งฐานานุกรมบางตำแหน่งมีลำดับสมณศักดิ์สูงกว่าพระมหาเปรียญ จึงมีบางครั้งที่พระมหาเปรียญก็อาจได้รับแต่งตั้งฐานานุกรมบ้าง ซึ่งเรียกกันในภาษาปากว่า ฐานาทรงเครื่อง หรือ พระครูทรงเครื่อง คือมีทั้งตำแหน่งมหาเปรียญและฐานานุกรมในคราวเดียวกัน.

ใหม่!!: พระธรรมเจดีย์ (จูม พนฺธุโล)และฐานานุกรม · ดูเพิ่มเติม »

วัดโพธิสมภรณ์

วัดโพธิสมภรณ์ (พระอารามหลวง) ตั้งอยู่บนถนนเพาะนิยม เลขที่ 22 ตำบลหมากแข้ง อำเภอเมืองอุดรธานี จังหวัดอุดรธานี อยู่ทางทิศตะวันตกของหนองประจักษ์ มีเนื้อที่ทั้งหมด 40 ไร่ ในวันที่ 7 พฤษภาคม..

ใหม่!!: พระธรรมเจดีย์ (จูม พนฺธุโล)และวัดโพธิสมภรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

สมณศักดิ์

มณศักดิ์ ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 หมายความว่า ยศพระสงฆ์ที่ได้รับพระราชทานมีหลายชั้น แต่ละชั้นมีพัดยศเป็นเครื่องกำหนด อาจกล่าวได้ว่า สมณศักดิ์ คือบรรดาศักดิ์ หรือยศที่พระมหากษัตริย์พระราชทานแก่ภิกษุผู้ประพฤติดี ประพฤติชอบให้ดำรงมั่นอยู่ในสมณเพศ เพื่อเป็นกำลังสืบต่ออายุพระพุทธศาสนาและเพื่อให้การปกครองคณะสงฆ์เป็นไปโดยเรียบร้อย เพราะการที่พระภิกษุรูปใดได้รับพระราชทานสมณศักดิ์ ย่อมได้รับมอบหมายภาระหน้าที่ในการปกครองหมู่คณะแห่งสงฆ์ไปพร้อมกันด้ว.

ใหม่!!: พระธรรมเจดีย์ (จูม พนฺธุโล)และสมณศักดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (เจริญ ญาณวโร)

มเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (เจริญ าณวโร) เป็นสมเด็จพระราชาคณะฝ่ายธรรมยุติกนิกาย ได้ดำรงตำแหน่งสำคัญในการปกครองคณะสงฆ์ไทย เช่น สังฆนายก เจ้าคณะใหญ่หนเหนือ เจ้าอาวาสวัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหาร เป็นต้น.

ใหม่!!: พระธรรมเจดีย์ (จูม พนฺธุโล)และสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (เจริญ ญาณวโร) · ดูเพิ่มเติม »

หลวงปู่พรหม จิรปุญฺโญ

หลวงปู่พรหม จิรปุญโญ (พ.ศ. 2431 - 13 พฤษภาคม พ.ศ. 2512) พระเกจิอาจารย์แห่งเมืองอุดรธานี และเป็นพระคณาจารย์ศิษย์สายหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต ในชั่วชีวิตของท่าน จริงอยู่เคยมีชีวิตแบบฆราวาสธรรม แต่พอปลงกับชีวิต เกิด แก่ เจ็บ ตาย ก็เลยปลงได้และเข้าสู่ร่มกาสาวพักตร์ และอยู่ในสมณเพศตลอดชีวิต.

ใหม่!!: พระธรรมเจดีย์ (จูม พนฺธุโล)และหลวงปู่พรหม จิรปุญฺโญ · ดูเพิ่มเติม »

หลวงปู่ฝั้น อาจาโร

หลวงปู่ฝั้น อาจาโร เป็นพระเถระในสายพระป่าในประเทศไท.

ใหม่!!: พระธรรมเจดีย์ (จูม พนฺธุโล)และหลวงปู่ฝั้น อาจาโร · ดูเพิ่มเติม »

หลวงปู่ลี กุสลธโร

หลวงปู่ลี กุสลธโร เป็นพระภิกษุฝ่ายวิปัสสนาธุระ สังกัดคณะสงฆ์ธรรมยุติกนิกาย ศิษย์ของพระธรรมวิสุทธิมงคล (บัว ญาณสมฺปนฺโน) วัดเกษรศิลคุณธรรมเจดีย์ (วัดภูผาแดง) ต.หนองอ้อ อ.หนองวัวซอ.อุดรธานี.

ใหม่!!: พระธรรมเจดีย์ (จูม พนฺธุโล)และหลวงปู่ลี กุสลธโร · ดูเพิ่มเติม »

หลวงปู่หลุย จนฺทสาโร

หลวงปู่หลุย (11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2444 - 25 ธันวาคม พ.ศ. 2532) พระเถระสายอีสานสายหลวงปู่มั่น สายธรรมยุติ เป็นพระอริยสงฆ์ผู้มีศีลวัตรปฏิบัติอันงดงาม.

ใหม่!!: พระธรรมเจดีย์ (จูม พนฺธุโล)และหลวงปู่หลุย จนฺทสาโร · ดูเพิ่มเติม »

หลวงปู่อ่อน ญาณสิริ

หลวงปู่อ่อน ญาณสิริ อดีตเจ้าอาวาส วัดป่านิโครธาราม บ้านหนองบัวบาน ตำบลหนองบัวบาน อำเภอหนองวัวซอ จังหวัดอุดรธานี.

ใหม่!!: พระธรรมเจดีย์ (จูม พนฺธุโล)และหลวงปู่อ่อน ญาณสิริ · ดูเพิ่มเติม »

หลวงปู่ขาว อนาลโย

หลวงปู่ขาว อนาลโย เป็นพระภิกษุ คณะธรรมยุติกนิกาย ท่านได้รับความเคารพนับถือจากพุทธศาสนิกชนในฐานะพระนักปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐาน สายของพระอาจารย์มั่น ภูริทัตโต.

ใหม่!!: พระธรรมเจดีย์ (จูม พนฺธุโล)และหลวงปู่ขาว อนาลโย · ดูเพิ่มเติม »

อวย เกตุสิงห์

ตราจารย์เกียรติคุณ เรือโท นายแพทย์ อวย เกตุสิงห์ เป็นแพทย์ชาวไทย เกิดเมื่อวันที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2451 เป็นชาวจังหวัดพระนคร สำเร็จการศึกษาแพทยศาสตรบัณฑิต เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง จาก คณะแพทยศาสตร์และศิริราชพยาบาล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย แล้วได้ทุนไปศึกษาเพิ่มเติมที่มหาวิทยาลัยในประเทศเยอรมนี ก่อนจะกลับมาเป็นอาจารย์ที่ภาควิชาสรีรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล อวยได้รับการยกย่องว่าเป็นนายแพทย์ที่มีความรู้ทางพระพุทธศาสนาสูง รู้จักประยุกต์ใช้คำสอนของพระพุทธศาสนาเพื่อประโยชน์ทางการบำบัดผู้ป่วยกับวิชาแพทย์แผนใหม่รุ่นบุกเบิกของไทย ในขณะเดียวกัน ท่านยังเป็นนายแพทย์ผู้บุกเบิกเอาวิชาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ และแพทยศาสตร์มาประยุกต์และได้รับสมญานามว่าเป็น บิดาแห่งแพทย์แผนไทยประยุกต.

ใหม่!!: พระธรรมเจดีย์ (จูม พนฺธุโล)และอวย เกตุสิงห์ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอท่าอุเทน

ท่าอุเทน เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดนครพนม มีแนวชายแดนติดกับประเทศลาว เป็นอำเภอที่มีความสงบร่มเย็น มีประเพณี วัฒนธรรม และวิถีชีวิตของชาวลุ่มแม่น้ำโขงที่โดดเด่น ได้ชื่อว่าเป็นเมืองหลวงของชาวไทญ้อของประเทศไท.

ใหม่!!: พระธรรมเจดีย์ (จูม พนฺธุโล)และอำเภอท่าอุเทน · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเมืองอุดรธานี

มืองอุดรธานี เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดอุดรธานี.

ใหม่!!: พระธรรมเจดีย์ (จูม พนฺธุโล)และอำเภอเมืองอุดรธานี · ดูเพิ่มเติม »

อุปัชฌาย์

อุปัชฌาย์ (/อุ-ปัด-ชา/) ความหมายโดยพยัญชนะว่าผู้เข้าไปเพ่ง กล่าวคือ ได้แก่ผู้คอยดูแลเอาใจใส่ คอยแนะนำพรำเตือนสัทธิวิหาริก (ลูกศิษย์) ของตน ซึ่งก็คือพระเถระผู้ทำหน้าที่เป็นประธานในการบวชกุลบุตรในพระพุทธศาสนา เรียกทั่วไปว่า พระอุปัชฌาย์ ในภาษาอังกฤษเรียกว่า "Preceptor" พระอุปัชฌาย์มีหน้าที่หลัก 2 อย่างคือเป็นผู้รับผิดชอบและรับรองผู้บวชในพิธีบรรพชาอุปสมบทและเป็นผู้รับปกครองดูแล แนะนำ ตักเตือนและติดตามความเป็นอยู่ของผู้ที่ตนบวชให้ เหมือนบิดาปกครองดูแลบุตร ตามกฎมหาเถรสมาคมนั้นได้กำหนดให้เขตปกครองคณะสงฆ์ตำบลหนึ่ง ให้มีพระอุปัชฌาย์เพียงหนึ่งรูป เว้นแต่ มีกรณีพิเศษ.

ใหม่!!: พระธรรมเจดีย์ (จูม พนฺธุโล)และอุปัชฌาย์ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดหนองบัวลำภู

หนองบัวลำภู เป็นจังหวัดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนของประเทศไทยตั้งอยู่ในแอ่งสกลนครและอยู่ในกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน1 เป็นหนึ่งในสามจังหวัดที่ได้รับการจัดตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2536 พร้อมกับจังหวัดอำนาจเจริญและจังหวัดสระแก้ว.

ใหม่!!: พระธรรมเจดีย์ (จูม พนฺธุโล)และจังหวัดหนองบัวลำภู · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดนครพนม

ังหวัดนครพนม เป็นจังหวัดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนตั้งอยู่ในแอ่งสกลนคร นับเป็นเมืองชายแดนที่มีความอุดมสมบูรณ์ ความสวยงามของทิวทัศน์ และมีความหลากหลายของวัฒนธรรมและชาติพันธุ์ รวมทั้งประวัติศาสตร์ที่ยาวนานมีพระธาตุพนมเป็นปูชนียสถานคู่บ้านคู่เมือง พื้นที่ด้านเหนือและตะวันออกของจังหวัดติดกับแม่น้ำโขงโดยตลอ.

ใหม่!!: พระธรรมเจดีย์ (จูม พนฺธุโล)และจังหวัดนครพนม · ดูเพิ่มเติม »

ธรรมยุติกนิกาย

ตราคณะธรรมยุต ธรรมยุติกนิกาย หรือ คณะธรรมยุต เป็นคณะสงฆ์ที่พระวชิรญาณเถระทรงตั้งขึ้นเพื่อฟื้นฟูศาสนาพุทธในสยาม และแก้ไขวัตรปฏิบัติให้ถูกต้องตามพระธรรมวินัย เมื่อพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวผนวชอยู่นั้น ได้ทรงศึกษาพระไตรปิฎกอย่างแตกฉานทำให้มีพระวิจารณญาณเกี่ยวกับความเป็นมาของพระพุทธศาสนา และความประพฤติปฏิบัติของพระภิกษุสามเณรได้อย่างละเอียดถี่ถ้วน เป็นเหตุให้มีพระราชดำริในอันที่จะฟื้นฟูการสั่งสอนพระพุทธศาสนา และการประพฤติปฏิบัติของพระสงฆ์ให้ถูกต้องตามพระธรรมวินัยตามที่ได้ทรงศึกษา และทรงพิจารณาสอบสวนจนเป็นที่แน่แก่พระราชหฤทัยว่าถูกต้องเป็นจริงอย่างไร แล้วพระองค์ได้ทรงนำประพฤติปฏิบัติขึ้นก่อน หรือกล่าวอีกอย่างหนึ่งก็คือ ทรงเริ่มแก้ไขที่พระองค์เองเป็นอันดับแรก ต่อมาเมื่อมีบุคคลอื่นเห็นชอบและนิยมตาม จึงได้มีผู้ประพฤติปฏิบัติตามอย่างพระองค์ขึ้น และมีจำนวนมากขึ้นเป็นลำดับ จนเกิดเป็นพระสงฆ์หมู่หนึ่ง หรือนิกายหนึ่ง ที่ได้ชื่อในภายหลังว่า ธรรมยุติกนิกาย หรือที่เรียกสั้น ๆ ว่า “ธรรมยุต” อันมีความหมายว่า ผู้ประกอบด้วยธรรม หรือชอบด้วยธรรม หรือยุติตามธรรม ทั้งนี้ก็เพราะว่าพระสงฆ์นี้เกิดขึ้นด้วยมุ่งแสวงหาว่า ข้อใดเป็นธรรม เป็นวินัย เป็นสัตถุศาสน์ (คือคำสั่งสอนของพระศาสดา) แล้วปฏิบัติข้อนั้น เว้นข้อที่ไม่เป็นธรรม ไม่เป็นวินัย ไม่เป็นสัตถุศาสน์ แม้จะเป็นอาจินปฏิบัติ (ข้อปฏิบัติตามกันมาแต่ผิดพระธรรมวินัย) พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระบรมราชโองการ ให้ประกาศใช้พระราชบัญญัติลักษณะการปกครองคณะสงฆ์ขึ้น เป็นครั้งแรกในประเทศไทย พระราชบัญญัติฉบับนี้มีชื่อว่า พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ ร.ศ. 121 มีสาระสำคัญคือได้ยกสถานะคณะธรรมยุติ ให้เป็นนิกายอย่างถูกต้องตามกฎหมาย ธรรมยุติกนิกาย ตั้งขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อปฏิรูปและฟื้นฟูด้านวัตรปฏิบัติของสงฆ์ ให้มีความถูกต้องและเข้มงวดตามพุทธบัญญัติ ให้พระภิกษุสงฆ์มีวัตรปฏิบัติที่เคร่งครัดถูกต้องตามพระวินัยปฏิบัติในสิ่งที่ถูกต้องดีงาม ศึกษาพระปริยัติธรรมอย่างเข้าใจแจ่มแจ้ง เป็นการฟื้นฟูพระพุทธศาสนาในส่วนที่บกพร่องของพระสงฆ์ไทยที่มีมาแต่โบราณ ให้สมบูรณ์ทั้งพระวินัยปิฎกและพระสุตตันตปิฎก ซึ่งเป็นความพยายามของพระวชิรญาณเถระเพื่อช่วยปฏิรูปการคณะสงฆ์และเผยแผ่พระพุทธศาสนาให้เจริญรุ่งเรืองอย่างบริบูรณ์ขึ้นในประเทศไทย การก่อตั้งคณะสงฆ์ธรรมยุติกนิกาย เป็นสาเหตุทำให้พระสงฆ์เถรวาทอื่นซึ่งเป็นพระสงฆ์ส่วนใหญ่ที่ไม่ใช่คณะธรรมยุต ได้มีการประชุมและมีมติให้เรียกพระสงฆ์ส่วนใหญ่ที่ไม่ใช่คณะธรรมยุต ว่า "มหานิกาย".

ใหม่!!: พระธรรมเจดีย์ (จูม พนฺธุโล)และธรรมยุติกนิกาย · ดูเพิ่มเติม »

ตำบลหมากแข้ง

ตำบลหมากแข้ง เป็นหน่วยปกครองส่วนภูมิภาคของอำเภอเมืองอุดรธานี เป็นที่ตั้งของศูนย์ราชการจังหวัดอุดรธานี ไม่มีหมู่บ้าน เนื่องจากท้องที่ตำบลหมากแข้ง กระทรวงมหาดไทยเห็นสมควรให้จัดตั้งเป็นเทศบาลเมืองอุดรธานี ตั้งแต่ ปี..

ใหม่!!: พระธรรมเจดีย์ (จูม พนฺธุโล)และตำบลหมากแข้ง · ดูเพิ่มเติม »

นักธรรมชั้นโท

นักธรรมชั้นโท (ชื่อย่อ น.ธ.โท) เป็นระดับการศึกษา พุทธศาสนาในประเทศไทยแผนกธรรม โดยเป็นชั้นกลางของการศึกษาระดับพื้นฐานของพระสงฆ์ สามเณรในประเทศไทย โดยเป็นการศึกษาสำหรับฝ่าย พระภิกษุสามเณรโดยเฉพาะ หลักสูตรนักธรรมชั้นโท.

ใหม่!!: พระธรรมเจดีย์ (จูม พนฺธุโล)และนักธรรมชั้นโท · ดูเพิ่มเติม »

โรงพยาบาลศิริราช

รงพยาบาลศิริราช เป็นโรงพยาบาลมหาวิทยาลัย สังกัดคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล เป็นโรงพยาบาลแห่งแรกของ ประเทศไทย ตั้งอยู่เลขที่ 2 ถนนวังหลัง แขวงศิริราช เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร ริมฝั่ง แม่น้ำเจ้าพระยา ตรงข้ามกับ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (ท่าพระจันทร์) เคยเป็นที่ประทับรักษาพระประชวรของ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ตลอดจนพระบรมวงศานุวงศ์หลายพระองค์ เช่น พระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร.

ใหม่!!: พระธรรมเจดีย์ (จูม พนฺธุโล)และโรงพยาบาลศิริราช · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าอาวาส

้าอาวาส คือพระภิกษุซึ่งได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้ปกครองวัด มีหน้าที่ปกครองดูแลอำนวยกิจการทุกอย่างเกี่ยวกับวัด กฎหมายกำหนดให้วัดหนึ่งมีเจ้าอาวาสรูปหนึ่ง แต่จะมีรองเจ้าอาวาส ผู้ช่วยเจ้าอาวาสได้หลายรูปตามควรแก่ฐานะของวัด เจ้าอาวาสเป็น พระสังฆาธิการ และเป็นเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา เจ้าอาวาสมีหน้าที่ดังนี้.

ใหม่!!: พระธรรมเจดีย์ (จูม พนฺธุโล)และเจ้าอาวาส · ดูเพิ่มเติม »

เปรียญธรรม 3 ประโยค

ัดยศเปรียญธรรม 3 ประโยค เปรียญธรรม 3 ประโยค (ชื่อย่อ ป.ธ.3) เป็นระดับชั้นการศึกษาแผนกบาลีของคณะสงฆ์ไทย เรียกพระภิกษุผู้สอบไล่ได้ในชั้นนี้ว่า "พระมหา" และสามเณรว่า "สามเณรเปรียญ" กระทรวงศึกษาธิการเทียบวุฒิผู้สอบได้ในชั้นนี้ให้เทียบเท่ามัธยมศึกษาตอนต้น คณะสงฆ์ เคยมีการขอให้ปรับวุฒิผู้สอบไล่ได้ชั้นนี้ ให้เทียบเท่าระดับอุดมศึกษา แต่ไม่ได้รับการตอบรับจากผู้เกี่ยวข้อง แต่เปรียญธรรม 3 ประโยค ก็ยังเป็นที่นับถือกันโดยพฤตินัยในวงการคณะสงฆ์ไทยว่าผู้สอบได้ในชั้นนี้เป็น "ปริญญาตรี" ของฝ่ายคณะสงฆ์ หรือเปรียบได้กับคฤหัสถ์ผู้สอบไล่ได้ปริญญาบัณฑิตของฝ่ายฆราวาส โดยผู้สอบได้ในชั้นนี้จะได้รับพระมหากรุณาธิคุณ จากพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ โปรดฯ ทรงตั้งให้เป็นเปรียญ ได้รับพระราชทานประกาศนียบัตร พัดเปรียญธรรม 3 ประโยค การศึกษาพระปริยัติธรรมแผนกบาลีในชั้น "เปรียญธรรม 3 ประโยค" นั้น แบ่ง รายวิชาที่สำนักงานแม่กองบาลีสนามหลวงกำหนดให้พระภิกษุสามเณรสอบไล่เพื่อผ่านในชั้นนี้ได้เป็น 4 วิชา คือ วิชาไวยากรณ์, วิชาแปลมคธเป็นไทย, วิชาสัมพันธ์ไทย และวิชาบุร.

ใหม่!!: พระธรรมเจดีย์ (จูม พนฺธุโล)และเปรียญธรรม 3 ประโยค · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

พระธรรมเจดีย์ (จูม พันธุโล)

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »