สารบัญ
28 ความสัมพันธ์: บุญเรือน ชุณหะวัณพ.ศ. 2534พ.ศ. 2535พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าออศคาร์นุทิศ กรมหมื่นอนุวัตน์จาตุรนต์กระทรวงคมนาคม (ประเทศไทย)ภักดิพร สุจริตกุลรายนามคู่สมรสนายกรัฐมนตรีไทยวรรณี คราประยูรสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจาตุรนต์รัศมี กรมพระจักรพรรดิพงษ์สมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินีสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาประยูรวงศ์ (ดิศ บุนนาค)สำนักพระราชวังหม่อมอ่อน รพีพัฒน์ ณ อยุธยาหม่อมเจ้าทิตยาทรงกลด จักรพันธุ์หม่อมเจ้าคัสตาวัส จักรพันธุ์อานันท์ ปันยารชุนท่านผู้หญิงประเทศไทยนายกรัฐมนตรีเจ้าพระยาสุรพันธ์พิสุทธิ์ (เทศ บุนนาค)เจ้าจอมมารดาตลับ ในรัชกาลที่ 510 มิถุนายน2 มีนาคม23 กันยายน7 เมษายน
บุญเรือน ชุณหะวัณ
ท่านผู้หญิงบุญเรือน ชุณหะวัณ (สกุลเดิม: โสพจน์; เกิดราว พ.ศ. 2462) เป็นภริยาของ พลเอก ชาติชาย ชุณหะวัณ นายกรัฐมนตรีคนที่ 17 ของประเทศไทย และเป็นพระญาติฝ่ายพระชนนีในสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี.
ดู หม่อมราชวงศ์สดศรี ปันยารชุนและบุญเรือน ชุณหะวัณ
พ.ศ. 2534
ทธศักราช 2534 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1991 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู หม่อมราชวงศ์สดศรี ปันยารชุนและพ.ศ. 2534
พ.ศ. 2535
ทธศักราช 2535 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1992 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู หม่อมราชวงศ์สดศรี ปันยารชุนและพ.ศ. 2535
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
งชาติสยามในรัชกาลที่ 4 ธงช้างเผือก พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหามงกุฎ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (พระราชสมภพ 18 ตุลาคม พ.ศ.
ดู หม่อมราชวงศ์สดศรี ปันยารชุนและพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (20 กันยายน พ.ศ. 2396 – 23 ตุลาคม พ.ศ. 2453) เป็นพระมหากษัตริย์สยาม รัชกาลที่ 5 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันอังคาร เดือน 10 แรม 3 ค่ำ ปีฉลู ตรงกับวันที่ 20 กันยายน..
ดู หม่อมราชวงศ์สดศรี ปันยารชุนและพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์
มหาอำมาตย์เอก มหาเสวกเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ (21 ตุลาคม พ.ศ. 2417 - 7 สิงหาคม พ.ศ. 2463) ทรงเป็นต้นราชสกุลรพีพัฒน์ เป็นพระราชโอรสองค์ที่ 14 ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงเป็นผู้วางรากฐานด้านกฎหมายในเมืองไทย จนได้รับพระสมัญญานามว่าพระบิดาแห่งกฎหมายไทย ทางด้านชีวิตส่วนพระองค์ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้ทรงเสกสมรสกับพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าหญิงอรพัทธ์ประไพ พระธิดาองค์ใหญ่ใน สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจาตุรนต์รัศมี กรมพระจักรพรรดิพงศ์ แต่ทรงมีชีวิตร่วมกันเพียงไม่นานก็หย่าขาดจากกันหลังจากนั้นทรงรับหม่อมอ่อนเป็นชายา หลังจากนั้นทรงมีหม่อมอีก 2 พระองค์ คือ หม่อมแดงและหม่อมราชวงศ์สอางค์ ปราโมช สิ้นพระชนม์ ณ กรุงปารีส เมื่อวันที่ 7 สิงหาคม..
ดู หม่อมราชวงศ์สดศรี ปันยารชุนและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์
พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าออศคาร์นุทิศ กรมหมื่นอนุวัตน์จาตุรนต์
นายพันเอก พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นอนุวัตน์จาตุรนต์ (2 ธันวาคม พ.ศ. 2426 - 12 สิงหาคม พ.ศ. 2478) มีพระนามเดิมว่า พระองค์เจ้าออศคาร์นุทิศ อดีตประธานคณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล.
ดู หม่อมราชวงศ์สดศรี ปันยารชุนและพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าออศคาร์นุทิศ กรมหมื่นอนุวัตน์จาตุรนต์
กระทรวงคมนาคม (ประเทศไทย)
กระทรวงคมนาคม (Ministry of Transport) เป็นหน่วยงานราชการไทยประเภทกระทรวง มีหน้าที่ยกระดับการให้บริการประชาชน ของระบบโครงสร้างพื้นฐาน และบริการคมนาคมขนส่ง ให้มีความคุ้มค่าและทั่วถึง ทำให้ระบบคมนาคมขนส่ง มีความปลอดภัย มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อย และส่งเสริมคุณภาพชีวิต ผสานและเชื่อมโยง โครงข่ายระบบขนส่งมวลชน ระบบขนส่งสาธารณะ ทั้งคนและสินค้า และขยายโอกาสการเดินทางสัญจร อย่างเสมอภาคโดยทั่วถึงกัน.
ดู หม่อมราชวงศ์สดศรี ปันยารชุนและกระทรวงคมนาคม (ประเทศไทย)
ภักดิพร สุจริตกุล
ักดิพร สุจริตกุล (ชื่อเล่น: ปุ๊ย; เกิด: 20 สิงหาคม พ.ศ. 2497) เป็นภริยาที่มิได้จดทะเบียนสมรสของชวน หลีกภัย นายกรัฐมนตรีคนที่ 20 ของไทย เป็นบุตรสาวคนโตของกัลย์ทัศน์ สุจริตกุล อดีตมหาดเล็กในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช กับดรรชี สุจริตกุล เธอเป็นหลานย่าของสุมิตรา สุจริตกุล (สกุลเดิม: สิงหลกะ) นางข้าหลวงในรัชกาลที่ 6 โดยสุมิตราเป็นธิดาของ มหาเสวกตรี พระยาราชมนตรี (สง่า สิงหลกะ) กับคุณหญิงบุญปั๋น ราชมนตรี (สกุลเดิม: พิทักษ์เทวี; บางแห่งว่าเธอมีสถานะเป็น "เจ้า") โดยพ่อและย่านำเข้าเฝ้าถวายตัวตั้งแต่เด็ก ๆ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถพระราชทานตำแหน่งให้เป็นคุณข้าหลวงในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีพร้อมกับศึกษาในโรงเรียนจิตรลดาชั้นเดียวกับสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีจนสำเร็จการศึกษา จึงทูลลามาศึกษาวิชาเปียโน เมื่อศึกษาจบจึงเป็นครูสอนเปียโนที่โรงเรียนสยามกลการ ภักดิพรพบกับชวน หลีกภัย ครั้งแรกเมื่อปี..
ดู หม่อมราชวงศ์สดศรี ปันยารชุนและภักดิพร สุจริตกุล
รายนามคู่สมรสนายกรัฐมนตรีไทย
รายนามคู่สมรสของนายกรัฐมนตรีไท.
ดู หม่อมราชวงศ์สดศรี ปันยารชุนและรายนามคู่สมรสนายกรัฐมนตรีไทย
วรรณี คราประยูร
ณหญิงวรรณี คราประยูร (สกุลเดิม: หนุนภักดี) เป็นภริยาของพลเอก สุจินดา คราประยูร นายกรัฐมนตรีคนที่ 19 ของไทย และเป็นน้องสาวของพลเอก อิสระพงศ์ หนุนภักดี อดีตผู้บัญชาการทหารบก และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไท.
ดู หม่อมราชวงศ์สดศรี ปันยารชุนและวรรณี คราประยูร
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจาตุรนต์รัศมี กรมพระจักรพรรดิพงษ์
มเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจาตุรนค์รัศมี กรมพระจักรพรรดิพงษ์ มีพระนามเดิมว่า สมเด็จเจ้าฟ้าจาตุรนต์รัศมี เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่ 28 ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และพระองค์ที่ 3 ใน สมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี เป็นพระราชอนุชาร่วมพระครรโภทรในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวตรัสเรียกว่า "ท่านกลาง".
ดู หม่อมราชวงศ์สดศรี ปันยารชุนและสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจาตุรนต์รัศมี กรมพระจักรพรรดิพงษ์
สมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี
มเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี (พระนามเดิม:หม่อมเจ้ารำเพย ศิริวงศ์; 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2377 — 9 กันยายน พ.ศ. 2404) เป็นพระมเหสีพระองค์ที่สองในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และเป็นสมเด็จพระบรมราชชนนีพันปีหลวงในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว.
ดู หม่อมราชวงศ์สดศรี ปันยารชุนและสมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี
สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาประยูรวงศ์ (ดิศ บุนนาค)
มเด็จเจ้าพระยาบรมมหาประยูรวงศ์ (ดิศ บุนนาค) หรือ สมเด็จเจ้าพระยาองค์ใหญ่ ผู้สำเร็จราชการแผ่นดินในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นบิดาของสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) เจ้าพระยาทิพากรวงศ์มหาโกษาธิบดี (ขำ บุนนาค) เจ้าพระยาภาณุวงศ์มหาโกษาธิบดี (ท้วม บุนนาค) เจ้าพระยาสุรพันธ์พิสุทธิ์ (เทศ บุนนาค) และเจ้าพระยาภาสกรวงศ์ (พร บุนนาค).
ดู หม่อมราชวงศ์สดศรี ปันยารชุนและสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาประยูรวงศ์ (ดิศ บุนนาค)
สำนักพระราชวัง
ำนักพระราชวัง (Bureau of the Royal Household; BRH) เป็นหน่วยงานของทางราชการมีอำนาจหน้าที่กำกับดูแลและรับผิดชอบในส่วนที่เกี่ยวข้องกับพระราชวัง ตลอดจนดูแลรักษาทรัพย์สินและผลประโยชน์ในองค์ พระมหากษัตริย์ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เป็นผู้บังคับบัญชาสำนักพระราชวัง และเลขาธิการพระราชวังเป็นผู้รับผิดชอบในการบริหารราชกิจราชการ.
ดู หม่อมราชวงศ์สดศรี ปันยารชุนและสำนักพระราชวัง
หม่อมอ่อน รพีพัฒน์ ณ อยุธยา
หม่อมอ่อน รพีพัฒน์ ณ อยุธยา (พ.ศ. 2420 - 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2478) เป็นหม่อมใน พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ ธิดาในพระยาสุพรรณพิจิตร (โต) กับ หม่อมราชวงศ์สำอาง เสนีวงศ์ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ และหม่อมอ่อนมีโอรสธิดารวม 11 พระองค์ ดังนี้.
ดู หม่อมราชวงศ์สดศรี ปันยารชุนและหม่อมอ่อน รพีพัฒน์ ณ อยุธยา
หม่อมเจ้าทิตยาทรงกลด จักรพันธุ์
หม่อมเจ้าหญิงทิตยาทรงกลด จักรพันธุ์ หม่อมเจ้าคัสตาวัส จักรพันธุ์ และธิดา คือ หม่อมราชวงศ์กทลีและหม่อมราชวงศ์สดศรี หม่อมเจ้าทิตยาทรงกลด จักรพันธุ์ (21 พฤษภาคม พ.ศ.
ดู หม่อมราชวงศ์สดศรี ปันยารชุนและหม่อมเจ้าทิตยาทรงกลด จักรพันธุ์
หม่อมเจ้าคัสตาวัส จักรพันธุ์
หม่อมเจ้าคัสตาวัส จักรพันธุ์ พลโท หม่อมเจ้าคัสตาวัส จักรพันธุ์ เป็นพระโอรสในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าออศคาร์นุทิศ กรมหมื่นอนุวัตรจาตุรนต์ กับหม่อมหวน จักรพันธุ์ ณ อยุธยา ประสูติเมื่อวันที่ 30 สิงหาคม พ.ศ.
ดู หม่อมราชวงศ์สดศรี ปันยารชุนและหม่อมเจ้าคัสตาวัส จักรพันธุ์
อานันท์ ปันยารชุน
อานันท์ ปันยารชุน (เกิด 9 สิงหาคม พ.ศ. 2475 —) นายกรัฐมนตรีไทย คนที่ 18 และปลัดกระทรวงการต่างประเทศ เอกอัครราชทูตไทยประจำสหประชาชาติ ประเทศแคนาดา สหรัฐอเมริกา และประเทศเยอรมนี ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี 2 สมัย หลังรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ.
ดู หม่อมราชวงศ์สดศรี ปันยารชุนและอานันท์ ปันยารชุน
ท่านผู้หญิง
ท่านผู้หญิง เป็นคำนำหน้าใช้สำหรับสตรีผู้ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้น ปฐมจุลจอมเกล้า (ป.จ.) และ ทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ท.จ.ว.) ซึ่งนับเป็นเกียรติที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระราชทานให้แก่สตรีผู้นั้นเป็นกรณีพิเศษ มิได้ขอพระราชทานโดยรัฐบาล.
ดู หม่อมราชวงศ์สดศรี ปันยารชุนและท่านผู้หญิง
ประเทศไทย
ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.
ดู หม่อมราชวงศ์สดศรี ปันยารชุนและประเทศไทย
นายกรัฐมนตรี
นายกรัฐมนตรี เป็นตำแหน่งผู้นำของรัฐบาล เป็นตำแหน่งสูงสุด โดยมีพระมหากษัตริย์หรือประธานาธิบดีเป็นประมุขแห่งรัฐ บางประเทศยังต้องเลือกประธานาธิบดีแล้วแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีหรือบางประเทศอาจจะให้กษัตริย์เป็นผู้แต่งตั้งก็ได้ แต่ในระบบสาธารณรัฐแบบประธานาธิบดีจะไม่มีนายกรัฐมนตรี เช่น สหรัฐอเมริกา บราซิล เป็นต้น รองนายกรัฐมนตรี เป็นผู้ที่จะปฏิบัติหน้าที่แทนนายกรัฐมนตรี ในขณะที่นายกรัฐมนตรีมีเหตุทำให้ไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ หรือมีหน้าที่อื่นให้ปฏิบัติ เช่น เดินทางไปประชุมที่ต่างประเทศ ลาราชการ พ้นจากตำแหน่ง เป็นต้น.
ดู หม่อมราชวงศ์สดศรี ปันยารชุนและนายกรัฐมนตรี
เจ้าพระยาสุรพันธ์พิสุทธิ์ (เทศ บุนนาค)
้าพระยาสุรพันธ์พิสุทธิ์ มีนามเดิมว่า เทศ เกิดเมื่อ..
ดู หม่อมราชวงศ์สดศรี ปันยารชุนและเจ้าพระยาสุรพันธ์พิสุทธิ์ (เทศ บุนนาค)
เจ้าจอมมารดาตลับ ในรัชกาลที่ 5
้าจอมมารดาตลับ (สกุลเดิม: เกตุทัต; เกิด: พ.ศ. 2395 — อนิจกรรม: 9 มิถุนายน พ.ศ. 2472) เป็นธิดาคนโตของพระยาเวียงในนฤบาล (หรั่ง เกตุทัต) กับภรรยาชื่ออิ่ม ต่อมาเมื่อพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จขึ้นครองราชสมบัติ เธอจึงได้ถวายตัวเป็นพระสนมสิบสองพระกำนัลตามโบราณราชประเพณี ต่อมาได้รับพระราชทานหีบหมากทองคำ มีบรรดาศักดิ์เป็น "เจ้าจอมตลับ" และหลังจากประสูติพระราชธิดาพระองค์แรกจึงได้มีศักดิ์เป็น "เจ้าจอมมารดาตลับ" มีพระราชโอรสและพระราชธิดารวม 2 พระองค์ คือ.
ดู หม่อมราชวงศ์สดศรี ปันยารชุนและเจ้าจอมมารดาตลับ ในรัชกาลที่ 5
10 มิถุนายน
วันที่ 10 มิถุนายน เป็นวันที่ 161 ของปี (วันที่ 162 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 204 วันในปีนั้น.
ดู หม่อมราชวงศ์สดศรี ปันยารชุนและ10 มิถุนายน
2 มีนาคม
วันที่ 2 มีนาคม เป็นวันที่ 61 ของปี (วันที่ 62 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 304 วันในปีนั้น.
ดู หม่อมราชวงศ์สดศรี ปันยารชุนและ2 มีนาคม
23 กันยายน
วันที่ 23 กันยายน เป็นวันที่ 266 ของปี (วันที่ 267 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 99 วันในปีนั้น.
ดู หม่อมราชวงศ์สดศรี ปันยารชุนและ23 กันยายน
7 เมษายน
วันที่ 7 เมษายน เป็นวันที่ 97 ของปี (วันที่ 98 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 268 วันในปีนั้น.
ดู หม่อมราชวงศ์สดศรี ปันยารชุนและ7 เมษายน
หรือที่รู้จักกันในชื่อ หม่อมราชวงศ์สดศรี (จักรพันธุ์) ปันยารชุนหม่อมราชวงศ์สดศรีสุริยา จักรพันธุ์หม่อมราชวงศ์สดศรีสุริยา ปันยารชุน