โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พระอุดมญาณโมลี (จันทร์ศรี จนฺททีโป)

ดัชนี พระอุดมญาณโมลี (จันทร์ศรี จนฺททีโป)

ระอุดมญาณโมลี นามเดิม จันทร์ศรี แสนมงคล ฉายา จนฺททีโป หรือ หลวงปู่ใหญ่ (10 ตุลาคม 2454-14 ธันวาคม 2559) เป็นพระราชาคณะเจ้าคณะรองฝ่ายธรรมยุติกนิกาย ชาวจังหวัดอุดรธานี อดีตเจ้าอาวาสวัดโพธิสมภรณ.

46 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2474พ.ศ. 2475พ.ศ. 2477พ.ศ. 2480พ.ศ. 2484พ.ศ. 2485พ.ศ. 2486พ.ศ. 2495พ.ศ. 2497พ.ศ. 2498พ.ศ. 2505พ.ศ. 2507พ.ศ. 2517พ.ศ. 2519พ.ศ. 2522พ.ศ. 2531พ.ศ. 2533พ.ศ. 2544พ.ศ. 2553พระญาณวิศิษฏ์สมิทธิวีราจารย์ (สิงห์ ขนฺตยาคโม)พระราชาคณะพระราชาคณะชั้นธรรมพระราชาคณะเจ้าคณะรองพระอารามหลวงพระธรรมเจดีย์ (จูม พนฺธุโล)พระครูวินัยธรมั่น ภูริทตฺโตพระครูสัญญาบัตรรางวัลพุทธคุณูปการวัดบวรนิเวศราชวรวิหารวัดป่าสุทธาวาสวัดโพธิสมภรณ์สมณศักดิ์สมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณวงศ์อำเภอเมืองขอนแก่นจังหวัดสกลนครจังหวัดอุดรธานีจังหวัดขอนแก่นธรรมยุติกนิกายนักธรรมชั้นตรีนักธรรมชั้นโทนักธรรมชั้นเอกเจ้าอาวาสเปรียญธรรม 3 ประโยคเปรียญธรรม 4 ประโยคเปรียญธรรม 5 ประโยค1 พฤษภาคม

พ.ศ. 2474

ทธศักราช 2474 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1931 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พระอุดมญาณโมลี (จันทร์ศรี จนฺททีโป)และพ.ศ. 2474 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2475

ทธศักราช 2475 ตรงกั.

ใหม่!!: พระอุดมญาณโมลี (จันทร์ศรี จนฺททีโป)และพ.ศ. 2475 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2477

ทธศักราช 2477 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1934ยวห.

ใหม่!!: พระอุดมญาณโมลี (จันทร์ศรี จนฺททีโป)และพ.ศ. 2477 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2480

ทธศักราช 2480 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1937.

ใหม่!!: พระอุดมญาณโมลี (จันทร์ศรี จนฺททีโป)และพ.ศ. 2480 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2484

ทธศักราช 2484 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1941 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: พระอุดมญาณโมลี (จันทร์ศรี จนฺททีโป)และพ.ศ. 2484 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2485

ทธศักราช 2485 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1942 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: พระอุดมญาณโมลี (จันทร์ศรี จนฺททีโป)และพ.ศ. 2485 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2486

ทธศักราช 2486 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1943.

ใหม่!!: พระอุดมญาณโมลี (จันทร์ศรี จนฺททีโป)และพ.ศ. 2486 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2495

ทธศักราช 2495 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1952.

ใหม่!!: พระอุดมญาณโมลี (จันทร์ศรี จนฺททีโป)และพ.ศ. 2495 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2497

ทธศักราช 2497 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1954.

ใหม่!!: พระอุดมญาณโมลี (จันทร์ศรี จนฺททีโป)และพ.ศ. 2497 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2498

ทธศักราช 2498 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1955 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พระอุดมญาณโมลี (จันทร์ศรี จนฺททีโป)และพ.ศ. 2498 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2505

ทธศักราช 2505 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1962 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: พระอุดมญาณโมลี (จันทร์ศรี จนฺททีโป)และพ.ศ. 2505 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2507

ทธศักราช 2507 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1964 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พระอุดมญาณโมลี (จันทร์ศรี จนฺททีโป)และพ.ศ. 2507 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2517

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: พระอุดมญาณโมลี (จันทร์ศรี จนฺททีโป)และพ.ศ. 2517 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2519

ทธศักราช 2519 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1976 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พระอุดมญาณโมลี (จันทร์ศรี จนฺททีโป)และพ.ศ. 2519 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2522

ทธศักราช 2522 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1979 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พระอุดมญาณโมลี (จันทร์ศรี จนฺททีโป)และพ.ศ. 2522 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2531

ทธศักราช 2531 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1988 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ (ลิงก์ไปยังปฏิทิน) ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: พระอุดมญาณโมลี (จันทร์ศรี จนฺททีโป)และพ.ศ. 2531 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2533

ทธศักราช 2533 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1990 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พระอุดมญาณโมลี (จันทร์ศรี จนฺททีโป)และพ.ศ. 2533 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2544

ทธศักราช 2544 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2001 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พระอุดมญาณโมลี (จันทร์ศรี จนฺททีโป)และพ.ศ. 2544 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2553

ทธศักราช 2553 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2010 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีแรกในคริสต์ทศวรรษที่ 2010.

ใหม่!!: พระอุดมญาณโมลี (จันทร์ศรี จนฺททีโป)และพ.ศ. 2553 · ดูเพิ่มเติม »

พระญาณวิศิษฏ์สมิทธิวีราจารย์ (สิงห์ ขนฺตยาคโม)

ระญาณวิศิษฏ์สมิทธิวีราจารย์ หรือ หลวงปู่สิงห์ ขนฺตยาคโม (27 มกราคม พ.ศ. 2432 - 8 กันยายน พ.ศ. 2504) เป็นพระภิกษุฝ่ายธรรมยุติกนิกาย ชาวจังหวัดอุบลราชธานี พระป่ากรรมฐานศิษย์องค์สำคัญของ หลวงปู่เสาร์ กนฺตสีโล และ หลวงปู่มั่น ภูริทตฺโต หลวงปู่สิงห์ ขนฺตยาคโม เป็นพระภิกษุผู้ปฏิบัติดีปฏิบัติชอบ ตามพระธรรมวินัย เอาใจใส่การศึกษาปฏิบัติธรรม มีความรู้ความเห็นลึกซึ้ง มีปฏิภาณเทศนาแจ่มแจ้ง โวหารไพเราะจับใจ มีชื่อเสียงด้านวิปัสสนาธุระ ธรรมบาลี อักษรสมัย และวิทยาคม เป็นบุคคลที่มีจิตใจหนักแน่ ประพฤติพรหมจรรย์ บำเพ็ญวิปัสสนาธุระตลอดชีวิต มุ่งดีต่อหมู่คณะและพระศาสนา รับภารธุระครูบาอาจารย์ ฟื้นฟูทำนุบำรุงพระพุทธศาสนาฝ่ายวิปัสสนาธุระ เมื่อรับตำแหน่งฝ่ายบริหาร ยินดีรับภารธุระและเอาใจใส่ด้วยความเต็มใจ ยังกิจการคณะสงฆ์ให้เจริญรุ่งเรื่อง มีพระสงฆ์สามเณรและฆราวาสเป็นศิษย์มากมาย จนได้รับขนานนามว่า แม่ทัพธรรมพระกรรมฐาน.

ใหม่!!: พระอุดมญาณโมลี (จันทร์ศรี จนฺททีโป)และพระญาณวิศิษฏ์สมิทธิวีราจารย์ (สิงห์ ขนฺตยาคโม) · ดูเพิ่มเติม »

พระราชาคณะ

ในการพระราชทานสมณศักดิ์ชั้นพระราชาคณะขึ้นไป พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จไปพระราชทานด้วยพระองค์เองหรือไม่ก็โปรดเกล้าให้ผู้แทนพระองค์เป็นผู้มอบแทน พัดยศสมณศักดิ์พระราชาคณะเจ้าคณะรอง พระราชาคณะ หมายถึงพระภิกษุที่ได้รับสถาปนาให้มีสมณศักดิ์ตั้งแต่ชั้นสามัญจนถึงชั้นสมเด็จพระราชาคณะ ในสมัยกรุงศรีอยุธยาเรียกว่าพระสังฆราชาคณะ หมายความว่าเจ้าคณะผู้ปกครองสงฆ์ ต่อมาในสมักรุงรัตนโกสินทร์เปลี่ยนเป็นพระราชาคณะ ความหมายยังคงเดิม มีคำนำหน้าราชทินนามว่าพระ แต่ภาษาชาวบ้านเรียกกันว่าเจ้าคุณหรือท่านเจ้าคุณ ถ้าเป็นสมเด็จพระราชาคณะเรียกว่าท่านเจ้าประคุณ แยกเป็นลำดับดังนี้ พัดยศสมณศักดิ์พระราชาคณะชั้นสามัญเปรียญ.

ใหม่!!: พระอุดมญาณโมลี (จันทร์ศรี จนฺททีโป)และพระราชาคณะ · ดูเพิ่มเติม »

พระราชาคณะชั้นธรรม

ระราชาคณะชั้นธรรม เป็นสมณศักดิ์ของพระสงฆ์ไทย มีศักดิ์รองลงมาจากพระราชาคณะเจ้าคณะรอง และสูงกว่าพระราชาคณะชั้นเท.

ใหม่!!: พระอุดมญาณโมลี (จันทร์ศรี จนฺททีโป)และพระราชาคณะชั้นธรรม · ดูเพิ่มเติม »

พระราชาคณะเจ้าคณะรอง

ระราชาคณะเจ้าคณะรองเป็นสมณศักดิ์ของพระสงฆ์ไทย มีศักดิ์สูงกว่าพระราชาคณะชั้นธรรม และรองลงมาจากสมเด็จพระราชาคณะ เดิมจึงเรียกว่ารองสมเด็จพระราชาคณ.

ใหม่!!: พระอุดมญาณโมลี (จันทร์ศรี จนฺททีโป)และพระราชาคณะเจ้าคณะรอง · ดูเพิ่มเติม »

พระอารามหลวง

ระอารามหลวง หรือ วัดหลวง คือ วัดที่พระมหากษัตริย์หรือพระบรมวงศานุวงศ์ทรงสร้างหรือทรงบูรณปฏิสังขรณ์ หรือมีผู้สร้างน้อมเกล้าน้อมกระหม่อมถวายเป็นวัดหลวง และวัดที่ราษฎรสร้าง หรือบูรณปฏิสังขรณ์ แล้วทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เข้าจำนวนในบัญชีเป็นพระอารามหลวง.

ใหม่!!: พระอุดมญาณโมลี (จันทร์ศรี จนฺททีโป)และพระอารามหลวง · ดูเพิ่มเติม »

พระธรรมเจดีย์ (จูม พนฺธุโล)

ระธรรมเจดีย์ นามเดิม จูม จันทวงศ์ ฉายา พนฺธุโล เป็นอดีตเจ้าคณะมณฑลอุดรธานี (ธรรมยุต) อดีตผู้ช่วยเจ้าคณะภาค 3-4-5 (ธรรมยุต) อดีตเจ้าอาวาสวัดโพธิสมภรณ์ ตำบลหมากแข้ง อำเภอเมืองอุดรธานี.

ใหม่!!: พระอุดมญาณโมลี (จันทร์ศรี จนฺททีโป)และพระธรรมเจดีย์ (จูม พนฺธุโล) · ดูเพิ่มเติม »

พระครูวินัยธรมั่น ภูริทตฺโต

หลวงปู่มั่น ภูริทตฺโต หรือนามตามสมณศักดิ์ว่า พระครูวินัยธรมั่น ภูริทตฺโต (20 มกราคม พ.ศ. 2413 - 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2492) เป็นพระภิกษุฝ่ายธรรมยุติกนิกาย ชาวจังหวัดอุบลราชธานี ผู้เป็นบูรพาจารย์สายพระป่าในประเทศไทย พระอาจารย์มั่น ภูริทตฺโต ได้ปฏิบัติตนตามแนวทางคำสอนพระศาสดาอย่างเคร่งครัด และยึดถือธุดงควัตรด้วยจริยวัตรปฏิปทางดงาม จนได้รับการยกย่องจากผู้ศรัทธาทั้งหลายว่าเป็นพระผู้เลิศทางธุดงควัตร ท่านวางแนวทางในการปฏิบัติสมถะและวิปัสสนาตามหลักธรรมคำสอนขององค์สมเด็จพระสัมมาพุทธเจ้าให้แก่สมณะประชาชนอย่างกว้างขวาง จนมีพระสงฆ์และฆราวาสเป็นลูกศิษย์จำนวนมาก แนวคำสอนของท่านเป็นที่รู้จักกันดีในนามว่า คำสอนพระป่า (สายพระอาจารย์มั่น) หลังจากท่านมรณภาพลง ในปี..

ใหม่!!: พระอุดมญาณโมลี (จันทร์ศรี จนฺททีโป)และพระครูวินัยธรมั่น ภูริทตฺโต · ดูเพิ่มเติม »

พระครูสัญญาบัตร

ในปัจจุบันการพระราชทานสมณศักดิ์ชั้นพระครูสัญญาบัตรจะทรงมอบหมายให้สมเด็จพระสังฆราชหรือเจ้าคณะใหญ่ในหนนั้นๆ เป็นผู้แทนพระองค์มอบตำแหน่งแทน (พัดพุดตาน) พัดยศสมณศักดิ์พระครูสัญญาบัตร พระครูสัญญาบัตรจัดเป็นสมณศักดิ์สัญญาบัตรชั้นแรก เป็นพระครูมีราชทินนาม ในสมัยพ่อขุนรามคำแหงมหาราชแห่งกรุงสุโขทัยเรียกว่า"ปู่ครู" ต่อมาในสมัยพระมหาธรรมราชาที่ 1 ได้เปลี่ยนคำนำหน้าจากปู่ครูเป็นพระครู และโปรดให้มีราชทินนามสืบมาจนถึงปัจจุบัน พระครูสัญญาบัตรเป็นชื่อประเภทสมณศักดิ์ เครื่องหมายสมณศักดิ์ใช้คำว่าพระครูนำหน้าราชทินนาม แต่ในสัญญาบัตรมิได้กำหนดว่าเป็นพระครูสัญญาบัตรชั้นใดหรือตำแหน่งใด ก็จะมีพัดยศเป็นเครื่องแสดงชั้นหรือตำแหน่งนั้นๆ เมื่อได้เลื่อนตำแหน่ง จะไม่เปลี่ยนสัญญาบัตร คงเปลี่ยนเฉพาะพัดยศ และมีประกาศมหาเถรสมาคมแสดงความเป็นพระครูสัญญาบัตรตำแหน่งใดและชั้นใด ในปัจจุบันผู้ที่จะได้รับพระราชทานตั้งเป็นพระครูสัญญาบัตรต้องเป็นพระสังฆาธิการเท่านั้น เมื่อจะทรงแต่งตั้งครั้งแรกจัดชั้นและตำแหน่งให้เหมาะสมในการปกครอง หรือเหมาะสมกับวิทยฐานะ พระครูสัญญาบัตรจัดโดยชั้นมี 4 ชั้น คือ.

ใหม่!!: พระอุดมญาณโมลี (จันทร์ศรี จนฺททีโป)และพระครูสัญญาบัตร · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลพุทธคุณูปการ

ใบประกาศเกียรติคุณรางวัลพุทธคุณูปการ รางวัลพุทธคุณูปการ เป็นรางวัลเกียรติยศของสภาผู้แทนราษฎรไทย ที่มอบให้แก่บุคคล หรือหน่วยงานที่ทำคุณประโยชน์ต่อพระพุทธศาสนา เพื่อแสดงความกตัญญู และยกย่องทำคุณประโยชน์ต่อพระพุทธศาสนา รางวัลนี้มอบโดยการกลั่นกรองจากคณะอนุกรรมาธิการการของรัฐสภา ซึ่งถือว่าเป็นตัวแทนของปวงชนชาวไทย เป็นเครื่องหมายหนึ่งที่แสดงถึงการให้ความสำคัญแก่พระพุทธศาสนาในประเทศไทยและความสำคัญของรางวัลนี้ ที่มอบให้แก่ผู้ทุ่มเททั้งกายและใจ ทั้งพระสงฆ์ บุคคลทั่วไป และองค์กร ที่มีความตั้งใจ ทุ่มเท เสียสละ และอุทิศชีวิตเพื่อพระพุทธศาสนา ผู้ควรแก่รางวัลจะได้รับมอบโล่รางวัลพุทธคุณูปการ พร้อมด้วยประกาศเกียรติคุณจากประธานสภาผู้แทนราษฏร และประธานคณะผู้ปฏิบัติหน้าที่แทนสมเด็จพระสังฆราช ณ สถานที่ วันและเวลาตามแต่สภาผู้แทนราษฏรจะกำหน.

ใหม่!!: พระอุดมญาณโมลี (จันทร์ศรี จนฺททีโป)และรางวัลพุทธคุณูปการ · ดูเพิ่มเติม »

วัดบวรนิเวศราชวรวิหาร

วัดบวรนิเวศ ราชวรวิหาร หรือ วัดบวรนิเวศวิหาร เป็นพระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดราชวรวิหาร ตั้งอยู่ริมถนนบวรนิเวศและถนนพระสุเมรุ แขวงบวรนิเวศ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร พระอารามนี้เคยเป็นที่ประทับของสมเด็จพระสังฆราชถึง 4 พระองค์ และเป็นที่ตั้งของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ทั้งยังเป็นวัดประจำรัชกาลที่ ๖ (พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว) และ วัดประจำรัชกาลที่ ๙ (พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช).

ใหม่!!: พระอุดมญาณโมลี (จันทร์ศรี จนฺททีโป)และวัดบวรนิเวศราชวรวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วัดป่าสุทธาวาส

วัดป่าสุทธาวาส เป็นวัดที่พระอาจารย์มั่น ภูริทัตตเถระละสังขาร ตั้งอยู่ที่ ต.ธาตุเชิงชุม อ.เมือง จ.สกลนคร รูปเหมือนพระอาจารย์มั่น ภูริทัตตเถระ ภายในพิพิธภัณฑ.

ใหม่!!: พระอุดมญาณโมลี (จันทร์ศรี จนฺททีโป)และวัดป่าสุทธาวาส · ดูเพิ่มเติม »

วัดโพธิสมภรณ์

วัดโพธิสมภรณ์ (พระอารามหลวง) ตั้งอยู่บนถนนเพาะนิยม เลขที่ 22 ตำบลหมากแข้ง อำเภอเมืองอุดรธานี จังหวัดอุดรธานี อยู่ทางทิศตะวันตกของหนองประจักษ์ มีเนื้อที่ทั้งหมด 40 ไร่ ในวันที่ 7 พฤษภาคม..

ใหม่!!: พระอุดมญาณโมลี (จันทร์ศรี จนฺททีโป)และวัดโพธิสมภรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

สมณศักดิ์

มณศักดิ์ ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 หมายความว่า ยศพระสงฆ์ที่ได้รับพระราชทานมีหลายชั้น แต่ละชั้นมีพัดยศเป็นเครื่องกำหนด อาจกล่าวได้ว่า สมณศักดิ์ คือบรรดาศักดิ์ หรือยศที่พระมหากษัตริย์พระราชทานแก่ภิกษุผู้ประพฤติดี ประพฤติชอบให้ดำรงมั่นอยู่ในสมณเพศ เพื่อเป็นกำลังสืบต่ออายุพระพุทธศาสนาและเพื่อให้การปกครองคณะสงฆ์เป็นไปโดยเรียบร้อย เพราะการที่พระภิกษุรูปใดได้รับพระราชทานสมณศักดิ์ ย่อมได้รับมอบหมายภาระหน้าที่ในการปกครองหมู่คณะแห่งสงฆ์ไปพร้อมกันด้ว.

ใหม่!!: พระอุดมญาณโมลี (จันทร์ศรี จนฺททีโป)และสมณศักดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณวงศ์

มเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณวงศ์ เป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 13 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ สถิต ณ วัดบวรนิเวศราชวรวิหาร ได้รับสถาปนาเป็นสมเด็จพระสังฆราชเมื่อปี พ.ศ. 2488 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ทรงดำรงตำแหน่งอยู่ 14 พรรษา สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: พระอุดมญาณโมลี (จันทร์ศรี จนฺททีโป)และสมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเมืองขอนแก่น

อำเภอเมืองขอนแก่น เป็นอำเภอศูนย์กลางการปกครอง การคมนาคม การศึกษา การแพทย์ อุตสาหกรรม และเศรษฐกิจของจังหวัดขอนแก่น เป็นที่ตั้งของศูนย์ราชการจังหวัด เป็นพื้นที่ที่มีประชากรอาศัยอยู่หนาแน่นที่สุดในจังหวั.

ใหม่!!: พระอุดมญาณโมลี (จันทร์ศรี จนฺททีโป)และอำเภอเมืองขอนแก่น · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสกลนคร

กลนคร หรืออีกชื่อหนึ่งว่า "เมืองหนองหานหลวง" เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนตั้งอยู่ในแอ่งสกลนคร และเป็นศูนย์ปฏิบัติการกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน2 ซึ่งเป็นแหล่งชุมชนตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์สืบเนื่องจวบจนปัจจุบัน ทั้งนี้จังหวัดสกลนครยังเป็นเมืองเก่าแก่ที่มีความสำคัญและหลากหลายในด้านต่างๆโดยเฉพาะทางด้านสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ ประวัติศาสตร์ สังคม การเมือง ศาสนา และวัฒนธรรมทั้งในระดับชาติและระดับท้องถิ่น และเป็นจังหวัดศูนย์กลางในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และศูนย์กลางทางการศึกษา อันเป็นสถานที่ตั้งของสถานศึกษาขนาดใหญ่ใน กลุ่มจังหวัดสนุก (สกลนคร นครพนม และมุกดาหาร).

ใหม่!!: พระอุดมญาณโมลี (จันทร์ศรี จนฺททีโป)และจังหวัดสกลนคร · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดอุดรธานี

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: พระอุดมญาณโมลี (จันทร์ศรี จนฺททีโป)และจังหวัดอุดรธานี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดขอนแก่น

ังหวัดขอนแก่น เป็นจังหวัดที่มีขนาดพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 6 ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และมีประชากรมากเป็นอันดับ 3 ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นจังหวัดศูนย์ปฏิบัติการของกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง เมืองขอนแก่นตั้งอยู่ในจุดที่ถนนมิตรภาพ (ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2) และทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 12 (ถนนสายเศรษฐกิจตะวันออก-ตะวันตก) ตัดผ่าน ซึ่งเป็นเส้นทางสำคัญอีกเส้นหนึ่งในการเดินทางจากภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลางเข้าไปสู่ภาคเหนือตอนล่างที่อำเภอหล่มสัก จังหวัดเพชรบูรณ์ และเดินทางเข้าสู่ประเทศลาวทางด้านทิศใต้ของลาว อาณาเขตทางทิศเหนือติดกับจังหวัดเลย จังหวัดหนองบัวลำภู และจังหวัดอุดรธานี ทิศตะวันออกติดกับจังหวัดมหาสารคามและจังหวัดกาฬสินธุ์ ทิศใต้ติดกับจังหวัดบุรีรัมย์และจังหวัดนครราชสีมา ทิศตะวันตกติดกับจังหวัดชัยภูมิและจังหวัดเพชรบูรณ.

ใหม่!!: พระอุดมญาณโมลี (จันทร์ศรี จนฺททีโป)และจังหวัดขอนแก่น · ดูเพิ่มเติม »

ธรรมยุติกนิกาย

ตราคณะธรรมยุต ธรรมยุติกนิกาย หรือ คณะธรรมยุต เป็นคณะสงฆ์ที่พระวชิรญาณเถระทรงตั้งขึ้นเพื่อฟื้นฟูศาสนาพุทธในสยาม และแก้ไขวัตรปฏิบัติให้ถูกต้องตามพระธรรมวินัย เมื่อพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวผนวชอยู่นั้น ได้ทรงศึกษาพระไตรปิฎกอย่างแตกฉานทำให้มีพระวิจารณญาณเกี่ยวกับความเป็นมาของพระพุทธศาสนา และความประพฤติปฏิบัติของพระภิกษุสามเณรได้อย่างละเอียดถี่ถ้วน เป็นเหตุให้มีพระราชดำริในอันที่จะฟื้นฟูการสั่งสอนพระพุทธศาสนา และการประพฤติปฏิบัติของพระสงฆ์ให้ถูกต้องตามพระธรรมวินัยตามที่ได้ทรงศึกษา และทรงพิจารณาสอบสวนจนเป็นที่แน่แก่พระราชหฤทัยว่าถูกต้องเป็นจริงอย่างไร แล้วพระองค์ได้ทรงนำประพฤติปฏิบัติขึ้นก่อน หรือกล่าวอีกอย่างหนึ่งก็คือ ทรงเริ่มแก้ไขที่พระองค์เองเป็นอันดับแรก ต่อมาเมื่อมีบุคคลอื่นเห็นชอบและนิยมตาม จึงได้มีผู้ประพฤติปฏิบัติตามอย่างพระองค์ขึ้น และมีจำนวนมากขึ้นเป็นลำดับ จนเกิดเป็นพระสงฆ์หมู่หนึ่ง หรือนิกายหนึ่ง ที่ได้ชื่อในภายหลังว่า ธรรมยุติกนิกาย หรือที่เรียกสั้น ๆ ว่า “ธรรมยุต” อันมีความหมายว่า ผู้ประกอบด้วยธรรม หรือชอบด้วยธรรม หรือยุติตามธรรม ทั้งนี้ก็เพราะว่าพระสงฆ์นี้เกิดขึ้นด้วยมุ่งแสวงหาว่า ข้อใดเป็นธรรม เป็นวินัย เป็นสัตถุศาสน์ (คือคำสั่งสอนของพระศาสดา) แล้วปฏิบัติข้อนั้น เว้นข้อที่ไม่เป็นธรรม ไม่เป็นวินัย ไม่เป็นสัตถุศาสน์ แม้จะเป็นอาจินปฏิบัติ (ข้อปฏิบัติตามกันมาแต่ผิดพระธรรมวินัย) พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระบรมราชโองการ ให้ประกาศใช้พระราชบัญญัติลักษณะการปกครองคณะสงฆ์ขึ้น เป็นครั้งแรกในประเทศไทย พระราชบัญญัติฉบับนี้มีชื่อว่า พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ ร.ศ. 121 มีสาระสำคัญคือได้ยกสถานะคณะธรรมยุติ ให้เป็นนิกายอย่างถูกต้องตามกฎหมาย ธรรมยุติกนิกาย ตั้งขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อปฏิรูปและฟื้นฟูด้านวัตรปฏิบัติของสงฆ์ ให้มีความถูกต้องและเข้มงวดตามพุทธบัญญัติ ให้พระภิกษุสงฆ์มีวัตรปฏิบัติที่เคร่งครัดถูกต้องตามพระวินัยปฏิบัติในสิ่งที่ถูกต้องดีงาม ศึกษาพระปริยัติธรรมอย่างเข้าใจแจ่มแจ้ง เป็นการฟื้นฟูพระพุทธศาสนาในส่วนที่บกพร่องของพระสงฆ์ไทยที่มีมาแต่โบราณ ให้สมบูรณ์ทั้งพระวินัยปิฎกและพระสุตตันตปิฎก ซึ่งเป็นความพยายามของพระวชิรญาณเถระเพื่อช่วยปฏิรูปการคณะสงฆ์และเผยแผ่พระพุทธศาสนาให้เจริญรุ่งเรืองอย่างบริบูรณ์ขึ้นในประเทศไทย การก่อตั้งคณะสงฆ์ธรรมยุติกนิกาย เป็นสาเหตุทำให้พระสงฆ์เถรวาทอื่นซึ่งเป็นพระสงฆ์ส่วนใหญ่ที่ไม่ใช่คณะธรรมยุต ได้มีการประชุมและมีมติให้เรียกพระสงฆ์ส่วนใหญ่ที่ไม่ใช่คณะธรรมยุต ว่า "มหานิกาย".

ใหม่!!: พระอุดมญาณโมลี (จันทร์ศรี จนฺททีโป)และธรรมยุติกนิกาย · ดูเพิ่มเติม »

นักธรรมชั้นตรี

นักธรรมชั้นตรี (ชื่อย่อ น.ธ.ตรี) เป็นระดับการศึกษา พุทธศาสนาในประเทศไทยแผนกธรรม โดยเป็นชั้นแรกของการศึกษาระดับพื้นฐานของพระสงฆ์ สามเณรในประเทศไทย โดยเป็นการศึกษาสำหรับฝ่ายพระภิกษุสามเณรโดยเฉพาะ เมื่อศึกษาจบจะได้วุฒิเทียบเท่าชั้นประถม.

ใหม่!!: พระอุดมญาณโมลี (จันทร์ศรี จนฺททีโป)และนักธรรมชั้นตรี · ดูเพิ่มเติม »

นักธรรมชั้นโท

นักธรรมชั้นโท (ชื่อย่อ น.ธ.โท) เป็นระดับการศึกษา พุทธศาสนาในประเทศไทยแผนกธรรม โดยเป็นชั้นกลางของการศึกษาระดับพื้นฐานของพระสงฆ์ สามเณรในประเทศไทย โดยเป็นการศึกษาสำหรับฝ่าย พระภิกษุสามเณรโดยเฉพาะ หลักสูตรนักธรรมชั้นโท.

ใหม่!!: พระอุดมญาณโมลี (จันทร์ศรี จนฺททีโป)และนักธรรมชั้นโท · ดูเพิ่มเติม »

นักธรรมชั้นเอก

นักธรรมชั้นเอก (ชื่อย่อ น.ธ.เอก; dhamma scholar advanced level) เป็นระดับการศึกษา พุทธศาสนาในประเทศไทย แผนกธรรม โดยเป็นชั้นสูงสุดของการศึกษาระดับพื้นฐานของพระสงฆ์ สามเณรในประเทศไทย แบ่งชั้นเรียนออกเป็น 3 ชั้น คือ นักธรรมชั้นตรี นักธรรมชั้นโท และ นักธรรมชั้นเอก ทั้ง ๓ ชั้นนี้เป็นการศึกษาสำหรับฝ่าย พระภิกษุสามเณรโดยเฉ.

ใหม่!!: พระอุดมญาณโมลี (จันทร์ศรี จนฺททีโป)และนักธรรมชั้นเอก · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าอาวาส

้าอาวาส คือพระภิกษุซึ่งได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้ปกครองวัด มีหน้าที่ปกครองดูแลอำนวยกิจการทุกอย่างเกี่ยวกับวัด กฎหมายกำหนดให้วัดหนึ่งมีเจ้าอาวาสรูปหนึ่ง แต่จะมีรองเจ้าอาวาส ผู้ช่วยเจ้าอาวาสได้หลายรูปตามควรแก่ฐานะของวัด เจ้าอาวาสเป็น พระสังฆาธิการ และเป็นเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา เจ้าอาวาสมีหน้าที่ดังนี้.

ใหม่!!: พระอุดมญาณโมลี (จันทร์ศรี จนฺททีโป)และเจ้าอาวาส · ดูเพิ่มเติม »

เปรียญธรรม 3 ประโยค

ัดยศเปรียญธรรม 3 ประโยค เปรียญธรรม 3 ประโยค (ชื่อย่อ ป.ธ.3) เป็นระดับชั้นการศึกษาแผนกบาลีของคณะสงฆ์ไทย เรียกพระภิกษุผู้สอบไล่ได้ในชั้นนี้ว่า "พระมหา" และสามเณรว่า "สามเณรเปรียญ" กระทรวงศึกษาธิการเทียบวุฒิผู้สอบได้ในชั้นนี้ให้เทียบเท่ามัธยมศึกษาตอนต้น คณะสงฆ์ เคยมีการขอให้ปรับวุฒิผู้สอบไล่ได้ชั้นนี้ ให้เทียบเท่าระดับอุดมศึกษา แต่ไม่ได้รับการตอบรับจากผู้เกี่ยวข้อง แต่เปรียญธรรม 3 ประโยค ก็ยังเป็นที่นับถือกันโดยพฤตินัยในวงการคณะสงฆ์ไทยว่าผู้สอบได้ในชั้นนี้เป็น "ปริญญาตรี" ของฝ่ายคณะสงฆ์ หรือเปรียบได้กับคฤหัสถ์ผู้สอบไล่ได้ปริญญาบัณฑิตของฝ่ายฆราวาส โดยผู้สอบได้ในชั้นนี้จะได้รับพระมหากรุณาธิคุณ จากพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ โปรดฯ ทรงตั้งให้เป็นเปรียญ ได้รับพระราชทานประกาศนียบัตร พัดเปรียญธรรม 3 ประโยค การศึกษาพระปริยัติธรรมแผนกบาลีในชั้น "เปรียญธรรม 3 ประโยค" นั้น แบ่ง รายวิชาที่สำนักงานแม่กองบาลีสนามหลวงกำหนดให้พระภิกษุสามเณรสอบไล่เพื่อผ่านในชั้นนี้ได้เป็น 4 วิชา คือ วิชาไวยากรณ์, วิชาแปลมคธเป็นไทย, วิชาสัมพันธ์ไทย และวิชาบุร.

ใหม่!!: พระอุดมญาณโมลี (จันทร์ศรี จนฺททีโป)และเปรียญธรรม 3 ประโยค · ดูเพิ่มเติม »

เปรียญธรรม 4 ประโยค

''ในภาพ:หนังสือมงคลัตถทีปนี จัดพิมพ์โดยมหามกุฏราชวิทยาลัย หลักสูตรเปรียญธรรม 4 ประโยค'' เปรียญธรรม 4 ประโยค (ชื่อย่อ ป.ธ.4) เป็นระดับชั้นการศึกษาแผนกบาลีของคณะสงฆ์ไทย เรียกผู้สอบผ่านในชั้นนี้ว่า เปรียญโท กระทรวงศึกษาธิการเทียบวุฒิผู้สอบได้ในชั้นนี้ให้เทียบเท่ามัธยมศึกษาตอนต้น.

ใหม่!!: พระอุดมญาณโมลี (จันทร์ศรี จนฺททีโป)และเปรียญธรรม 4 ประโยค · ดูเพิ่มเติม »

เปรียญธรรม 5 ประโยค

''ในภาพ:ปกหนังสือมงคลัตถทีปนี จัดพิมพ์โดยมหามกุฏราชวิทยาลัย หลักสูตรเปรียญธรรม 5 ประโยค'' เปรียญธรรม 5 ประโยค (ชื่อย่อ ป.ธ.5) เป็นระดับชั้นการศึกษาแผนกบาลีของคณะสงฆ์ไทย เรียกผู้สอบผ่านได้ในชั้นนี้ว่า เปรียญโท ผู้สอบได้ในชั้นนี้สามารถนำใบประกาศนียบัตรมาขอใบเทียบวุฒิการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายจากกระทรวงศึกษาธิการได้ ถ้าผู้ที่สอบได้ชั้นนี้ได้รับแต่งตั้งให้เป็นครูสอน 1 ปี และทำการสอนมาแล้วไม่ต่ำกว่า 300 ชั่วโมง.

ใหม่!!: พระอุดมญาณโมลี (จันทร์ศรี จนฺททีโป)และเปรียญธรรม 5 ประโยค · ดูเพิ่มเติม »

1 พฤษภาคม

วันที่ 1 พฤษภาคม เป็นวันที่ 121 ของปี (วันที่ 122 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 244 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระอุดมญาณโมลี (จันทร์ศรี จนฺททีโป)และ1 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »