โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ทางหลวงพิเศษหมายเลข 7

ดัชนี ทางหลวงพิเศษหมายเลข 7

ทางหลวงพิเศษหมายเลข 7 สายกรุงเทพมหานคร−บ้านฉาง เป็นทางหลวงพิเศษระหว่างเมืองสายแรกของประเทศไทย มีระยะทางยาว 125.865 กิโลเมตร ทางสายนี้เป็นโครงข่ายทางหลวงที่มีความสำคัญในการพัฒนาเส้นทางคมนาคมขนส่งกับพื้นที่บริเวณชายฝั่งทะเลภาคตะวันออก แก้ไขปัญหาการจราจรติดขัดคับคั่งในถนนสุขุมวิท และถนนเทพรัตน และเป็นทางเชื่อมเข้าสู่ท่าอากาศยานสากลแห่งใหม่ คือ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ถนนสายนี้ได้รับการกำหนดให้เป็นส่วนหนึ่งของทางหลวงเอเชียสาย 19 และทางหลวงเอเชียสาย 123 ปัจจุบันทางหลวงพิเศษหมายเลข 7 มีเส้นทางตั้งแต่กรุงเทพมหานครไปถึงแค่เพียงเมืองพัทยาเท่านั้น ซึ่งเส้นทางไปยังอำเภอบ้านฉางอยู่ในระหว่างการก่อสร้าง นอกจากนี้ทางหลวงพิเศษหมายเลข 7 ในปัจจุบัน ยังถูกกำหนดในเส้นทางอื่นอีก ได้แก่ ทางแยกไปบรรจบถนนเทพรัตน, ทางแยกเข้าชลบุรี, ทางแยกเข้าท่าเรือแหลมฉบัง และทางแยกเข้าพัทยา รวมถึงทางแยกไปบรรจบทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3 (บ้านอำเภอ) ซึ่งอยู่ในระหว่างการก่อสร้าง.

61 ความสัมพันธ์: กรมทางหลวงกรุงเทพมหานครภาคตะวันออก (ประเทศไทย)สวนสัตว์เปิดเขาเขียวสวนเสือศรีราชาอำเภอบางบ่ออำเภอบางละมุงอำเภอบางปะกงอำเภอบางปะอินอำเภอบางเสาธงอำเภอบ้านบึงอำเภอบ้านฉางอำเภอพานทองอำเภอพนมสารคามอำเภอพนัสนิคมอำเภอศรีราชาอำเภอสัตหีบอำเภอแกลงอำเภอเมืองชลบุรีอำเภอเมืองฉะเชิงเทราจังหวัดชลบุรีจังหวัดระยองจังหวัดสมุทรปราการจังหวัดฉะเชิงเทราถนนพระราม 9ถนนกาญจนาภิเษกถนนร่มเกล้าถนนศรีนครินทร์ถนนศุขประยูรถนนสิริโสธรถนนสุขุมวิทถนนหลวงแพ่งถนนเทพรัตนทางพิเศษศรีรัชทางหลวงพิเศษระหว่างเมืองในประเทศไทยทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 331ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 344ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 36ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 361ทางหลวงในประเทศไทยทางหลวงเอเชียสาย 123ทางหลวงเอเชียสาย 19ทางแยกต่างระดับชลบุรีทางแยกต่างระดับพัทยาทางแยกต่างระดับพานทองทางแยกต่างระดับศรีนครินทร์ทางแยกต่างระดับหนองขามทางแยกต่างระดับคีรีนครท่าอากาศยานสุวรรณภูมิท่าเรือแหลมฉบัง...แม่น้ำบางปะกงเมืองพัทยาเทศบาลนครแหลมฉบังเทศบาลเมืองชลบุรีเทศบาลเมืองมาบตาพุดเทศบาลเมืองแสนสุขเขตบางนาเขตลาดกระบังเขตสวนหลวงเขตสะพานสูงเขตประเวศ ขยายดัชนี (11 มากกว่า) »

กรมทางหลวง

กรมทางหลวง เป็นหน่วยงานสังกัดกระทรวงคมนาคม มีหน้าที่ดำเนินการก่อสร้าง ควบคุม บูรณะ และบำรุงรักษาทางหลวง ทางหลวงพิเศษ ทางหลวงแผ่นดิน และทางหลวงสัมปทาน เพื่ออำนวยความสะดวกรวดเร็วและปลอดภัยในทางหลวงทั่วประเทศ เอื้อประโยชน์ในการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม การปกครอง ความมั่นคง และการป้องกันประเท.

ใหม่!!: ทางหลวงพิเศษหมายเลข 7และกรมทางหลวง · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.

ใหม่!!: ทางหลวงพิเศษหมายเลข 7และกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

ภาคตะวันออก (ประเทศไทย)

ตะวันออก เป็นภูมิภาคย่อยทางตะวันออกของประเทศไทย เดิมถือเป็นส่วนหนึ่งของภาคกลาง อยู่ติดชายฝั่งอ่าวไทยด้านตะวันออก นับเป็นอีกภูมิภาคหนึ่งที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจ เนื่องจากเป็นแหล่งอุตสาหกรรม ผลไม้ และอัญมณีของประเท.

ใหม่!!: ทางหลวงพิเศษหมายเลข 7และภาคตะวันออก (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

สวนสัตว์เปิดเขาเขียว

รูปสลักสิงโตหินภายในสวนสัตว์ สวนสัตว์เปิดเขาเขียว ตั้งอยู่ที่ ตำบลบางพระ อำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี เป็นสวนสัตว์เปิดขนาดใหญ่ในจังหวัดชลบุรี สวนสัตว์เป็นบริการสาธารณะ ซึ่งรัฐได้ดำเนินการเพื่อให้บริการแก่สังคมและประชาชนด้านต่าง.

ใหม่!!: ทางหลวงพิเศษหมายเลข 7และสวนสัตว์เปิดเขาเขียว · ดูเพิ่มเติม »

สวนเสือศรีราชา

วนเสือศรีราชา เป็นสวนสัตว์เอกชน อยู่ที่อำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี โดยมีเสือเป็นหลักและมีฟาร์มจระเข้เป็นส่วนเสริม.

ใหม่!!: ทางหลวงพิเศษหมายเลข 7และสวนเสือศรีราชา · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอบางบ่อ

งบ่อ เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดสมุทรปราการ ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ ใช้ภาษาไทยภาคกลางเป็นภาษาท้องถิ่น.

ใหม่!!: ทางหลวงพิเศษหมายเลข 7และอำเภอบางบ่อ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอบางละมุง

อำเภอบางละมุง คืออำเภอหนึ่งในจังหวัดชลบุรี มีพื้นที่รวมประมาณ 727 ตารางกิโลเมตร หรือ 469,021 ไร่ แบ่งเขตการปกครองออกเป็น 8 ตำบล 60 หมู่บ้าน ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ จะมีศาสนาอื่นบ้างเป็นกลุ่มย่อ.

ใหม่!!: ทางหลวงพิเศษหมายเลข 7และอำเภอบางละมุง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอบางปะกง

อำเภอบางปะกง คืออำเภอหนึ่งในจังหวัดฉะเชิงเทรา ถือเป็นประตูเข้าเขตภาคตะวันออก.

ใหม่!!: ทางหลวงพิเศษหมายเลข 7และอำเภอบางปะกง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอบางปะอิน

งปะอิน เป็นอำเภอหนึ่งใน 16 อำเภอของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา เดิมชื่อ อำเภอพระราชวัง ต่อมาในปี พ.ศ. 2460 ได้เปลี่ยนชื่อมาเป็นชื่ออำเภอดังเช่นปัจจุบัน ซึ่งเป็นอำเภอที่มีประชากรมากเป็นอันดับ 2 ของจังหวัดพระนครศรีอ.

ใหม่!!: ทางหลวงพิเศษหมายเลข 7และอำเภอบางปะอิน · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอบางเสาธง

งเสาธง เป็นอำเภอใหม่ล่าสุดของจังหวัดสมุทรปราการ แยกพื้นที่การปกครองบางส่วนจากอำเภอบางพลี.

ใหม่!!: ทางหลวงพิเศษหมายเลข 7และอำเภอบางเสาธง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอบ้านบึง

อำเภอบ้านบึง ตั้งอยู่ในจังหวัดชลบุรี.

ใหม่!!: ทางหลวงพิเศษหมายเลข 7และอำเภอบ้านบึง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอบ้านฉาง

อำเภอบ้านฉาง เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดระยอง กล่าวกันว่าที่มาของชื่ออำเภอนี้มาจากคนไทยเชื้อสายจีนพูดคำว่า "บ้านฉัน" แต่ออกเสียงไม่ชัดเจน.

ใหม่!!: ทางหลวงพิเศษหมายเลข 7และอำเภอบ้านฉาง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอพานทอง

อำเภอพานทอง ตั้งอยู่ในจังหวัดชลบุรี.

ใหม่!!: ทางหลวงพิเศษหมายเลข 7และอำเภอพานทอง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอพนมสารคาม

อำเภอพนมสารคาม เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดฉะเชิงเทร.

ใหม่!!: ทางหลวงพิเศษหมายเลข 7และอำเภอพนมสารคาม · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอพนัสนิคม

อำเภอพนัสนิคม ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของจังหวัดชลบุรี พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบลุ่ม ประชากรส่วนใหญ่นับถือพุทธศาสน.

ใหม่!!: ทางหลวงพิเศษหมายเลข 7และอำเภอพนัสนิคม · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอศรีราชา

อำเภอศรีราชา เป็นอำเภอขนาดใหญ่แห่งหนึ่งในจังหวัดชลบุรี.

ใหม่!!: ทางหลวงพิเศษหมายเลข 7และอำเภอศรีราชา · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอสัตหีบ

อำเภอสัตหีบ เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดชลบุรี อยู่ห่างจากตัวจังหวัดชลบุรีประมาณ 85 กิโลเมตร ความสำคัญของสัตหีบคือเป็นเมืองแห่งฐานทัพเรือและเป็นฐานทัพเรือที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไท.

ใหม่!!: ทางหลวงพิเศษหมายเลข 7และอำเภอสัตหีบ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอแกลง

อำเภอแกลง เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดระยอง เดิมมีฐานะเป็นหัวเมืองจัตวา ตั้งอยู่บริเวณแหลมยาง เปลี่ยนฐานะเป็นอำเภอเมื่อปี พ.ศ. 2451.

ใหม่!!: ทางหลวงพิเศษหมายเลข 7และอำเภอแกลง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเมืองชลบุรี

อำเภอเมืองชลบุรี เป็นอำเภอศูนย์กลางการปกครองและการบริหารราชการของจังหวัดชลบุรี.

ใหม่!!: ทางหลวงพิเศษหมายเลข 7และอำเภอเมืองชลบุรี · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเมืองฉะเชิงเทรา

อำเภอเมืองฉะเชิงเทรา เป็นอำเภอศูนย์กลางการปกครองและการบริหารราชการของจังหวัดฉะเชิงเทร.

ใหม่!!: ทางหลวงพิเศษหมายเลข 7และอำเภอเมืองฉะเชิงเทรา · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดชลบุรี

ังหวัดชลบุรี เป็นจังหวัดที่ติดกับอ่าวไทยจังหวัดหนึ่งในภาคตะวันออกของประเทศไทย มีสถานที่ท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงหลายแห่งตั้งอยู่ นอกจากด้านอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวแล้วยังเป็นจังหวัดที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจสำคัญของภาคตะวันออกอย่างมาก นอกจากนั้นยังเป็นทั้งในด้านพาณิชยกรรมและอุตสาหกรรมต่าง ๆ ของประเทศ ในอดีตจังหวัดชลบุรีนั้นเคยเป็นแหล่งที่ตั้งของเมืองท่าที่มีความสำคัญมาก แม้แต่ในปัจจุบันนี้ก็ยังคงเป็นที่ตั้งของท่าเรือที่มีความสำคัญของประเทศรองจากท่าเรือกรุงเทพ นั่นก็คือท่าเรือแหลมฉบัง เนื่องจากมีทำเลที่ตั้งเหมาะสม จังหวัดชลบุรีนั้นมีอาณาเขตติดกับจังหวัดฉะเชิงเทรา จังหวัดระยอง และจังหวัดจันทบุรี.

ใหม่!!: ทางหลวงพิเศษหมายเลข 7และจังหวัดชลบุรี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดระยอง

ระยอง เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคตะวันออกของประเทศไทย เป็นจังหวัดที่มีรายได้ประชากรต่อหัวสูงที่สุดในประเทศ และผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดอยู่ในอันดับ 2 ของประเทศไทย เป็นเมืองท่องเที่ยวที่มีแหล่งท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงมากมาย และเป็นเมืองที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจเป็นอย่างมาก ทั้งทางด้านอุตสาหกรรม การท่องเที่ยว และการเกษตรกรรม คำว่าระยองเพี้ยนมาจาก "ราย็อง" เป็นภาษาชองอาจมีความหมายสองอย่าง.

ใหม่!!: ทางหลวงพิเศษหมายเลข 7และจังหวัดระยอง · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสมุทรปราการ

ังหวัดสมุทรปราการ เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย และยังเป็นจังหวัดในเขตปริมณฑลของกรุงเทพมหานคร จัดตั้งขึ้นครั้งล่าสุดโดย พระราชบัญญัติจัดตั้งจังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดนนทบุรี จังหวัดสมุทรสาคร และจังหวัดนครนายก พุทธศักราช 2489 ซึ่งมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2489.

ใหม่!!: ทางหลวงพิเศษหมายเลข 7และจังหวัดสมุทรปราการ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดฉะเชิงเทรา

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ทางหลวงพิเศษหมายเลข 7และจังหวัดฉะเชิงเทรา · ดูเพิ่มเติม »

ถนนพระราม 9

นนพระราม 9 ในเขตสวนหลวง ถนนพระราม 9 (Thanon Rama IX) เป็นถนนสายหนึ่งในกรุงเทพมหานคร มีความยาวประมาณ 9 กิโลเมตร มีจุดเริ่มต้นที่ทางแยกพระราม 9 ซึ่งเป็นจุดตัดกับถนนรัชดาภิเษกและถนนอโศก-ดินแดงในพื้นที่เขตดินแดง มุ่งหน้าไปทางตะวันออก เข้าพื้นที่เขตห้วยขวาง ผ่านแยกถนนวัฒนธรรม ผ่านจุดตัดกับถนนประดิษฐ์มนูธรรม และตัดกับถนนรามคำแหงในพื้นที่เขตบางกะปิ ไปสิ้นสุดที่ทางแยกต่างระดับศรีนครินทร์ซึ่งเป็นจุดตัดกับถนนศรีนครินทร์ในพื้นที่เขตสวนหลวง โดยมีถนนมอเตอร์เวย์เป็นเส้นทางต่อเนื่อง ซึ่งถนนพระราม 9 ช่วงตั้งแต่ทางแยกรามคำแหงถึงทางแยกต่างระดับถนนศรีนครินทร์ เคยมีฐานะเป็นทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 343 ปัจจุบันอยู่ในความรับผิดชอบของกรุงเทพมหานคร เหตุที่ถนนพระราม 9 ไม่มีคำว่า "ที่" ต่อท้ายนั้น ปรากฏชัดเจนจากพระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชที่พระราชทานแก่ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครและปลัดกรุงเทพมหานครเมื่อวันที่ 19 กันยายน..

ใหม่!!: ทางหลวงพิเศษหมายเลข 7และถนนพระราม 9 · ดูเพิ่มเติม »

ถนนกาญจนาภิเษก

นนกาญจนาภิเษก (Thanon Kanchanaphisek) หรือ ถนนวงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานคร ซึ่งมีระยะทางส่วนใหญ่เป็น ทางหลวงพิเศษหมายเลข 9 เป็นถนนสายสำคัญที่มีเส้นทางเชื่อมต่อกันเป็นวงแหวนล้อมรอบตัวเมืองกรุงเทพมหานคร จังหวัดนนทบุรี ปทุมธานี และสมุทรปราการ รวมถึงผ่านจังหวัดพระนครศรีอยุธยาด้วย มีระยะทางตลอดทั้งสายรวม 168 กิโลเมตร ถนนสายนี้สร้างขึ้นเพื่อแก้ปัญหาการจราจรที่ติดขัดในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลที่มีปริมาณการจราจรและการขนส่งเพิ่มขึ้น อันเป็นผลจากความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ และเป็นทางเลี่ยงเมืองกรุงเทพมหานครที่เป็นตัวเชื่อมทางสายหลักเข้าไปสู่ทุกภาคของประเทศ เริ่มก่อสร้างครั้งแรกเมื่อปี..

ใหม่!!: ทางหลวงพิเศษหมายเลข 7และถนนกาญจนาภิเษก · ดูเพิ่มเติม »

ถนนร่มเกล้า

นนร่มเกล้า (Thanon Rom Klao) หรือ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3119 สายมีนบุรี–ลาดกระบัง เดิมมีชื่อว่า "ถนนมีนบุรี–ลาดกระบัง" เป็นถนนในกรุงเทพมหานคร ระยะทาง 11.003 กิโลเมตร มีจุดเริ่มต้นจากถนนสุวินทวงศ์ในท้องที่แขวงมีนบุรี เขตมีนบุรี กรุงเทพมหานคร ไปบรรจบกับถนนลาดกระบัง ในท้องที่แขวงลาดกระบัง เขตลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร ซึ่งจุดสิ้นสุดของถนนร่มเกล้าในท้องที่เขตลาดกระบังต่อจากนี้ไปจะเป็นทางยกระดับเข้าท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ แต่เดิมถนนเส้นนี้มีเพียง 2 ช่องทางจราจร แต่ในปัจจุบันเป็นถนนแบบ 6 ช่องทางจราจร ยกเว้นช่วงสะพานข้ามคลองแสนแสบและสะพานข้ามทางรถไฟสายตะวันออกจะมีขนาดเพียง 4 ช่องทางจราจร โดยถนนร่มเกล้าฟากตะวันออกในพื้นที่เขตมีนบุรี ตั้งแต่สะพานข้ามคลองแสนแสบถึงเส้นแบ่งเขตมีนบุรีกับเขตลาดกระบัง เป็นเส้นแบ่งแขวงระหว่างแขวงมีนบุรีกับแขวงแสนแ.

ใหม่!!: ทางหลวงพิเศษหมายเลข 7และถนนร่มเกล้า · ดูเพิ่มเติม »

ถนนศรีนครินทร์

นนศรีนครินทร์ (Thanon Srinagarindra) เป็นถนนที่ตั้งชื่อขึ้นเพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี มีจุดเริ่มต้นจากถนนลาดพร้าวที่เขตบางกะปิ กรุงเทพมหานคร ไปบรรจบกับถนนสุขุมวิทที่อำเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ ลักษณะถนนแบบ 4-8 ช่องจราจร ระยะทางทั้งหมด 20.181 กิโลเมตร โดยมีระยะทางอยู่ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 12.5 กิโลเมตร ในพื้นที่จังหวัดสมุทรปราการ 7.681 กิโลเมตร ตลอดแนวถนนไปจนถึงทางแยกศรีเทพาเป็นเส้นทางส่วนใหญ่ของรถไฟฟ้ามหานคร สายสีเหลือง ช่วงลาดพร้าว-สำโรง ซึ่งตั้งอยู่บริเวณเกาะกลางถนน ถนนศรีนครินทร์ช่วงตั้งแต่กิโลเมตรที่ 0 (ทางแยกบางกะปิ) จนถึงกิโลเมตรที่ 10 มีหน่วยงานที่รับผิดชอบเส้นทางคือ กรุงเทพมหานคร และช่วงตั้งแต่กิโลเมตรที่ 10 (ทางแยกศรีอุดม) ไปจนถึงกิโลเมตรที่ 20+181 (ทางแยกการไฟฟ้า) มีหน่วยงานที่รับผิดชอบเส้นทางคือ แขวงทางหลวงสมุทรปราการ กรมทางหลวง ช่วงที่สองนี้มีฐานะเป็น ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3344 สายอุดมสุข–สมุทรปราการ.

ใหม่!!: ทางหลวงพิเศษหมายเลข 7และถนนศรีนครินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

ถนนศุขประยูร

นนศุขประยูร หรือ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 315 สายฉะเชิงเทรา - ชลบุรี เป็นถนนแอสฟัลต์คอนกรีต เริ่มจากทางแยกคอมเพล็กซ์ (ทางแยกกองพลทหารราบที่ 11) อำเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ เข้าเขตอำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี เลี้ยวขวาที่ทางแยกพนัสนิคม ไปทางทิศตะวันตก เข้าสู่พื้นที่อำเภอพานทองและอำเภอเมืองชลบุรี ผ่านทางหลวงพิเศษหมายเลข 7 และถนนเลี่ยงเมืองชลบุรี (สิ้นสุดทางหลวงแผ่นดินบริเวณนี้) และไปบรรจบถนนสุขุมวิทที่ทางแยกเฉลิมไทย ช่วงจากทางแยกคอมเพล็กซ์ถึงอำเภอพนัสนิคมมีขนาด 2 ช่องจราจร ระยะทาง 25 กิโลเมตร และช่วงจากอำเภอพนัสนิคมถึงปลายทางมีขนาด 4 ช่องจราจร ระยะทาง 22 กิโลเมตร รวมทั้งหมด 47 กิโลเมตร ช่วงที่เป็นทางหลวงแผ่นดินอยู่ในความดูแลของแขวงการทางฉะเชิงเทราและแขวงการทางชลบุรี สำนักทางหลวงที่ 12 (ชลบุรี) ถนนศุขประยูรเดิมมีชื่อเรียกว่า "ทางหลวงแผ่นดินสายฉะเชิงเทรา พนัสนิคม-ชลบุรี" - ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 67 ตอน 67 ง, 12 ธันวาคม..

ใหม่!!: ทางหลวงพิเศษหมายเลข 7และถนนศุขประยูร · ดูเพิ่มเติม »

ถนนสิริโสธร

นนสิริโสธร (Thanon Siri Sothon) หรือ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 314 สายบางปะกง–ฉะเชิงเทรา มีระยะทาง 22.3 กิโลเมตร จำนวนช่องทางจราจร 4-6 ช่องทางจราจร และในช่วงทางแยกเข้าเมืองฉะเชิงเทราถึงทางแยกต่างระดับโสธราเวชจะเป็นถนนขนาด 8 ช่องจราจร ซึ่งมีทางคู่ขนาน โดยเริ่มต้นจากปลายถนนสุวินทวงศ์และถนนมหาจักรพรรดิในท้องที่อำเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา จากนั้นจึงผ่านท้องที่อำเภอบ้านโพธิ์ และไปสิ้นสุดที่ถนนเทพรัตนและถนนสุขุมวิท ในท้องที่อำเภอบางปะกง มีทางแยกสำคัญดังนี้.

ใหม่!!: ทางหลวงพิเศษหมายเลข 7และถนนสิริโสธร · ดูเพิ่มเติม »

ถนนสุขุมวิท

นนสุขุมวิท (Thanon Sukhumvit) ซึ่งมีระยะทางส่วนใหญ่เป็น ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3 สายบางนา–หาดเล็ก เป็นหนึ่งในทางหลวงแผ่นดินสายประธานทั้งสี่ของประเทศไทย จุดเริ่มต้นเชื่อมต่อจากถนนเพลินจิต เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร มีเส้นทางไปตามชายทะเลภาคตะวันออก และสิ้นสุดที่อำเภอคลองใหญ่ จังหวัดตราด ติดต่อกับชายแดนจังหวัดเกาะกง ประเทศกัมพูชา รวมระยะทางยาวทั้งสิ้นประมาณ 488 กิโลเมตร.

ใหม่!!: ทางหลวงพิเศษหมายเลข 7และถนนสุขุมวิท · ดูเพิ่มเติม »

ถนนหลวงแพ่ง

ถนนหลวงแพ่ง (Thanon Luang Phaeng) เป็นถนนสายหนึ่งในท้องที่เขตลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร มีแนวสายทางต่อเนื่องจากถนนลาดกระบัง ซึ่งเริ่มต้นที่สะพานข้ามคลองหัวตะเข้ในท้องที่แขวงทับยาว เขตลาดกระบัง ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ตัดกับถนนประชาพัฒนาและถนนมอเตอร์เวย์ จากนั้นจึงข้ามคลองทับยาวเข้าท้องที่แขวงขุมทอง เขตลาดกระบัง ตัดกับถนนขุมทอง-ลำต้อยติ่ง และไปสิ้นสุดที่สะพานข้ามคลองกาหลง (สุดเขตกรุงเทพมหานคร) ซึ่งต่อจากนี้ไปก็จะเป็นถนนเทพราช-ลาดกระบัง ในท้องที่ตำบลเปร็ง อำเภอบางบ่อ จังหวัดสมุทรปราการ หลวงแพ่ง หลวงแพ่ง.

ใหม่!!: ทางหลวงพิเศษหมายเลข 7และถนนหลวงแพ่ง · ดูเพิ่มเติม »

ถนนเทพรัตน

นนเทพรัตน (Thanon Debaratana) หรือ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 34 สายบางนา–หนองไม้แดง เป็นทางหลวงแผ่นดินแนวตะวันตก–ตะวันออก แยกออกมาจากถนนสุขุมวิท ในเขตบางนา กรุงเทพมหานคร แล้วไปบรรจบถนนสุขุมวิทที่ทางแยกต่างระดับหนองไม้แดง ในท้องที่อำเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี.

ใหม่!!: ทางหลวงพิเศษหมายเลข 7และถนนเทพรัตน · ดูเพิ่มเติม »

ทางพิเศษศรีรัช

ทางพิเศษศรีรัช หรือ ระบบทางด่วนขั้นที่ 2 (ส่วนในเมือง) เป็นทางพิเศษในกรุงเทพมหานคร ก่อสร้างและเปิดให้บริการเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 2 กันยายน..

ใหม่!!: ทางหลวงพิเศษหมายเลข 7และทางพิเศษศรีรัช · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงพิเศษระหว่างเมืองในประเทศไทย

แผนแม่บทระบบทางหลวงพิเศษระหว่างเมืองในประเทศไทย ทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง (Motorway) เป็นทางด่วนประเภทหนึ่งที่เก็บค่าผ่านทาง มีการควบคุมจุดเข้าออกของรถยนต์ ในประเทศไทยกำกับดูแลโดยกรมทางหลวง มีจุดประสงค์เพื่อเชื่อมโยงเส้นทางระหว่างเมืองเป็นหลัก ปัจจุบันประเทศไทยได้มีโครงข่ายเส้นทางในแผนแม่บทระบบทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง โดยได้รับอนุมัติจากคณะรัฐมนตรีพลเอก ชวลิต ยงใจยุทธ เมื่อวันที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2540 กรมทางหลวงได้พิจารณากำหนดระบบหมายเลขทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง ให้เป็นระบบหมายเลขทางหลวงใหม่ โดยมีหลักเกณฑ์ในการจัดทำระบบหมายเลขทางหลวงเป็น 2 ประเภท ดังนี้.

ใหม่!!: ทางหลวงพิเศษหมายเลข 7และทางหลวงพิเศษระหว่างเมืองในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 331

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 331 สายสัตหีบ–เขาหินซ้อน มีชื่อเรียกเป็นหลักว่า ถนนสายยุทธศาสตร์ โดยมีชื่อเรียกอื่นแตกต่างกันไป เช่น ถนนอิงแลนด์ เป็นต้น เส้นทางเริ่มจากถนนสุขุมวิท ที่ตำบลพลูตาหลวง อำเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี สิ้นสุดที่ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 304 (ฉะเชิงเทรา-กบินทร์บุรี) ที่ ตำบลเขาหินซ้อน อำเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา รวมระยะทาง 156.397 กิโลเมตร.

ใหม่!!: ทางหลวงพิเศษหมายเลข 7และทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 331 · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 344

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 344 สายชลบุรี–แกลง เป็นถนนที่ก่อสร้างขึ้นเพื่อย่นระยะทางจากจังหวัดชลบุรีไปสู่จังหวัดจันทบุรีและจังหวัดตราด โดยไม่ผ่านตัวเมืองระยอง เป็นถนนผิวจราจรแอสฟัลต์คอนกรีต ขนาด 4 ช่องจราจรตลอดสาย เริ่มต้นจากถนนสุขุมวิท อำเภอเมืองชลบุรี ผ่านถนนเลี่ยงเมืองชลบุรี ถนนกรุงเทพฯ-ชลบุรี ทางแยกบ้านบึงพัฒนา (แยกเอ็ม 16) อำเภอบ้านบึง ทางแยกหนองปรือ และอำเภอหนองใหญ่ เข้าเขตจังหวัดระยอง ผ่านอำเภอวังจันทร์ สิ้นสุดที่ถนนสุขุมวิทบริเวณทางแยกภิบาลพัฒนา (แยกแกลง) อำเภอแกลง จังหวัดระยอง รวมระยะทาง 102.181 กิโลเมตร ทางหลวงสายนี้เป็นส่วนต่อขยายจากทางหลวงสายชลบุรี–บ้านบึงที่มีอยู่เดิม สันนิษฐานว่าเริ่มต้นขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2521 อันเนื่องมาจากการออกพระราชกฤษฎีกากำหนดแนวทางหลวงที่จะสร้างทางหลวงสายบ้านบึง–แกลง ในสมัยรัฐบาลพลเอก เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ นายกรัฐมนตรี ซึ่งต่อมาในประกาศกระทรวงคมนาคม กำหนดให้ทางหลวงจังหวัดสายนี้เป็นทางหลวงที่มีความจำเป็นต้องสร้างโดยเร่งด่วน ปัจจุบันทางหลวงเส้นนี้เป็นถนนสายหลักสายหนึ่งที่ใช้เพื่อขนส่งผลผลิตทางการเกษตรทางภาคตะวันออก เนื่องจากอยู่นอกเขตนิคมอุตสาหกรรม.

ใหม่!!: ทางหลวงพิเศษหมายเลข 7และทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 344 · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 36

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 36 สายกะทิงลาย–ปลวกเกตุ หรือที่เรียกกันทั่วไป ถนนบายพาสพัทยา–ระยอง เป็นถนนแอสฟัลต์คอนกรีตขนาด 4 ช่องจราจรไป-กลับ ถนนสายนี้ได้รับการกำหนดให้เป็นส่วนหนึ่งของทางหลวงเอเชียสาย 123.

ใหม่!!: ทางหลวงพิเศษหมายเลข 7และทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 36 · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 361

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 361 หรือ ถนนเลี่ยงเมืองชลบุรี เป็นถนนคอนกรีตเสริมเหล็กขนาดพิเศษ 12 ช่องจราจร แบ่งออกเป็นช่องทางหลัก (Main Road) 4 ช่องจราจร และช่องทางขนาน (Frontage Road) 2 ช่องจราจร แยกจากทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3 (ถนนสุขุมวิท) และ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 34 ที่ทางแยกต่างระดับหนองไม้แดง ผ่านทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 315 และทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 344 หลังจากทางแยกต่างระดับแยกเข้าบางแสน ช่องจราจรเหลือ 4 ช่องจราจรไป-กลับ จนถึงทางแยกเข้าชลบุรี (มอเตอร์เวย์) ระยะทางรวม 13 กิโลเมตร เดิมทางเลี่ยงเมืองชลบุรี เป็นส่วนหนึ่งของทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 36 (ชลบุรี-พัทยา) ที่ชาวบ้านนิยมเรียกกันว่า ถนนบายพาส ก่อสร้างขึ้นเพื่อแบ่งเบาภาระการจราจรบนทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3 (ถนนสุขุมวิท) ภายหลังจากที่มีการก่อสร้างทางหลวงพิเศษหมายเลข 7 (มอเตอร์เวย์) จึงได้มีการเปลี่ยนแปลงหมายเลขเส้นทาง โดยกำหนดให้เป็นส่วนหนึ่งของทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3 และทำการก่อสร้างช่วงตั้งแต่ทางแยกต่างระดับชลบุรี ถึงทางแยกต่างระดับเลี่ยงเมืองบางแสนเป็น 12 ช่องจราจร ก่อนที่จะกำหนดให้เป็นทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 361 ในเวลาต่อมา ส่วนช่วงทางแยกต่างระดับบางแสนจนถึงทางแยกต่างระดับคีรีนคร ก็ถูกกำหนดให้เป็นทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 361 เช่นกัน และช่วงทางแยกต่างระดับคีรีนครจนถึงแยกพัทยากลาง ได้ถูกกำหนดให้เป็นทางหลวงพิเศษหมายเลข 7 เนื่องจากเป็นเส้นทางของโครงการทางหลวงพิเศษหมายเลข 7 ช่วงชลบุรี-พัท.

ใหม่!!: ทางหลวงพิเศษหมายเลข 7และทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 361 · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงในประเทศไทย

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 32 ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ทางหลวงในประเทศไทย เป็นเครือข่ายของทางหลวงที่อยู่ในประเทศไทย โดยปกติมักหมายถึงทางหลวงแผ่นดินซึ่งอยู่ในความควบคุมของกรมทางหลวง กระทรวงคมนาคม ทางหลวงในประเทศไทย แบ่งออกเป็น 5 ประเภท ตามพระราชบัญญัติทางหลวง พ.ศ. 2535 แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติทางหลวง (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2549 ได้แก่ ทางหลวงพิเศษ ทางหลวงแผ่นดิน ทางหลวงชนบท ทางหลวงท้องถิ่น และทางหลวงสัมปทาน ทั้งนี้ กรมทางหลวงรับผิดชอบดูแล 3 ประเภท คือ ทางหลวงพิเศษ ทางหลวงแผ่นดิน และทางหลวงสัมปทาน นอกจากทางหลวง 5 ประเภทดังกล่าว ยังมี ทางพิเศษ ที่รับผิดชอบในการก่อสร้างและบูรณะทางด่วนโดย การทางพิเศษแห่งประเทศไทย และการดำเนินการก่อสร้างทางเฉพาะกิจของหน่วยงานต่าง.

ใหม่!!: ทางหลวงพิเศษหมายเลข 7และทางหลวงในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงเอเชียสาย 123

ทางหลวงเอเชียสาย 123 (AH123) ถนนเครือข่ายทางหลวงสายเอเชีย ประเภทสายรอง เริ่มต้นจากพรมแดนพม่าที่ช่องทางผ่านแดนบ้านพุน้ำร้อน ตำบลบ้านเก่า อำเภอเมืองกาญจนบุรี จังหวัดกาญจนบุรี ไปตาม ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3229 ข้ามสะพานแม่น้ำแควน้อย ข้ามทางรถไฟสายกาญจนบุรี-น้ำตกไทรโยคน้อย จนถึงแยกเข้าบ้านเก่า ตำบลลาดหญ้า อำเภอเมืองกาญจนบุรี จังหวัดกาญจนบุรี แยกขวาไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 323 (ถนนแสงชูโต) ใช้ถนนเลี่ยงเมืองกาญจนบุรี ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 367 แล้วแยกซ้ายไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 323 อีกครั้ง จนถึงสามแยกกระจับ ตำบลหนองอ้อ อำเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี แยกซ้ายไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม) ผ่านจังหวัดนครปฐม ถึงทางแยกต่างระดับนครชัยศรี แยกซ้ายไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 338 (ถนนบรมราชชนนี) ถึงกรุงเทพมหานคร จากนั้นเริ่มต้นที่ทางหลวงพิเศษหมายเลข 7 (ถนนกรุงเททพฯ ชลบุรี หรือมอเตอร์เวย์) ถึงทางแยกต่างระดับโป่ง ตำบลโป่ง อำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี แยกซ้ายไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 36 ถึงแยกปลวกเกตุ ตำบลเชิงเนิน อำเภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง แยกซ้ายไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3 (ถนนสุขุมวิท) ผ่านจังหวัดจันทบุรี และจังหวัดตราด สิ้นสุดที่พรมแดนกัมพูชา ด่านพรมแดนบ้านหาดเล็ก ตำบลหาดเล็ก อำเภอคลองใหญ่ จังหวัดตราด ระยะทาง 643 กิโลเมตร.

ใหม่!!: ทางหลวงพิเศษหมายเลข 7และทางหลวงเอเชียสาย 123 · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงเอเชียสาย 19

ทางหลวงเอเชียสาย 19 (AH19) ถนนเครือข่ายทางหลวงสายเอเชีย ประเภทสายรอง เริ่มต้นจากทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2 (ถนนมิตรภาพ) ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของทางหลวงเอเชียสาย 12 (AH12) บริเวณทางแยกต่างระดับนครราชสีมา (สามแยกปักธงชัย) ไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 304 ถึงอำเภอกบินทร์บุรี จังหวัดปราจีนบุรี จากนั้นตรงไปถึงแยกพนมสารคาม อำเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา ไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 331 แยกขวาที่ทางแยกต่างระดับมาบเอียง ถึงทางแยกต่างระดับหนองขาม ของทางหลวงพิเศษหมายเลข 7 ตอนชลบุรี-พัทยา อำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี เข้าสู่ทางหลวงพิเศษหมายเลข 7 สิ้นสุดที่ทางแยกต่างระดับศรีนครินทร์ 19 หมวดหมู่:ถนนในประเทศไทย.

ใหม่!!: ทางหลวงพิเศษหมายเลข 7และทางหลวงเอเชียสาย 19 · ดูเพิ่มเติม »

ทางแยกต่างระดับชลบุรี

ทางแยกต่างระดับชลบุรี (Chon Buri Interchange) เป็นทางแยกต่างระดับแห่งหนึ่งในจังหวัดชลบุรี เป็นจุดตัดระหว่างทางหลวงพิเศษหมายเลข 7 กับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 344 หมวดหมู่:ทางแยกต่างระดับในจังหวัดชลบุรี.

ใหม่!!: ทางหลวงพิเศษหมายเลข 7และทางแยกต่างระดับชลบุรี · ดูเพิ่มเติม »

ทางแยกต่างระดับพัทยา

ทางแยกต่างระดับพัทยา (Pattaya Interchange) หรือ ทางแยกต่างระดับโป่ง (Pong Interchange) เป็นทางแยกต่างระดับแห่งหนึ่งในอำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี เป็นจุดตัดระหว่างทางหลวงพิเศษหมายเลข 7 กับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 36 เดิมเป็นสามแยกก่อนที่จะมีการก่อสร้างทางหลวงพิเศษช่วงโป่ง-พัทยากลาง หลังจากนั้นจึงได้กลายเป็นสี่แยกเมื่อทางหลวงพิเศษหมายเลข 7 ช่วงโป่ง-พัทยากลางสร้างเสร็จแล้ว.

ใหม่!!: ทางหลวงพิเศษหมายเลข 7และทางแยกต่างระดับพัทยา · ดูเพิ่มเติม »

ทางแยกต่างระดับพานทอง

ทางแยกต่างระดับพานทอง (Phan Thong Interchange) เป็นทางแยกต่างระดับแห่งหนึ่งในจังหวัดชลบุรี เป็นจุดตัดระหว่างทางหลวงพิเศษหมายเลข 7 กับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 315 พานทอง.

ใหม่!!: ทางหลวงพิเศษหมายเลข 7และทางแยกต่างระดับพานทอง · ดูเพิ่มเติม »

ทางแยกต่างระดับศรีนครินทร์

ทางแยกต่างระดับศรีนครินทร์ (Srinagarindra Interchange) เป็นทางแยกต่างระดับแห่งหนึ่งในพื้นที่เขตสวนหลวง กรุงเทพมหานคร เป็นจุดตัดระหว่างถนนศรีนครินทร์ ถนนพระราม 9 และทางหลวงพิเศษหมายเลข 7 และนอกจากนี้ ทางแยกต่างระดับศรีนครินทร์เป็นทางแยกต่างระดับรูปดอกจิก (Cloverleaf) อีกแห่งหนึ่งในประเทศไท.

ใหม่!!: ทางหลวงพิเศษหมายเลข 7และทางแยกต่างระดับศรีนครินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

ทางแยกต่างระดับหนองขาม

ทางแยกต่างระดับหนองขาม (Nong kham Interchange) เป็นทางแยกต่างระดับแห่งหนึ่งในจังหวัดชลบุรี เป็นจุดตัดระหว่างทางหลวงพิเศษหมายเลข 7 กับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 331.

ใหม่!!: ทางหลวงพิเศษหมายเลข 7และทางแยกต่างระดับหนองขาม · ดูเพิ่มเติม »

ทางแยกต่างระดับคีรีนคร

ทางแยกต่างระดับคีรีนคร (Khiri Nakhon Interchange) เป็นทางแยกต่างระดับแห่งหนึ่งในจังหวัดชลบุรี เป็นจุดตัดระหว่างทางหลวงพิเศษหมายเลข 7 กับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 361.

ใหม่!!: ทางหลวงพิเศษหมายเลข 7และทางแยกต่างระดับคีรีนคร · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ

ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ เป็น สนามบิน ตั้งอยู่ที่ ถนนเทพรัตน และ ทางพิเศษบูรพาวิถี ในเขตตำบลหนองปรือและตำบลราชาเทวะ อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ ห่างจากใจกลางเมือง กรุงเทพมหานคร ประมาณ 25 กิโลเมตร เปิดให้บริการเชิงพาณิชย์เต็มรูปแบบอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2549 รัฐบาลได้กำหนดให้ท่าอากาศยานนานาชาติสุวรรณภูมิเป็นท่าอากาศยานหลักของ ประเทศไทย แทน ท่าอากาศยานดอนเมือง และตั้งเป้าให้เป็นศูนย์กลางการบินใน ทวีปเอเชีย อีกทั้งการเน้นพัฒนาคุณภาพการให้บริการของท่าอากาศยานให้ได้รับการจัดอันดับ 1 ใน 10 ท่าอากาศยานที่มีคุณภาพการบริการดีที่สุดในโลกในปี พ.ศ. 2553 ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิมีหอควบคุมที่สูงเป็นอันดับ 2 ของโลก (132.2 เมตร) และอาคารผู้โดยสารเดี่ยวที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 3 ของโลก (563,000 ตารางเมตร) ปัจจุบันเป็น หนึ่งในท่าอากาศยานที่มีผู้โดยสารมากที่สุดแห่งหนึ่งของโลก โดยในปี พ.ศ. 2559 มีผู้โดยสารมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลกและใน เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2560 ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิบริการสายการบินที่ทำการบินแบบประจำ 109 สายการบิน ซึ่งถือว่าบริการตามจำนวนสายการบินมากที่สุดแห่งหนึ่งของโลก (สามารถรองรับเที่ยวบิน 76 เที่ยวต่อชั่วโมงและผู้โดยสาร 45 ล้านคนต่อปี) Suvarnabhumi Airport.

ใหม่!!: ทางหลวงพิเศษหมายเลข 7และท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ · ดูเพิ่มเติม »

ท่าเรือแหลมฉบัง

ท่าเรือน้ำลึกแหลมฉบัง เป็นท่าเรือน้ำลึกหลักในการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ ตั้งอยู่ในเขตเทศบาลนครแหลมฉบัง อำเภอศรีราชา และ อำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี อยู่ภายใต้การดูแลของการท่าเรือแห่งประเทศไทยในเรื่องการบริหารท่าเรือโดยรวม และมีเอกชนรับผิดชอบในเรื่องปฏิบัติการ เปิดดำเนินการท่าเทียบเรือ B1 เป็นท่าแรกเมื่อวันที่ 21 มกราคม..

ใหม่!!: ทางหลวงพิเศษหมายเลข 7และท่าเรือแหลมฉบัง · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำบางปะกง

แม่น้ำบางปะกง เป็นแม่น้ำสายสำคัญในจังหวัดนครนายกและจังหวัดฉะเชิงเทรา มีความยาวประมาณ 231 กิโลเมตร และมีความกว้างในช่วงที่ไหลผ่านเขตเทศบาลเมืองฉะเชิงเทราประมาณ 120 เมตร แม่น้ำบางปะกง มีต้นกำเนิดจาก แม่น้ำนครนายก และ แม่น้ำปราจีนบุรีไหลมาบรรจบกันบริเวณ ตำบลบางแตน อำเภอบ้านสร้าง จังหวัดปราจีนบุรี.

ใหม่!!: ทางหลวงพิเศษหมายเลข 7และแม่น้ำบางปะกง · ดูเพิ่มเติม »

เมืองพัทยา

มืองพัทยา เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษแห่งหนึ่งในจำนวนสองแห่งของประเทศไทย ตั้งอยู่ในเขตอำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี มีระดับเทียบเท่าเทศบาลนคร จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการเมืองพัท..

ใหม่!!: ทางหลวงพิเศษหมายเลข 7และเมืองพัทยา · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลนครแหลมฉบัง

ทศบาลนครแหลมฉบัง เป็นเทศบาลรูปแบบพิเศษที่จัดตั้งเพื่อรองรับการเป็นเมืองท่าพาณิชย์หลักของประเทศไทย อีกทั้งยังเป็นเมืองอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ที่สำคัญของประเทศอีกด้วย ตั้งอยู่ในเขตอำเภอศรีราชาและอำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี ได้รับการยกฐานะจากเทศบาลตำบลเป็นเทศบาลนครเมื่อวันที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2553.

ใหม่!!: ทางหลวงพิเศษหมายเลข 7และเทศบาลนครแหลมฉบัง · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลเมืองชลบุรี

ทศบาลเมืองชลบุรี หรือ เมืองชลบุรี ตั้งอยู่ในเขตอำเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี และมีสำนักงานตั้งอยู่ที่ เป็นเทศบาลขนาดใหญ่ จัดตั้งขึ้นโดยยกฐานะจากสุขาภิบาลเมืองชลบุรี เป็นเทศบาลเมืองชลบุรี เมื่อวันที่ 7 ธันวาคม พ.ศ. 2478 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 52 หน้าที่ 1651 มีพื้นที่ 0.56 ตารางกิโลเมตร ต่อมาได้มีการเปลี่ยนแปลงขยายเขตเทศบาลครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2480 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 45 หน้า 1760 มีพื้นที่เพิ่มจากเดิมอีก 4.01 ตารางกิโลเมตร ปัจจุบันมีพื้นที่รวม 4.57 ตารางกิโลเมตร โดยในจำนวนนี้เป็นพื้นที่บนบกประมาณ 3.5 ตารางกิโลเมตร ที่เหลืออีกประมาณ 1.07 ตารางกิโลเมตรเป็นพื้นที่น้ำ.

ใหม่!!: ทางหลวงพิเศษหมายเลข 7และเทศบาลเมืองชลบุรี · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลเมืองมาบตาพุด

มาบตาพุด เป็นเทศบาลเมืองแห่งหนึ่งที่ตั้งอยู่ในเขตอำเภอเมืองระยอง และบางส่วนของอำเภอนิคมพัฒนา จังหวัดระยอง โดยห่างจากตัวเมืองระยองประมาณ 8 กิโลเมตร และห่างจากกรุงเทพมหานครตามถนนสุขุมวิทเป็นระยะทาง 204 กิโลเมตร เขตเทศบาลมีพื้นที่ 165.565 ตารางกิโลเมตร มีประชากรในปี..

ใหม่!!: ทางหลวงพิเศษหมายเลข 7และเทศบาลเมืองมาบตาพุด · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลเมืองแสนสุข

ทศบาลเมืองแสนสุข หรือ เมืองแสนสุข เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบหนึ่ง ครอบคลุมพื้นที่ 3 ตำบล คือ ตำบลแสนสุขทั้งตำบล บางส่วนของตำบลเหมือง และบางส่วนของตำบลห้วยกะปิในเขตอำเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี ห่างจากตัวเมืองชลบุรี ประมาณ 13 กิโลเมตร อยู่ภายใต้การบริหารงานของประชาชนในท้องถิ่น โดยมีนายสมชาย คุณปลื้ม อดีตนายกเทศมนตรี นายสวัสดิ์ หอมปลื้ม และนายสมชาติ คุณปลื้ม ร่วมคิดร่วมทำและกำหนดนโยบายและบริหารงานต่างๆ ในรูปแบบเทศบาล ทำให้ท้องถิ่นได้รับการพัฒนาเจริญก้าวหน้าภายในระยะเวลา 13 ปี สถานที่ที่มีชื่อเสียงแห่งหนึ่งของประเทศไทยคือ ชายหาดบางแสน เนื่องจากเป็นแหล่งท่องเที่ยวของประชาชนทุกระดับ และห่างจากกรุงเทพมหานครไม่ไกลนัก เพียง 89 กิโลเมตรเท่านั้น.

ใหม่!!: ทางหลวงพิเศษหมายเลข 7และเทศบาลเมืองแสนสุข · ดูเพิ่มเติม »

เขตบางนา

ตบางนา เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพใต้ สภาพทั่วไปเป็นเขตชุมชนเมืองหนาแน่นปานกลางผสมกับชุมชนการเกษตร.

ใหม่!!: ทางหลวงพิเศษหมายเลข 7และเขตบางนา · ดูเพิ่มเติม »

เขตลาดกระบัง

ตลาดกระบัง เป็นเขตการปกครองที่มีพื้นที่มากที่สุดเป็นอันดับที่ 2 ของกรุงเทพมหานคร (รองจากเขตหนองจอก) อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพตะวันออก สภาพโดยทั่วไปเป็นท้องทุ่ง มีแหล่งชุมชนหนาแน่นทางทิศใต้และมีเขตนิคมอุตสาหกรรมทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของพื้นที.

ใหม่!!: ทางหลวงพิเศษหมายเลข 7และเขตลาดกระบัง · ดูเพิ่มเติม »

เขตสวนหลวง

ตสวนหลวง เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพใต้ สภาพทั่วไปเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อ.

ใหม่!!: ทางหลวงพิเศษหมายเลข 7และเขตสวนหลวง · ดูเพิ่มเติม »

เขตสะพานสูง

ตสะพานสูง เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพตะวันออก สภาพพื้นที่โดยทั่วไปเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อ.

ใหม่!!: ทางหลวงพิเศษหมายเลข 7และเขตสะพานสูง · ดูเพิ่มเติม »

เขตประเวศ

ตประเวศ เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตศรีนครินทร์ ซึ่งถือเป็นเขตศูนย์ชุมชนชานเมือง แหล่งงานและการบริการเพื่อรองรับท่าอากาศยานสุวรรณภูม.

ใหม่!!: ทางหลวงพิเศษหมายเลข 7และเขตประเวศ · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

ถนนกรุงเทพฯ-ชลบุรีถนนทางหลวงพิเศษหมายเลข 7 (มอเตอร์เวย์)

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »