โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พ.ศ. 2479

ดัชนี พ.ศ. 2479

ทธศักราช 2479 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1936.

75 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2452พ.ศ. 2454พ.ศ. 2476พ.ศ. 2477พ.ศ. 2481พ.ศ. 2482พ.ศ. 2486พ.ศ. 2489พ.ศ. 2551พ.ศ. 2552พ.ศ. 2557พ.ศ. 2558พ.ศ. 2559พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทรพระมหากษัตริย์ไทยพระมหาวีรกษัตรีย์นโรดม มุนีนาถ สีหนุ พระวรราชมารดาพระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน)พระราชศีลโสภิต (หนูอินทร์ กิตฺติสาโร)พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพชรอัครโยธินพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพิสมัยพิมลสัตย์พระเจ้าคิเกลิที่ 5 แห่งรวันดาพงษ์ศักดิ์ จันทรุกขามาร์กาเร็ต มิตเชลล์ยะซุโอะ ฟุกุดะรายนามนายกรัฐมนตรีไทยรางวัลโนเบลรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมรางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพรางวัลโนเบลสาขาเคมีสมเด็จพระราชาธิบดีควน การ์โลสที่ 1 แห่งสเปนสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวงสมเด็จพระสันตะปาปาฟรานซิสหม่อมราชวงศ์สดศรี ปันยารชุนอะกิโอะ มะกิอินฟันตาปีลาร์ ดัชเชสแห่งบาดาโคซจังหวัดสวรรคโลกจังหวัดตรังแปน โสวัณโรงเรียนสภาราชินี จังหวัดตรังเบเนดิกต์ แอนเดอร์สันเจ้าหญิงอเล็กซานดรา เลดีโอกิลวีเจ้าจักรคำขจรศักดิ์เจ้าแก้วนวรัฐเดวิด คาร์ราดีนเฉลิมพันธ์ ศรีวิกรม์1 กันยายน1 มิถุนายน...1 สิงหาคม10 พฤศจิกายน13 ธันวาคม14 กันยายน14 มีนาคม15 เมษายน16 กรกฎาคม16 ตุลาคม17 ธันวาคม18 มกราคม18 มิถุนายน19 กุมภาพันธ์20 พฤศจิกายน21 กรกฎาคม21 ธันวาคม25 ธันวาคม26 สิงหาคม26 เมษายน28 ตุลาคม29 มิถุนายน29 ตุลาคม30 กรกฎาคม30 มิถุนายน4 มิถุนายน8 ธันวาคม ขยายดัชนี (25 มากกว่า) »

พ.ศ. 2452

ื พุทธศักราช 2452 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1909 เป็ๆนปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2479และพ.ศ. 2452 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2454

ทธศักราช 2454 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1911 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2479และพ.ศ. 2454 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2476

ทธศักราช 2476 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1933.

ใหม่!!: พ.ศ. 2479และพ.ศ. 2476 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2477

ทธศักราช 2477 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1934ยวห.

ใหม่!!: พ.ศ. 2479และพ.ศ. 2477 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2481

ทธศักราช 2481 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1938.

ใหม่!!: พ.ศ. 2479และพ.ศ. 2481 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2482

ทธศักราช 2561 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1939.

ใหม่!!: พ.ศ. 2479และพ.ศ. 2482 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2486

ทธศักราช 2486 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1943.

ใหม่!!: พ.ศ. 2479และพ.ศ. 2486 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2489

ทธศักราช 2489 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1946 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2479และพ.ศ. 2489 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2551

ทธศักราช 2551 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2008 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2479และพ.ศ. 2551 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2552

ทธศักราช 2552 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2009 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีสุดท้ายในคริสต์ทศวรรษ 2000.

ใหม่!!: พ.ศ. 2479และพ.ศ. 2552 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2557

ทธศักราช 2557 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2014 วันแรกของปีตรงกับวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน นับเป็นปีที่ 2014 ตามกำหนดสากลศักราช และปีที่ 2557 ตามกำหนดพุทธศักร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2479และพ.ศ. 2557 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2558

ทธศักราช 2558 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2015 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน นับเป็นปีที่ 2015 ตามกำหนดสากลศักร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2479และพ.ศ. 2558 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2559

ทธศักราช 2559 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2016 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ และเป็น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2479และพ.ศ. 2559 · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว  (20 กันยายน พ.ศ. 2396 – 23 ตุลาคม พ.ศ. 2453) เป็นพระมหากษัตริย์สยาม รัชกาลที่ 5 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันอังคาร เดือน 10 แรม 3 ค่ำ ปีฉลู ตรงกับวันที่ 20 กันยายน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2479และพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร

ระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร (20 กันยายน พ.ศ. 2468 – 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489) เป็นพระโอรสในสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้ามหิดลอดุลยเดช กรมขุนสงขลานครินทร์ (ภายหลังดำรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก) และหม่อมสังวาลย์ (ภายหลังดำรงพระยศเป็นสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี) มีพระเชษฐภคินีและพระอนุชาร่วมพระชนกชนนีอีก 2 พระองค์ ได้แก่ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพลอดุลยเดช (ภายหลังทรงขึ้นครองราชสมบัติเป็นพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช) พระองค์เสด็จขึ้นทรงราชย์เป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 8 แห่งราชวงศ์จักรี เมื่อวันที่ 2 มีนาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2479และพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร · ดูเพิ่มเติม »

พระมหากษัตริย์ไทย

ระมหากษัตริย์ไทย เป็นประมุขของประเทศไทยตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันตามระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์และประชาธิปไตย ถึงแม้ว่าพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์จะลดลงหลังจากการปฏิวัติเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 และถูกจำกัดโดยรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แต่สถาบันพระมหากษัตริย์ก็ยังคงได้รับความเคารพนับถือจากประชาชนชาวไทยส่วนใหญ่ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม พุทธศักราช 2475 กับทั้งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยทุกฉบับว่า พระมหากษัตริย์ "ทรงดำรงอยู่ในฐานะอันเป็นที่เคารพสักการะ ผู้ใดจะละเมิดมิได้" นอกจากนั้น พระมหากษัตริย์ยังทรงได้รับความคุ้มครองด้วยกฎหมายอาญา ทำให้การวิพากษ์วิจารณ์พระองค์เป็นความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขแห่งรัฐ ทรงใช้อำนาจอธิปไตยผ่านคณะรัฐมนตรี รัฐสภา และศาล ทรงเป็นจอมทัพไทย พุทธมามกะ และอัครศาสนูปถัมภก มีพระราชอำนาจสถาปนาและพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์กับฐานันดรศักดิ์ พระราชทานอภัยโทษ ประกาศสงครามและสงบศึก รวมตลอดถึงพระราชอำนาจอื่น ๆ ซึ่งจะทรงใช้ได้ก็แต่โดยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กฎหมายกำหนดไว้ ยกเว้นพระราชอำนาจบางประการที่ทรงใช้ได้ตามพระราชอัธยาศัย คือ ตั้งและถอดองคมนตรีกับบรรดาข้าราชการในพระองค์ พระมหากษัตริย์ไทยแห่งราชวงศ์จักรี และเป็นประมุขราชวงศ์จักรี มีที่ประทับอย่างเป็นทางการคือพระบรมมหาราชวัง กรุงเทพมหานคร พระมหากษัตริย์องค์ปัจจุบันคือ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร โดยทรงรับตำแหน่งเมื่อวันที่ 1 ธันวาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2479และพระมหากษัตริย์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

พระมหาวีรกษัตรีย์นโรดม มุนีนาถ สีหนุ พระวรราชมารดา

ระมหาวีรกษัตรีย์นโรดม มุนีนาถ สีหนุ พระวรราชมารดา (នរោត្ដម មុនីនាថ សីហនុ; 18 มิถุนายน พ.ศ. 2479) พระอัครมเหสีในพระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ และเป็นพระราชชนนีในพระบาทสมเด็จพระบรมนาถ นโรดม สีหมุนี พระมหากษัตริย์กัมพูชารัชกาลปัจจุบัน พระองค์เป็นที่รู้จักในพระนาม พระราชินีโมนีก (Queen Monique).

ใหม่!!: พ.ศ. 2479และพระมหาวีรกษัตรีย์นโรดม มุนีนาถ สีหนุ พระวรราชมารดา · ดูเพิ่มเติม »

พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน)

ระยาพหลพลพยุหเสนา (แถวหน้าซ้ายมือ) นำคณะรัฐมนตรีของไทยเข้าเยือนประเทศญี่ปุ่น และพบกับ ฮิเดกิ โตโจ (แถวหน้าตรงกลาง) นายกรัฐมนตรีญี่ปุ่น เมื่อปี พ.ศ. 2485 ช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง พลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา เดิมชื่อว่า "พจน์ พหลโยธิน" เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 2 เกิดวันที่ 29 มีนาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2479และพระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน) · ดูเพิ่มเติม »

พระราชศีลโสภิต (หนูอินทร์ กิตฺติสาโร)

หลวงพ่อหนูอินทร์ กิตติสาโร (18 มกราคม พ.ศ. 2479 —) พระภิกษุเรืองเวทย์แห่งภาคอีสาน ที่เพียบพร้อมไปด้วยคุณสมบัติครบถ้วนในสมณรูป มีความเมตตาต่อผู้ตกทุกข์ได้ยาก สมัยนั้นหลายคนไม่ค่อยเลื่อมใส เนื่องจากท่านดูแลดูเป็นพระหนุ่มมากเกินไป จึงนำพระเครื่องของท่านไปทดลอง ปรากฏว่า ยิงไม่ออก และมีคนถูกกับระเบิดแต่หาได้รับอันตรายไม่ ปัจจุบันดำรงตำแหน่งเป็นที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัดกาฬสินธุ์ เจ้าอาวาสวัดป่าพุทธมงคล ที่ปรึกษารองอธิการบดีฝ่ายวางแผนและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น และเจ้าสำนักปฏิบัติธรรมประจำจังหวัดกาฬสินธุ์ แห่งที่ 1 ได้รับสมณศักดิ์เป็น พระราชาคณะชั้นราช มีราชทินนามตามสัญญาบัตรว่า พระราชศีลโสภิต วรกิจจานุกิจธาดา มหาคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี สถิต ณ วัดป่าพุทธมงคล จังหวัดกาฬสิน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2479และพระราชศีลโสภิต (หนูอินทร์ กิตฺติสาโร) · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพชรอัครโยธิน

นายพลเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพ็ชรอัครโยธิน หรือ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร (23 มกราคม พ.ศ. 2424 - 14 กันยายน พ.ศ. 2479) พระบิดาแห่งกิจการวิทยุกระจายเสียงไทย พระบิดาแห่งการรถไฟไทย พระบิดาแห่งการท่องเที่ยวไทย และ พระบิดาแห่งโรตารีไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2479และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพชรอัครโยธิน · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพิสมัยพิมลสัตย์

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพิสมัยพิมลสัตย์ ประสูติวันอังคารที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2424 เป็นพระราชธิดาในรัชกาลที่ 5 กับเจ้าจอมมารดาเรือน (สุนทรศารทูล) สิ้นพระชนม์วันที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2479 (พระชันษา 55 ปี) พระองค์ท่านโปรดประทับในพระบรมมหาราชวัง จะเสด็จไปประทับในสวนสุนันทาก็เป็นครั้งคราว เมื่อมีพระประสงค์จะไปเยี่ยมเยียนพระเชษฐภคินีหรือพระชนิษฐภคินีที่ประทับอยู่ในสวนสุนันทาเท่านั้น บำเพ็ญพระราชกุศล 7 วัน ที่หอนิเพธพิทยา ในพระบรมมหาราชวัง โดยคณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ วันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2479 และ วันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2479 พระราชทานเพลิงพระศพ ณ วัดเทพศิริทราวาส วันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2481 โดยประธานคณะผู้สำเร็จราชการแทนพระอง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2479และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพิสมัยพิมลสัตย์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าคิเกลิที่ 5 แห่งรวันดา

ระเจ้าคิเกลิที่ 5 แห่งรวันดา (King Kigeli V of Rwanda) เป็นพระมหากษัตริย์แห่งรวันดาตั้งแต่ 25 กรกฎาคม ค.ศ. 1959 - 28 มกราคม ค.ศ. 1961 พระองค์เสด็จพระราชสมภพที่เมืองคาเมมเบ ประเทศรวันดา พระองค์มีชื่อแบบคริสเตียนว่า "ฌ็อง-บาติสต์ นดาฮินเดอร์วา" พระเจ้าคิเกลิที่ 5 ทรงครองราชย์ต่อจากพระเจ้ามูทาราที่ 3 แห่งรวันดาพระอิสริยยศของพระองค์เปรียบได้กับสมเด็จพระราชาธิบดีคิเกลิที่5แห่งรวันดา พระราชบิดาของพระองค์เสด็จสวรรคตเมื่อปี 1959 พระองค์ครองราชย์ขณะมีพระชนมายุได้ 23 พรรษา แต่ความไม่แน่นอนทางการเมืองและความขัดแย้งของชนเผ่าก็เกิดขึ้น และรุนแรงขึ้นเรื่อย ๆ แม้พระองค์จะมีความพยายามในการสร้างความปรองดองแต่ก็ไม่ประสบความสำเร็จ ในที่สุดโดมินิกัว มบอนยูมูตวาได้ทำการปฏิวัติภายใต้การสนับสนุนของทหารเบลเยียม ในปี 1961 ทำให้สถาบันพระมหากษัตริย์รวันดาถูกล้มล้าง และพระเจ้าคิเกลิที่ 5 ต้องเสด็จลี้ภัยไปต่างประเทศ ปัจจุบันพำนักอยู่ที่ วอชิงตันดีซี สหรัฐอเมริก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2479และพระเจ้าคิเกลิที่ 5 แห่งรวันดา · ดูเพิ่มเติม »

พงษ์ศักดิ์ จันทรุกขา

งษ์ศักดิ์ จันทรุกขา (ชื่อเดิม นายสงคราม) เกิดเมื่อวันที่ 21 ธันวาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2479และพงษ์ศักดิ์ จันทรุกขา · ดูเพิ่มเติม »

มาร์กาเร็ต มิตเชลล์

มาร์กาเร็ต มิตเชลล์ผู้ประพันธ์นวนิยายเรื่อง "วิมานลอย" (Gone With The Wind) มาร์กาเร็ต มุนเนอร์ลีน มิตเชลล์ (Margaret Munnerlyn Mitchell; 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2443 – 16 สิงหาคม พ.ศ. 2492) นักเขียนนวนิยายชาวอเมริกันผู้ได้รับรางวัลพูลิตเซอร์เมื่อ พ.ศ. 2480 สำหรับนวนิยายเพียงเรื่องเดียวที่เธอเคยเขียนขึ้น คือเรื่อง "วิมานลอย" (Gone With The Wind) ตีพิมพ์เมื่อ พ.ศ. 2479 นวนิยายเรื่องนี้นับเป็นนวนิยายเรื่องเดียวที่ได้รับความนิยมสูงสุดเท่าที่เคยมีมา เป็นหนังสือปกแข็งที่มีจำนวนจำหน่ายรองจากคัมภีร์ไบเบิล แม้ในปัจจุบันก็ยังจำหน่ายได้ประมาณปีละ 200,000 เล่ม นวนิยายเรื่องนี้ได้รับการดัดแปลงเป็นภาพยนตร์ออกฉายเป็นครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2482 และทำรายได้สูงสุดในประวัติศาสตร์ของฮอลลีวูด รวมทั้งการทำลายสถิติการได้รับรางวัลอะแคเดมีมากที.

ใหม่!!: พ.ศ. 2479และมาร์กาเร็ต มิตเชลล์ · ดูเพิ่มเติม »

ยะซุโอะ ฟุกุดะ

ซุโอะ ฟุกุดะ (เกิด 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2479) เป็นนายกรัฐมนตรีคนที่ 91 ของประเทศญี่ปุ่น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2479และยะซุโอะ ฟุกุดะ · ดูเพิ่มเติม »

รายนามนายกรัฐมนตรีไทย

้านล่างนี้ คือ รายนามนายกรัฐมนตรีแห่งราชอาณาจักรไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2479และรายนามนายกรัฐมนตรีไทย · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลโนเบล

หรียญรางวัลโนเบล รางวัลโนเบล (Nobelpriset; Nobel Prize) เป็นรางวัลประจำปีระดับนานาชาติ ซึ่งจัดโดยคณะกรรมการสแกนดิเนเวีย พิจารณาผลงานวิจัยหรือความอัจฉริยะและความเชี่ยวชาญที่โดดเด่น หรือสร้างคุณประโยชน์ให้กับมนุษยชาติ ทั้งในด้านวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรม ตามเจตจำนงของอัลเฟรด โนเบล นักเคมีชาวสวีเดน ผู้ประดิษฐ์ไดนาไมท์ โดยก่อตั้งขึ้นครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2479และรางวัลโนเบล · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์

หรียญรางวัลโนเบล รางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ (Nobelpriset i fysik, Nobel Prize in Physics) เป็นรางวัลโนเบลหนึ่งใน 5 สาขา ริเริ่มโดยอัลเฟรด โนเบล ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1895 โดยสถาบัน Royal Swedish Academy of Sciences แห่งประเทศสวีเดน เป็นผู้คัดเลือกผู้รับรางวัล ซึ่งมีผลงานวิจัยด้านฟิสิกส์อย่างโดดเด่น มีพิธีมอบเป็นครั้งแรก เมื่อ ค.ศ. 1901 พิธีมอบรางวัลมีขึ้นในวันที่ 10 ธันวาคมของทุกปี ซึ่งตรงกับวันคล้ายวันเสียชีวิตของอัลเฟรด โนเบล ที่กรุงสตอกโฮล์ม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2479และรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม

รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม (Nobelpriset i litteratur, Nobel Prize in Literature) เป็นรางวัลโนเบลหนึ่งในห้าสาขา ที่ริเริ่มโดยอัลเฟร็ด โนเบล ตั้งแต..

ใหม่!!: พ.ศ. 2479และรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์

หรียญรางวัลโนเบล รางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์ (Nobelpriset i fysiologi eller medicin, Nobel Prize in Physiology or Medicine) จัดโดยมูลนิธิโนเบล มีการมอบทุกปีให้แก่การค้นพบที่โดดเด่นในสาขาวิทยาศาสตร์สิ่งมีชีวิตและแพทยศาสตร์ รางวัลโนเบลสาขาดังกล่าวเป็นหนึ่งในห้าสาขา ริเริ่มในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2479และรางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์ · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ

รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ (Nobels fredspris, Nobel Peace Prize) เป็นรางวัลโนเบลหนึ่งในห้าสาขา ที่ริเริ่มโดยอัลเฟร็ด โนเบล ตั้งแต..

ใหม่!!: พ.ศ. 2479และรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลโนเบลสาขาเคมี

หรียญรางวัลโนเบล รางวัลโนเบลสาขาเคมี (Nobelpriset i kemi, Nobel Prize in Chemistry) เป็นรางวัลมอบโดยราชบัณฑิตยสถานด้านวิทยาศาสตร์แห่งสวีเดนเป็นประจำทุกปีแก่นักวิทยาศาสตร์ในสาขาต่างๆ ของเคมี รางวัลนี้เป็นหนึ่งในห้ารางวัลโนเบลซึ่งก่อตั้งจากความประสงค์ของอัลเฟรด โนเบลใน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2479และรางวัลโนเบลสาขาเคมี · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชาธิบดีควน การ์โลสที่ 1 แห่งสเปน

มเด็จพระราชาธิบดีฆวน การ์โลสที่ 1 แห่งสเปน หรือ พระเจ้าฆวน การ์โลสที่ 1 (Juan Carlos I; เสด็จพระราชสมภพ 5 มกราคม พ.ศ. 2481) เป็นพระมหากษัตริย์สเปน ตั้งแต่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2518 - 19 มิถุนายน พ.ศ. 2557 ฟรันซิสโก ฟรังโก ผู้เผด็จการสเปน กำหนดให้สมเด็จพระราชาธิบดีฆวน การ์โลสที่ 1 เป็นประมุขแห่งรัฐองค์ถัดมาใน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2479และสมเด็จพระราชาธิบดีควน การ์โลสที่ 1 แห่งสเปน · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง

ันเอกหญิง สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง มีพระนามเดิมว่า พระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจ้าเสาวภาผ่องศรี เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระประสูติแต่สมเด็จพระปิยมาวดี ศรีพัชรินทรมาตา (เจ้าจอมมารดาเปี่ยม) เมื่อวันที่ 1 มกราคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2479และสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาฟรานซิส

มเด็จพระสันตะปาปาฟรานซิส (Francis; Franciscus) เป็นพระสันตะปาปาองค์ที่ 266 มีพระนามเดิมว่า คอร์เค มาเรียว เบร์โกเกลียว (Jorge Mario Bergoglio) พระราชสมภพเมื่อ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2479.

ใหม่!!: พ.ศ. 2479และสมเด็จพระสันตะปาปาฟรานซิส · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมราชวงศ์สดศรี ปันยารชุน

หม่อมเจ้าหญิงทิตยาทรงกลด จักรพันธุ์ หม่อมเจ้าคัสตาวัส จักรพันธุ์ และธิดา คือ หม่อมราชวงศ์กทลีและหม่อมราชวงศ์สดศรีสุริยา หม่อมราชวงศ์สดศรี ปันยารชุน (นามเดิม: หม่อมราชวงศ์สดศรีสุริยา จักรพันธุ์; เกิด: 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2479) ภริยาของอานันท์ ปันยารชุน อดีตนายกรัฐมนตรีคนที่ 18 ของไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2479และหม่อมราชวงศ์สดศรี ปันยารชุน · ดูเพิ่มเติม »

อะกิโอะ มะกิ

() นักมวยสากลชาวญี่ปุ่น เกิดเมื่อ 14 มีนาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2479และอะกิโอะ มะกิ · ดูเพิ่มเติม »

อินฟันตาปีลาร์ ดัชเชสแห่งบาดาโคซ

อินฟันตาปีลาร์ ดัชเชสแห่งบาดาโคซ ไวเคาน์เตสแห่ง เด ลาร์ตอร์เร พระธิดาพระองค์แรกในอินฟันเตควน เคานต์แห่งบาร์เซโลนา กับเจ้าหญิงมารีอาเดลัสเมร์เตสแห่งบูร์บง-ซิซิลีทั้งสอง เป็นพระเชษฐภคินีในสมเด็จพระราชาธิบดีควน การ์โลสที่ 1 แห่งสเปน อินฟันตามาร์การีตา ดัชเชสแห่งโซเรีย อินฟันเตอัลฟอนโซแห่งสเปน เป็นพระปิตุฉาในสมเด็จพระราชาธิบดีเฟลีเปที่ 6 แห่งสเปน อินฟันตากริสตีนา เฟเดรีกาแห่งสเปน อินฟันตาเอเลนา ดัชเชสแห่งลูโก หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2479 หมวดหมู่:ดัชเชสแห่งบาดาโคซ หมวดหมู่:เจ้าหญิงสเปน หมวดหมู่:บุคคลจากมาดริด.

ใหม่!!: พ.ศ. 2479และอินฟันตาปีลาร์ ดัชเชสแห่งบาดาโคซ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสวรรคโลก

ังหวัดสวรรคโลก เป็นจังหวัดหนึ่งของไทยในอดีต ปัจจุบันคือ อำเภอสวรรคโลก จังหวัดสุโขทั.

ใหม่!!: พ.ศ. 2479และจังหวัดสวรรคโลก · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดตรัง

ตรัง เป็นจังหวัดในภาคใต้ของประเทศไทย ตรังหรือเมืองทับเที่ยงเป็นจังหวัดท่องเที่ยวอีกแห่งหนึ่งของภาคใต้.

ใหม่!!: พ.ศ. 2479และจังหวัดตรัง · ดูเพิ่มเติม »

แปน โสวัณ

แปน โสวัณณ์ (Pen Sovan; ภาษาเขมร: ប៉ែន សុវណ្ណ; 15 เมษายน พ.ศ. 2479 - 29 ตุลาคม พ.ศ. 2559) เกิดที่จังหวัดตาแก้ว ประเทศกัมพูชา เป็นนายกรัฐมนตรีคนแรกของสาธารณรัฐประชาชนกัมพูชา โดยดำรงตำแหน่งระหว่าง 27 มิถุนายน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2479และแปน โสวัณ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนสภาราชินี จังหวัดตรัง

รงเรียนสภาราชินี จังหวัดตรัง เป็นโรงเรียนประจำจังหวัดตรัง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 13 กระทรวงศึกษาธิการ เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ เปิดสอนระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและมัธยมศึกษาตอนปลาย รับนักเรียนแบบสหศึกษาทั้งชายและหญิง ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น มี 11 ห้อง ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย มี 11 ห้อง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2479และโรงเรียนสภาราชินี จังหวัดตรัง · ดูเพิ่มเติม »

เบเนดิกต์ แอนเดอร์สัน

นดิกต์ แอนเดอร์สัน (6 สิงหาคม พ.ศ. 2479 — 13 ธันวาคม พ.ศ. 2558) หรือที่นักวิชาการไทยเรียกว่า "ครูเบน" เป็นศาสตราจารย์กิตติคุณแอรอน แอล.

ใหม่!!: พ.ศ. 2479และเบเนดิกต์ แอนเดอร์สัน · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงอเล็กซานดรา เลดีโอกิลวี

้าหญิงอเล็กซานดรา เดอะฮอนอเรเบิล เลดีโอกิลวี (อเล็กซานดรา เฮเลน เอลิซาเบธ โอลกา คริสตาเบล; ประสูติ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2479) ทรงเป็นสมาชิกพระองค์หนึ่งในพระราชวงศ์อังกฤษ โดยเป็นพระราชนัดดาในสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 5 พระองค์ทรงอภิเษกสมรสกับเซอร์ แองกุส โอกิลวี โดยก่อนการอภิเษกสมรส พระองค์มีพระอิสริยยศเป็น เจ้าหญิงอเล็กซานดราแห่งเคนต์ และมีพระนามเรียกเล่นในหมู่พระประยูรญาติว่า "อเล็กซ์" เจ้าหญิงอเล็กซานดราได้ทรงปฏิบัติพระกรณียกิจมากมายในนามสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 พระญาติชั้นที่หนึ่ง พระองค์ทรงอยู่ในอันดับที่สามสิบสามของลำดับการสืบราชบัลลังก์อังกฤษและเมื่อตอนประสูติในปี พ.ศ. 2479 ทรงอยู่ในอันดับที่หก เมื่อพระองค์เสด็จเยือนประเทศไทยเมื่อ พ.ศ. 2502 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระราชนิพนธ์เพลงระหว่างรอรับเสด็จ เพื่อเป็นการต้อนรับ ซึ่งเพลงนี้มีชื่อว่า Alexandra ซึ่งต่อมานำมาใส่คำร้องภาษาไทย เป็นเพลง แผ่นดินของเร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2479และเจ้าหญิงอเล็กซานดรา เลดีโอกิลวี · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจักรคำขจรศักดิ์

ลตรี มหาอำมาตย์โท เจ้าจักรคำขจรศักดิ์ (120px) เป็นเจ้าผู้ครองนครลำพูน องค์ที่ 10 แห่งราชวงศ์ทิพย์จักร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2479และเจ้าจักรคำขจรศักดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าแก้วนวรัฐ

มหาอำมาตย์โท พลตรี เจ้าแก้วนวรัฐ (90px) (29 กันยายน พ.ศ. 2405 - 3 มิถุนายน พ.ศ. 2482) เป็นเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่องค์ที่ 9 แห่งราชวงศ์ทิพย์จักร และองค์สุดท้ายแห่งนครเชียงใหม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2479และเจ้าแก้วนวรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

เดวิด คาร์ราดีน

วิด คาร์ราดีน (David Carradine) (8 ธันวาคม ค.ศ. 1936 - 3 มิถุนายน ค.ศ. 2009) เป็นนักแสดงชาวอเมริกัน เป็นที่รู้จักในผลงานซีรีส์ทางโทรทัศน์ในทศวรรษ 1970 เรื่อง ''Kung Fu'' และผลงานภาพยนตร์ Kill Bill รับบทเป็นบิล เขามีผลงานแสดงภาพยนตร์กว่า 100 เรื่อง และยังเคยได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลลูกโลกทองคำมาแล้ว 5 ครั้ง 4 มิถุนายน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2479และเดวิด คาร์ราดีน · ดูเพิ่มเติม »

เฉลิมพันธ์ ศรีวิกรม์

นายเฉลิมพันธ์ ศรีวิกรม์ อดีตนักการเมืองและนักธุรกิจชาวไทยที่มีชื่อเสียง เคยดำรงตำแหน่งรองนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ และอดีตเลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ พรรคเอกภาพ รวมถึงเป็นรองหัวหน้าพรรคสามัคคีธรรม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2479และเฉลิมพันธ์ ศรีวิกรม์ · ดูเพิ่มเติม »

1 กันยายน

วันที่ 1 กันยายน เป็นวันที่ 244 ของปี (วันที่ 245 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 121 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2479และ1 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

1 มิถุนายน

วันที่ 1 มิถุนายน เป็นวันที่ 152 ของปี (วันที่ 153 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 213 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2479และ1 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

1 สิงหาคม

วันที่ 1 สิงหาคม เป็นวันที่ 213 ของปี (วันที่ 214 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 152 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2479และ1 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

10 พฤศจิกายน

วันที่ 10 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 314 ของปี (วันที่ 315 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 51 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2479และ10 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

13 ธันวาคม

วันที่ 13 ธันวาคม เป็นวันที่ 347 ของปี (วันที่ 348 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 18 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2479และ13 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

14 กันยายน

วันที่ 14 กันยายน เป็นวันที่ 257 ของปี (วันที่ 258 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 108 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2479และ14 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

14 มีนาคม

วันที่ 14 มีนาคม เป็นวันที่ 73 ของปี (วันที่ 74 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 292 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2479และ14 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

15 เมษายน

วันที่ 15 เมษายน เป็นวันที่ 105 ของปี (วันที่ 106 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 260 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2479และ15 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

16 กรกฎาคม

วันที่ 16 กรกฎาคม เป็นวันที่ 197 ของปี (วันที่ 198 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 168 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2479และ16 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

16 ตุลาคม

วันที่ 16 ตุลาคม เป็นวันที่ 289 ของปี (วันที่ 290 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 76 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2479และ16 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

17 ธันวาคม

วันที่ 17 ธันวาคม เป็นวันที่ 351 ของปี (วันที่ 352 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 14 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2479และ17 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

18 มกราคม

วันที่ 18 มกราคม เป็นวันที่ 18 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 347 วันในปีนั้น (348 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2479และ18 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

18 มิถุนายน

วันที่ 18 มิถุนายน เป็นวันที่ 169 ของปี (วันที่ 170 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 196 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2479และ18 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

19 กุมภาพันธ์

วันที่ 19 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 50 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 315 วันในปีนั้น (316 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2479และ19 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

20 พฤศจิกายน

วันที่ 20 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 324 ของปี (วันที่ 325 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 41 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2479และ20 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

21 กรกฎาคม

วันที่ 21 กรกฎาคม เป็นวันที่ 202 ของปี (วันที่ 203 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 163 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2479และ21 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

21 ธันวาคม

วันที่ 21 ธันวาคม เป็นวันที่ 355 ของปี (วันที่ 356 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 10 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2479และ21 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

25 ธันวาคม

วันที่ 25 ธันวาคม เป็นวันที่ 359 ของปี (วันที่ 360 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 6 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2479และ25 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

26 สิงหาคม

วันที่ 26 สิงหาคม เป็นวันที่ 238 ของปี (วันที่ 239 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 127 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2479และ26 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

26 เมษายน

วันที่ 26 เมษายน เป็นวันที่ 116 ของปี (วันที่ 117 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 249 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2479และ26 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

28 ตุลาคม

วันที่ 28 ตุลาคม เป็นวันที่ 301 ของปี (วันที่ 302 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 64 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2479และ28 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

29 มิถุนายน

วันที่ 29 มิถุนายน เป็นวันที่ 180 ของปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ (วันที่ 181 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 185 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2479และ29 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

29 ตุลาคม

วันที่ 29 ตุลาคม เป็นวันที่ 302 ของปี (วันที่ 303 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 63 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2479และ29 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

30 กรกฎาคม

วันที่ 31 กรกฎาคม เป็นวันที่ 211 ของปี (วันที่ 212 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 154 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2479และ30 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

30 มิถุนายน

วันที่ 30 มิถุนายน เป็นวันที่ 181 ของปี (วันที่ 182 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 184 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2479และ30 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

4 มิถุนายน

วันที่ 4 มิถุนายน เป็นวันที่ 155 ของปี (วันที่ 156 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 210 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2479และ4 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

8 ธันวาคม

วันที่ 8 ธันวาคม เป็นวันที่ 342 ของปี (วันที่ 343 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 23 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2479และ8 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

ค.ศ. 1936

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »