โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ดัชนี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (อังกฤษ: Kasetsart University; อักษรย่อ: มก.) เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐแห่งแรกของประเทศไทยที่เปิดสอนหลักสูตรทางด้านการเกษตร ก่อตั้งขึ้นเป็นลำดับที่ 3 ของประเทศ เดิมเป็นโรงเรียนช่างไหมในปี..

205 ความสัมพันธ์: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ช่วง เชวงศักดิ์สงครามพ.ศ. 2486พ.ศ. 2506พ.ศ. 2509พ.ศ. 2510พ.ศ. 2521พ.ศ. 2522พ.ศ. 2552พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชพระช่วงเกษตรศิลปการ (ช่วง โลจายะ)พระยาพหลพลพยุหเสนาพระยาฤทธิอัคเนย์ (สละ เอมะศิริ)พระยาอรรถการีย์นิพนธ์ (สิทธิ จุณณานนท์)พระยาอัชราชทรงสิริ (แม้น อรุณลักษณ์)พระราชวังดุสิตพระตำหนักจิตรลดารโหฐานพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเพ็ญพัฒนพงศ์ กรมหมื่นพิไชยมหินทโรดมพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจักรพันธ์เพ็ญศิริพฤศจิกายนกระทรวงกระทรวงมหาดไทย (ประเทศไทย)กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ประเทศไทย)กรุงเทพมหานครกฤษณพงศ์ กีรติกรกล้วยไม้การรับบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทยกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 20กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 26กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 42ภาษาอังกฤษมหาวิทยาลัยมหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติมหาวิทยาลัยอินโดนีเซียมหาวิทยาลัยแม่โจ้มหาวิทยาลัยโตเกียวมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสนมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนครมนุษยศาสตร์ระบบอัตโนมัติระพี สาคริกราชการราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ราชินีนาถรางวัลรามอน แมกไซไซวังวินด์เซอร์...วันลอยกระทงวิศวกรรมศาสตร์วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นพรัตน์วชิระวิทยาลัยการชลประทานวิทยาศาสตร์วิทยานิพนธ์ศรีรัศมิ์ สุวะดีศาสนาอิสลามศึกษาศาสตร์ศูนย์บริการประกันคุณภาพอาหารศูนย์วิจัยและพัฒนาอาชีพแก่เกษตรกร จังหวัดลพบุรีสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารีสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีสฤษดิ์ ธนะรัชต์สวนอัมพรสังคมศาสตร์สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัยสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (ประเทศไทย)สำนักนายกรัฐมนตรี (ประเทศไทย)สืบ นาคะเสถียรสีเขียวสถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐสถาปัตยกรรมศาสตร์สง่า สรรพศรีหม่อมหลวงชูชาติ กำภูหม่อมเจ้าสิทธิพร กฤดากรหลวงยุทธศาสตร์โกศล (ประยูร ยุทธศาสตร์โกศล)หลวงสินธุสงครามชัย (สินธุ์ กมลนาวิน)หลวงสุวรรณวาจกกสิกิจ (ทองดี เรศานนท์)หลวงสุนาวินวิวัฒน์ (พิศาล สุนาวินวิวัฒน์)หลวงอิงคศรีกสิการ (อินทรี จันทรสถิตย์)หลัก 6 ประการของคณะราษฎรห้องสมุดอักษรย่ออันดับสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทยอำพล เสนาณรงค์อำเภออำเภอบางสะพานน้อยอำเภอบางปลาม้าอำเภอกำแพงแสนอำเภอศรีราชาอำเภอสันทรายอำเภอเมืองสกลนครอิเล็กทรอนิกส์อุดมศึกษาอุตสาหกรรมอธิการบดีอนุสาวรีย์สามบูรพาจารย์ผิน ชุณหะวัณจรูญ สืบแสงจังหวัดชลบุรีจังหวัดชัยนาทจังหวัดพระนครศรีอยุธยาจังหวัดพิจิตรจังหวัดกระบี่จังหวัดกาญจนบุรีจังหวัดระยองจังหวัดราชบุรีจังหวัดลพบุรีจังหวัดสกลนครจังหวัดสมุทรสาครจังหวัดสมุทรสงครามจังหวัดสมุทรปราการจังหวัดสระบุรีจังหวัดสระแก้วจังหวัดสิงห์บุรีจังหวัดสุพรรณบุรีจังหวัดอุทัยธานีจังหวัดอ่างทองจังหวัดจันทบุรีจังหวัดตราดจังหวัดฉะเชิงเทราจังหวัดประจวบคีรีขันธ์จังหวัดปราจีนบุรีจังหวัดปทุมธานีจังหวัดนครสวรรค์จังหวัดนครปฐมจังหวัดนครนายกจังหวัดนนทบุรีจังหวัดแพร่จังหวัดเชียงใหม่จังหวัดเพชรบุรีจังหวัดเพชรบูรณ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยธันวาคมธีระ สูตะบุตรถนอม กิตติขจรถนนงามวงศ์วานทวี บุณยเกตุทองแดง (สุนัข)ความรู้ควง อภัยวงศ์คอกโครัลลีไซมอนส์คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์คณะพาณิชยนาวีนานาชาติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์คณะราษฎรคณะวิศวกรรมศาสตร์ กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์คณะวิทยาศาสตร์ ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์คณะวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์คณะศิลปศาสตร์และวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์คณะศึกษาศาสตร์และพัฒนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์คณะสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์คณะองคมนตรีคณะทรัพยากรธรรมชาติและอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์คณะเกษตร กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์คณะเศรษฐศาสตร์ ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์คณะเทคนิคการสัตวแพทย์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ประเสริฐ ณ นครประเทศญี่ปุ่นประเทศอินโดนีเซียปราโมทย์ ไม้กลัดปริญญาตรีปริญญาโทปริญญาเอกนักเรียนนนทรีแขวงลาดยาวแปลก พิบูลสงครามโรงเรียนการป่าไม้โครงการจัดตั้งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตสุพรรณบุรีไพฑูรย์ อิงคสุวรรณเกษตรเกษตรกรรมเกษตรศาสตร์เกษตรศาสตร์ (เพลงพระราชนิพนธ์)เภา เพียรเลิศ บริภัณฑ์ยุทธกิจเศรษฐศาสตร์เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี (สนั่น เทพหัสดิน ณ อยุธยา)เทคโนโลยีเทคโนโลยีสารสนเทศเขตบางเขนเขตจตุจักรเคยู แบนด์ (วงดนตรี)12 พฤศจิกายน13 กรกฎาคม2 กุมภาพันธ์21 กุมภาพันธ์9 เมษายน ขยายดัชนี (155 มากกว่า) »

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มีฐานะเป็นคณะหนึ่งในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ อยู่ภายใต้การบริหารงานของคณบดี โดยมีคณะกรรมการประจำบัณฑิตวิทยาลัยเป็นที่ปรึกษ.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

ช่วง เชวงศักดิ์สงคราม

ันเอก ช่วง เชวงศักดิ์สงคราม หรือ หลวงเชวงศักดิ์สงคราม (10 มีนาคม พ.ศ. 2442 - 9 มีนาคม พ.ศ. 2505) นามเดิม ช่วง ขวัญเชิด อดีตรองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตราธิการ.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และช่วง เชวงศักดิ์สงคราม · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2486

ทธศักราช 2486 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1943.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และพ.ศ. 2486 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2506

ทธศักราช 2506 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1963 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และพ.ศ. 2506 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2509

ทธศักราช 2509 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1966 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และพ.ศ. 2509 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2510

ทธศักราช 2510 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1967 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และพ.ศ. 2510 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2521

ทธศักราช 2521 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1978 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และพ.ศ. 2521 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2522

ทธศักราช 2522 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1979 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และพ.ศ. 2522 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2552

ทธศักราช 2552 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2009 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีสุดท้ายในคริสต์ทศวรรษ 2000.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และพ.ศ. 2552 · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาวชิราวุธฯ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว หรือ พระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราวุธ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (1 มกราคม พ.ศ. 2423 – 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2468) เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 6 ในราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันเสาร์ เดือนยี่ ขึ้น 2 ค่ำ ปีมะโรง ตรงกับวันที่ 1 มกราคม..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว  (20 กันยายน พ.ศ. 2396 – 23 ตุลาคม พ.ศ. 2453) เป็นพระมหากษัตริย์สยาม รัชกาลที่ 5 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันอังคาร เดือน 10 แรม 3 ค่ำ ปีฉลู ตรงกับวันที่ 20 กันยายน..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 — 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 9 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จสู่พระราชสมบัติตั้งแต่วันที่ 9 มิถุนายน..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช · ดูเพิ่มเติม »

พระช่วงเกษตรศิลปการ (ช่วง โลจายะ)

อำมาตย์โท ดร.พระช่วงเกษตรศิลปการ (20 กรกฎาคม พ.ศ. 2442 - 1 มกราคม พ.ศ. 2531) เป็นหนึ่งในผู้ก่อตั้งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และเคยดำรงตำแหน่งนายกสภามหาวิทยาลัย อดีตรัฐมนตรีกระทรวงเกษตราธิการในสมัยรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม และเป็นผู้ก่อตั้งและหัวหน้าพรรคสัมมาชีพ-ช่วยชาวน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และพระช่วงเกษตรศิลปการ (ช่วง โลจายะ) · ดูเพิ่มเติม »

พระยาพหลพลพยุหเสนา

ระยาพหลพลพยุหเสนา เป็นราชทินนามบรรดาศักดิ์ทหาร อาจหมายถึง.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และพระยาพหลพลพยุหเสนา · ดูเพิ่มเติม »

พระยาฤทธิอัคเนย์ (สละ เอมะศิริ)

ันเอก พระยาฤทธิอัคเนย์ สมาชิกคณะราษฎรผู้ทำการเปลี่ยนแปลงการปกครอง เมื่อ พ.ศ. 2475 จัดเป็น 1 ใน "4 ทหารเสือ" คือ ทหารบกชั้นผู้ใหญ่ เป็นระดับผู้บังคับบัญชาและคุมกำลังพล ซึ่งประกอบด้วย พระยาพหลพลพยุหเสนา, พระยาทรงสุรเดช, พระยาฤทธิอัคเนย์ และพระประศาสน์พิทยายุทธ พระยาฤทธิอัคเนย์ มีชื่อเดิมว่า สละ เอมะศิริ เกิดเมื่อวันที่ 14 มกราคม พ.ศ. 2432 เป็นบุตรชายของพระยามนูสารศาสตรบัญชา (ศิริ เอมะศิริ) และคุณหญิง เหลือบ เอมะศิริ พระยาฤทธิอัคเนย์เป็นนายทหารปืนใหญ่ ในช่วงการเปลี่ยนแปลงการปกครอง มีตำแหน่งเป็น ผู้บังคับการกรมทหารปืนใหญ่ที่ 1 รักษาพระองค์ (ป. 1 รอ.) และถือเป็นผู้เดียวที่มีกองกำลังพลในบังคับบัญชา ในเช้าตรู่ของวันที่ 24 มิถุนายน..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และพระยาฤทธิอัคเนย์ (สละ เอมะศิริ) · ดูเพิ่มเติม »

พระยาอรรถการีย์นิพนธ์ (สิทธิ จุณณานนท์)

frameless พระยาอรรถการีย์นิพนธ์ หรือ สิทธิ จุณณานนท์ (ชื่อเดิม สุทธิ จุณณานนท์) (29 มิถุนายน พ.ศ. 2438 - 27 มิถุนายน พ.ศ. 2520) เป็นอดีตรัฐมนตรีกระทรวงเกษตราธิการ ในสมัยรัฐบาลเสนีย์ ปราโมช อดีตปลัดกระทรวงมหาดไทย อดีตรัฐมนตรีกระทรวงมหาดไทยและกระทรวงยุติธรรม ในช่วงปลายสงครามโลกครั้งที่ 2 อดีตอธิบดีกรมอัยการ ในปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และพระยาอรรถการีย์นิพนธ์ (สิทธิ จุณณานนท์) · ดูเพิ่มเติม »

พระยาอัชราชทรงสิริ (แม้น อรุณลักษณ์)

มหาอำมาตย์ตรี พระยาอัชราชทรงสิริ (แม้น อรุณลักษณ์) (12 สิงหาคม พ.ศ. 2423 - 7 มิถุนายน พ.ศ. 2507) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตราธิการ อดีตอธิบดีกรมต่างๆ อาทิ เช่น อธิบดีกรมที่ดินและโลหะกิจ เป็นต้น อดีตนายกสภามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และพระยาอัชราชทรงสิริ (แม้น อรุณลักษณ์) · ดูเพิ่มเติม »

พระราชวังดุสิต

ระราชวังดุสิต ตั้งอยู่ที่เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร สร้างขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เพื่อเป็นที่เสด็จประทับชั่วคราว เนื่องจากภายในพระบรมมหาราชวัง ซึ่งเป็นพระราชนิเวศน์ที่ประทับนั้น ประกอบด้วย พระราชมณเฑียร หมู่พระตำหนัก หมู่เรือนในเขตพระราชฐานชั้นใน และหมู่เรือนข้าราชบริพาร ปลูกสร้างอยู่กันอย่างแออัด ปิดทางลม ทำให้ที่ประทับร้อนจัด ดังนั้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ตลอดทั้งพระบรมวงศานุวงศ์ทรงพระประชวรกันเสมอ ต่อมา จึงสร้างขึ้นเพื่อเป็นพระราชวังที่ประทับถาวรจนตลอดรัชกาล โดยได้สร้างแล้วเสร็จในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และพระราชวังดุสิต · ดูเพิ่มเติม »

พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน

ระตำหนักจิตรลดารโหฐาน สวนจิตรลดา พระราชวังดุสิต พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน เป็นพระตำหนักในพระราชวังดุสิต ตั้งอยู่ที่แขวงสวนจิตรลดา เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร ปัจจุบันเป็นที่ประทับของ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ในรัชกาลที่9.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และพระตำหนักจิตรลดารโหฐาน · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเพ็ญพัฒนพงศ์ กรมหมื่นพิไชยมหินทโรดม

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเพ็ญพัฒนพงศ์ กรมหมื่นพิไชยมหินทโรดม พระนามเดิม พระองค์เจ้าเพ็ญพัฒนพงศ์ ทรงเป็นต้นราชสกุล "เพ็ญพัฒน์" เป็นผู้พระนิพนธ์เพลงลาวดวงเดือน พระองค์เจ้าเพ็ญพัฒนพงศ์ เป็นพระราชโอรสองค์ที่ 38 ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว อันประสูติแต่เจ้าจอมมารดามรกฎ ธิดาของเจ้าพระยามหินทรศักดิ์ธำรง (เพ็ง เพ็ญกุล) ประสูติเมื่อวันที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2425 เสด็จไปศึกษาทางด้านเกษตรศาสตร์จากประเทศอังกฤษ สำเร็จการศึกษาเมื่อ..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเพ็ญพัฒนพงศ์ กรมหมื่นพิไชยมหินทโรดม · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจักรพันธ์เพ็ญศิริ

ตราจารย์พิเศษ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจักรพันธ์เพ็ญศิริ (27 กรกฎาคม พ.ศ. 2452 — 13 ตุลาคม พ.ศ. 2536) เป็นพระโอรสในพระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นอนุวัตรจาตุรนต์ และหม่อมจำรัส จักรพันธุ์ ณ อยุธยา ทรงสำเร็จการศึกษาทางด้านเกษตรศาสตร์ และเริ่มเข้ารับราชการที่กระทรวงเกษตร และเป็นอดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ นอกจากนี้ พระองค์ยังมีความสามารถพิเศษทางด้านการประพันธ์คำร้องและทำนองเพลงอีกด้วย พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจักรพันธ์เพ็ญศิริประชวรด้วยโรคเกี่ยวกับทางเดินหายใจและถุงลมโป่งพองสิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 13 ตุลาคม..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจักรพันธ์เพ็ญศิริ · ดูเพิ่มเติม »

พฤศจิกายน

กายน เป็นเดือนที่ 11 ของปี ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นหนึ่งในเดือน 4 เดือนที่มี 30 วัน ตามหลักโหราศาสตร์ เดือนพฤศจิกายนเริ่มต้นขึ้นเมื่อดวงอาทิตย์ยกเข้าสู่ราศีพิจิก และสิ้นสุดเมื่อยกเข้าสู่ราศีธนู แต่ในทางดาราศาสตร์ ต้นเดือนพฤศจิกายนดวงอาทิตย์อยู่ในกลุ่มดาวตาชั่ง ผ่านกลุ่มดาวแมงป่องระหว่างวันที่ 24-29 พฤศจิกายน โดยประมาณ และไปอยู่ในกลุ่มดาวคนแบกงูในปลายเดือน เดือนพฤศจิกายนในภาษาอังกฤษ November มาจากภาษาละติน novem เนื่องจากเป็นเดือนที่ 9 ในปฏิทินโรมันดั้งเดิมที่เริ่มต้นปีในเดือนมีนาคม.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และพฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

กระทรวง

กระทรวง คือหน่วยงานของรัฐบาล ทำหน้าที่ในการจัดการและบริหารประเทศ ส่วนราชการหนึ่งในราชการบริหารส่วนกลางในภาครัฐ ซึ่งมีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเป็นหัวหน้.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และกระทรวง · ดูเพิ่มเติม »

กระทรวงมหาดไทย (ประเทศไทย)

กระทรวงมหาดไทย มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการบำบัดทุกข์บำรุงสุข การรักษาความสงบเรียบร้อยของประชาชน การอำนวยความเป็นธรรมของสังคม การส่งเสริมและพัฒนาการเมืองการปกครอง การพัฒนาการบริหารราชการส่วนภูมิภาค การปกครองท้องที่ การส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นและพัฒนาชุมชน การทะเบียนราษฎร ความมั่นคงภายใน กิจการสาธารณภัย และการพัฒนาเมืองและราชการอื่นตามที่มีกฎหมายกำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของกระทรวงมหาดไทยหรือส่วนราชการที่สังกัดกระทรวงมหาดไท.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และกระทรวงมหาดไทย (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)

กระทรวงศึกษาธิการ เป็นหน่วยงานราชการไทยประเภทกระทรวง มีหน้าที่ส่งเสริมการศึกษาให้กับประชาชนอย่างทั่วถึงและเท่าเทียม สร้างความเสมอภาคและโอกาสทางการศึกษา ส่งเสริมให้หน่วยงานต่าง ๆ ได้มีส่วนร่วมทางการศึกษา ส่งเสริมการศึกษาวิชาชีพ ให้เอกชนมีส่วนร่วมในการศึกษา เน้นให้นิสิตนักศึกษามีโอกาสศึกษาต่อสูงขึ้นทั้งในท้องถิ่นและสถาบันเปิด เน้นการเรียนรู้ตลอดชีวิต ให้บริการแก่สังคม พัฒนาบุคลากรทางการศึกษา ส่งเสริมผู้ที่มีความสามารถพิเศษให้ได้เรียนและแสดงออกในทางที่เหมาะสม.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และกระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ประเทศไทย)

กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (Ministry of Agriculture and Cooperatives) เป็นหน่วยงานราชการไทยประเภทกระทรวง ได้รับการสถาปนาเมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2435 ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ในชื่อ กระทรวงเกษตรพานิชการ มี เจ้าพระยาภาสกรวงศ์ (พร บุนนาค) ขณะมีบรรดาศักดิ์ที่พระยาภาสกรวงศ์เป็นเสนาบดีคนแรก ต่อมาในปี พ.ศ. 2439 ได้ยุบรวมกระทรวงเกษตรพานิชการเข้ากับ กระทรวงพระคลังมหาสมบัติ พร้อมกับลดฐานะลงเป็นกรม ๆ หนึ่ง ในวันที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2442 มีพระบรมราชโองการแยกกรมเกษตรพานิชการออกมาตั้งเป็นกระทรวงใหม่ใช้ชื่อว่า กระทรวงเกษตราธิการ มี เจ้าพระยาเทเวศร์วงศ์วิวัฒน์ (หม่อมราชวงศ์หลาน กุญชร) ขณะมีบรรดาศักดิ์ที่พระยาเทเวศร์วงศ์วิวัฒน์เป็นเสนาบดีคนแรก โดยใช้ หอรัษฎากรพิพัฒน์ เป็นที่ทำการชั่วคราว ในปี พ.ศ. 2475 ได้มีการยุบรวมกระทรวงเกษตราธิการเข้ากับ กระทรวงพาณิชย์และคมนาคม ใช้ชื่อว่า กระทรวงเกษตรพาณิชยการ ต่อมาวันที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2476 ได้มีการเปลี่ยนแปลงชื่อและอำนาจหน้าที่จากกระทรวงเกษตรพาณิชยการเป็น กระทรวงเศรษฐการ ในวันที่ 1 ตุลาคม..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

กฤษณพงศ์ กีรติกร

กฤษณพงศ์ กีรติกร (11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2489-) ประธานกรรมการในคณะกรรมการนโยบายกองทุนสนับสนุนการวิจัย ประธานกรรมการคณะกรรมการจัดทำยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์นายกสภามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ อดีตเลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา ประธานกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา อดีตที่ปรึกษาโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) กรรมการกฤษฎีกา กรรมการในคณะกรรมการควบคุมมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ และอดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และกฤษณพงศ์ กีรติกร · ดูเพิ่มเติม »

กล้วยไม้

กล้วยไม้ หรือ เอื้อง เป็นพืชดอกที่มีความหลากหลายมากที่สุดกลุ่มหนึ่ง โดยมีประมาณ 899 สกุล และมีประมาณ 27,000 ชนิดที่มีการยอมรับ คิดเป็น 6–11% ของพืชมีเมล็ด มีการค้นพบราวๆ 800 ชนิดทุกๆปี มีสกุลใหญ่ๆคือ Bulbophyllum (2,000 ชนิด), Epidendrum (1,500 ชนิด), Dendrobium (1,400 ชนิด) และ Pleurothallis (1,000 ชนิด) สายพันธุ์ของกล้วยไม้ที่ขึ้นและเติบโตในป่าเรียกว่า กล้วยไม้ป่า กล้วยไม้จัดอยู่ในกลุ่มพืชใบเลี้ยงเดี่ยว อยู่ในวงศ์กล้วยไม้ (Orchidaceae) สามารถแบ่งตามลักษณะการเติบโตได้ดังนี้.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และกล้วยไม้ · ดูเพิ่มเติม »

การรับบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย

ระบบการรับบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย (เรียกสั้น ๆ ว่า ระบบคัดเลือกเข้าอุดมศึกษา) เป็นระบบการรับสมัครบุคคลที่จบการศึกษาระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า และคัดเลือกเพื่อเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา ระบบคัดเลือกเข้าอุดมศึกษามีการพัฒนามาตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และการรับบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 20

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 20 จัดการแข่งขันวันที่ 8 - 15 มกราคม พ.ศ. 2536 ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (วิทยาเขตบางเขน) กรุงเทพมหานคร โดยมีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์เป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขัน จัดการแข่งขัน 22 ชนิดกีฬา มีมหาวิทยาลัยเข้าร่วมแข่งขัน 36 มหาวิทยาลั.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 20 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 26

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 26 หรือ นนทรีเกมส์ จัดการแข่งขันวันที่ 29 มกราคม - 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2542 ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จังหวัดนครปฐม โดยมีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์เป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขัน จัดการแข่งขัน 21 ชนิดกีฬา กีฬาสาธิต 2 ชนิดกีฬา มีมหาวิทยาลัยเข้าร่วมแข่งขัน 46 มหาวิทยาลั.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 26 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 42

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 42 หรือ นนทรีเกมส์ จัดที่จังหวัดนครปฐม โดยมีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์เป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันเพื่อเฉลิมฉลองวาระที่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครบรอบ 72 ปี ระหว่างวันที่ 15 - 24 มกราคม..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 42 · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอังกฤษ

ษาอังกฤษ หรือ ภาษาอังกฤษใหม่ เป็นภาษาในกลุ่มภาษาเจอร์แมนิกตะวันตกที่ใช้ครั้งแรกในอังกฤษสมัยต้นยุคกลาง และปัจจุบันเป็นภาษาที่ใช้กันแพร่หลายที่สุดในโลก ประชากรส่วนใหญ่ในหลายประเทศ รวมทั้ง สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย ไอร์แลนด์ นิวซีแลนด์ และประเทศในแคริบเบียน พูดภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่หนึ่ง ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่ที่มีผู้พูดมากที่สุดเป็นอันดับสามของโลก รองจากภาษาจีนกลางและภาษาสเปน มักมีผู้เรียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สองอย่างกว้างขวาง และภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการของสหภาพยุโรป หลายประเทศเครือจักรภพแห่งชาติ และสหประชาชาติ ตลอดจนองค์การระดับโลกหลายองค์การ ภาษาอังกฤษเจริญขึ้นในราชอาณาจักรแองโกล-แซ็กซอนอังกฤษ และบริเวณสกอตแลนด์ตะวันออกเฉียงใต้ในปัจจุบัน หลังอิทธิพลอย่างกว้างขวางของบริเตนใหญ่และสหราชอาณาจักรตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 จนถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ผ่านจักรวรรดิอังกฤษ และรวมสหรัฐอเมริกาด้วยตั้งแต่กลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ภาษาอังกฤษได้แพร่หลายทั่วโลก กลายเป็นภาษาชั้นนำของวจนิพนธ์ระหว่างประเทศและเป็นภาษากลางในหลายภูมิภาค ในประวัติศาสตร์ ภาษาอังกฤษกำเนิดจากการรวมภาษาถิ่นหลายภาษาที่สัมพันธ์อย่างใกล้ชิด ซึ่งปัจจุบันเรียกรวมว่า ภาษาอังกฤษเก่า ซึ่งผู้ตั้งนิคมนำมายังฝั่งตะวันออกของบริเตนใหญ่เมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 5 คำในภาษาอังกฤษจำนวนมากสร้างขึ้นบนพื้นฐานรากศัพท์ภาษาละติน เพราะภาษาละตินบางรูปแบบเป็นภาษากลางของคริสตจักรและชีวิตปัญญาชนยุโรปDaniel Weissbort (2006).

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และภาษาอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัย

มหาวิทยาลัย (University) หมายถึง สถานศึกษาที่จัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาทั้งในด้านวิชาการและวิชาชีพชั้นสูงหลากหลายสาขาวิชา เพื่อให้ประกาศนียบัตร อนุปริญญา หรือปริญญา แก่ผู้สำเร็จการศึกษาในหลายระดับรวมถึง ปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก รวมทั้งการทำการวิจัยและให้บริการทางวิชาการแก่สังคม.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และมหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ

มหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ หรือ โครงการพัฒนามหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ วันที่ 1 กรกฎาคม..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และมหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยอินโดนีเซีย

ตราสัญลักษณ์ของมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยอินโดนีเซีย (Universitas Indonesia) เป็นสถาบันอุดมศึกษาแห่งแรกของอินโดนีเซีย ตั้งอยู่ใจกลางกรุงเดป๊อคและจาการ์ตา จัดตั้งโดยรัฐบาลอาณานิคมของเนเธอร์แลนด์ และถือว่าเป็นรากฐานของการพัฒนาการศึกษาในระดับอุดมศึกษาของอินโดนีเซียปัจจุบัน ทำให้มหาวิทยาลัยอินโดนีเซียเป็นมหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงมากที่สุดในอินโดนีเซีย จากการจัดอันดับมหาวิทยาลัยโลกของคอกโครัลลีไซมอนส์ มหาวิทยาลัยอินโดนีเซียอยู่ในอันดับที่ 358 ของโลก และอันดับที่ 1 ของอินโดนีเซี.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และมหาวิทยาลัยอินโดนีเซีย · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยแม่โจ้

มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เป็นสถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐ ตั้งอยู่ที่อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ ก่อตั้งเมื่อวันที่ 7 มิถุนายน พ.ศ. 2477 โดยมีรากฐานจาก "โรงเรียนฝึกหัดครูประถมกสิกรรมประจำภาคเหนือ" จนได้รับการเปลี่ยนสถานะเป็นมหาวิทยาลัยแม่โจ้เมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539 เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐลำดับที่ 20 ในประเทศไท.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และมหาวิทยาลัยแม่โจ้ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยโตเกียว

หอประชุมยาสุดะในมหาวิทยาลัยโตเกียว มหาวิทยาลัยโตเกียว หรือย่อว่า โทได เป็นมหาวิทยาลัยในประเทศญี่ปุ่นในลักษณะของมหาวิทยาลัยวิจัย ตั้งอยู่ที่เมืองโตเกียว มีพื้นที่แยกออกเป็น 5 วิทยาเขต ใน ฮงโง โคมะบะ คะชิวะ ชิโระงะเนะ และ นะกะโนะ และได้ชื่อว่าเป็นมหาวิทยาลัยชั้นนำที่มีเกียรติมากที่สุดในญี่ปุ่น และยังจัดเป็นมหาวิทยาลัยชั้นนำของโลก มหาวิทยาลัยโตเกียวประกอบด้วย 10 คณะซึ่งมีนักศึกษารวมทั้งสิ้นประมาณ 30,000 คน ในจำนวนนี้มีนักศึกษาต่างชาติประมาณ 2,100 คนเป็นนักศึกษาไทยประมาณ 150 คน (ซึ่งเป็นสัดส่วนสูงทีสุดในบรรดามหาวิทยาลัยในญี่ปุ่น) ปัจจุบันมีหลักสูตรครอบคลุมสาขาวิทยาการเกือบทั้งหมด แต่ที่มีชื่อเสียงมากเป็นพิเศษคือ กฎหมาย รัฐศาสตร์ วรรณกรรม เศรษฐศาสตร์ แพทยศาสตร์และ วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยแห่งนี้ผลิตนักการเมืองและข้าราชการระดับสูงของญี่ปุ่นจำนวนมาก นับแต่อดีตจนปัจจุบันแม้ว่าสัดส่วนจะลดลงก็ตาม อัตราส่วนของรัฐมนตรีที่เป็นศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยโตเกียวยังคงสูงที่สุดในประเทศญี่ปุ่น โดยแต่ละช่วงคริสต์ศตวรรษจะอยู่ที่ประมาณ 2/3 1/2 1/4 1/5 และ1/6 ในช่วงคริสศตวรรษที่ 1950 60 70 80 และ 90 ตามลำดับ มหาวิทยาลัยโตเกียวมีการเรียนการสอนที่เป็นที่ยอมรับว่า เป็นหนึ่งในสถาบันการศึกษาชั้นสูงในหลากหลายสาขาวิชา และมีอัตราการแข่งขันในการเข้าศึกษาสูงที่สุดในประเทศญี่ปุ่น มหาวิทยาลัยโตเกียวมีมหาวิทยาลัยคู่แข่งอยู่หกมหาวิทยาลัย เช่น มหาวิทยาลัยเคโอซึ่งก่อตั้งก่อนช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง มหาวิทยาลัยฮิโตะสึบาชิซึ่งเป็นมหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงมากในหมู่คนญี่ปุ่นและเปิดสอนเฉพาะวิชาด้านสังคมศาสตร์ หรือมหาวิทยาลัยเกียวโตซึ่งผลิตนักวิทยาศาสตร์รางวัลโนเบลเป็นจำนวนมาก หนึ่งในศิษย์เก่าเจ้าของรางวัลโนเบลของมหาวิทยาลัยโตเกียวคืออธิการบดีมหาวิทยาลัยโตเกียวอิมพิเรียลชื่อ ศาสตราจารย์ คิคุจิ ไดโรกุ ในด้านกีฬา ทีมเบสบอลมหาวิทยาลัยโตเกียว ประสบความสำเร็จมากที่สุดทีมหนึ่งในระดับมหาวิทยาลัยของกรุงโตเกียว ศูนย์ฮงโหงะเป็นศูนย์หลักของมหาวิทยาลัยซึ่งเดิมเป็นที่พำนักของตระกูล "มาเอดะ" ช่วงสมัยเอโดะผู้เป็นเจ้าเมืองเคหงะ สัญลักษณ์หนึ่งที่เป็นที่รู้จักและอยู่จนปัจจุบันของมหาวิทยาลัยคือ "อะกามง" (ประตูแดง) ส่วนตราสัญลักษณ์ของมหาวิทยาลัยเป็นรูปใบแปะก๊วย ซึ่งปลูกอยู่เรียงรายทั่วทั้งบริเวณของมหาวิทยาลั.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และมหาวิทยาลัยโตเกียว · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน เป็นสถาบันการศึกษาที่มุ่งเน้นให้การศึกษา สร้างสรรค์และพัฒนาความรู้ ให้บริการทางวิชาการ รวมทั้งสืบสานและอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมที่สอดคล้องกับนโยบายการศึกษา การพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมของประเทศ โดยเฉพาะการพัฒนาและเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตทางด้านเกษตร.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา

วิทยาเขตศรีราชา เป็นวิทยาเขตแห่งหนึ่งที่มีการเรียนการสอนของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เพื่อตอบสนองภาคอุตสาหกรรมและการท่องเที่ยวของประเทศไท.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร เป็นวิทยาเขตแห่งหนึ่งที่มีการเรียนการสอนของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เพื่อตอบสนองต่อการกระจายตัวของท้องถิ่น ทางภูมิภาคอีสาน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร · ดูเพิ่มเติม »

มนุษยศาสตร์

นักปรัชญาเพลโต มนุษยศาสตร์ (humanities) เป็นกลุ่มของสาขาวิชาที่เกี่ยวกับการศึกษาสภาวะแห่งมนุษย์โดยส่วนใหญ่ใช้กรรมวิธีเชิงวิเคราะห์, วิจารณญาณ หรือการคาดการณ์ซึ่งแตกต่างจากการเข้าสู่ปัญหาด้วยกรรมวิธีเชิงประจักษ์ด้วยธรรมชาติ, สังคมศาสตร์ โดยธรรมเนียมทั่วไปมนุษยศาสตร์รวมถึงสาขาวิชาภาษาศาสตร์โบราณและภาษาศาสตร์สมัยใหม่, วรรณคดี ประวัติศาสตร์ ปรัชญา ศาสนา ทัศนศิลป์ ศิลปะการแสดง และดนตรี บางครั้งมีการรวมเอาสาขาวิชาอื่นเพิ่มเข้าไปด้วย ได้แก่ มานุษยวิทยา ภูมิภาคศึกษา การสื่อสารและวัฒนธรรมศึกษา แม้ว่าสาขาวิชาเหล่านี้มักถูกจัดไว้ในสาขาสังคมศาสตร์ นักวิชาการที่อยู่ในสายของสาขาวิชานี้ บางครั้งอาจเรียกตนเองว่าเป็น "นักมนุษยนิยม" อย่างไรก็ตามคำดังกล่าวก็ได้ใช้เรียกนักปรัชญาสาขามนุษยนิยมแต่ก็ยังไม่เป็นที่ยอมรั.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และมนุษยศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

ระบบอัตโนมัติ

ระบบอัตโนมัติ คือ ระบบใดๆ หรือ กลไก ที่สามารถเริ่มทำงานได้ด้วยตัวเอง โดยทำงานตามโปรแกรมที่วางไว้ เช่นระบบรดน้ำอัตโนมัติ ระบบตอบรับโทรศัพท์อัตโนมัติ ระบบอัตโนมัติ อาจเป็นการใช้ กลไก คอมพิวเตอร์ หรือ อุปกรณ์อิเล็คทรอนิกส์ ควบคุม จะทำงานถูกต้องต่อเมื่อมีการวางแผน หรือ โปรแกรมโดยมนุษย์ทั้งสิ้น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และระบบอัตโนมัติ · ดูเพิ่มเติม »

ระพี สาคริก

ตราจารย์ ระพี สาคริก (4 ธันวาคม พ.ศ. 2465 — 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561) ราษฎรอาวุโส นักวิจัย นักวิชาการเกษตรผู้บุกเบิกวงการกล้วยไม้ของประเทศไทยสู่สากล อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป็นอดีตนายกสภาสถาบันอาศรมศิลป.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และระพี สาคริก · ดูเพิ่มเติม »

ราชการ

ราชการ (สำหรับประเทศที่มีพระมหากษัตริย์เป็นพระประมุข) หรือ รัฐการ (สำหรับประเทศที่ไม่ได้มีพระมหากษัตริย์เป็นพระประมุข) เป็นระบบการทำงานอย่างหนึ่งของรัฐ หมายถึง การงานของพระมหากษัตริย์หรือรัฐบาล รวมไปถึงของทหารและตำรวจซึ่งอาจเรียกแยกเฉพาะว่า "ราชการฝ่ายทหาร" หรือ "รัฐการฝ่ายทหาร" แล้วแต่กรณี.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และราชการ · ดูเพิ่มเติม »

ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์

ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ (CRA) เป็นสถาบันการวิจัยและวิชาการชั้นสูง (มิใช่สถาบันอุดมศึกษา แต่มีสถาบันอุดมศึกษาอยู่ในส่วนงาน) และจัดการศึกษาทางวิชาการและวิชาชีพด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สิ่งแวดล้อม การแพทย์ และการสาธารณสุข มีวัตถุประสงค์ในการวิจัย สร้าง ประมวล ประยุกต์ ส่งเสริม เผยแพร่ พัฒนา จัดการศึกษาและผลิตบุคลากรในระดับสูง เพื่อสร้างองค์ความรู้ เป็นศูนย์ความเป็นเลิศทางด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สิ่งแวดล้อม การแพทย์ และการสาธารณสุข ให้บริการทางการแพทย์และการสาธารณสุขแก่ประชาชน ให้ความช่วยเหลือผู้ยากไร้และผู้ประสบภัยพิบัติ รวมทั้งส่งเสริมคุณธรรมและจริยธรรม และทะนุบํารุงศิลปวัฒนธรรม.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

ราชินีนาถ

ราชินีนาถ อาจหมายถึง.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และราชินีนาถ · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลรามอน แมกไซไซ

รางวัลรามอน แมกไซไซ หรือ รางวัลแมกไซไซ (Ramon Magsaysay Award) เป็นรางวัลที่ก่อตั้งขึ้น เมื่อเดือนเมษายน..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และรางวัลรามอน แมกไซไซ · ดูเพิ่มเติม »

วังวินด์เซอร์

วังวินด์เซอร์ หรือที่รู้จักในชื่อ วังประทุมวัน, วังกลางทุ่ง หรือ วังใหม่ เป็นวังที่สร้างขึ้นโดยพระประสงค์ของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่พระราชทานเป็นสถานที่ประทับของสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามบรมราชกุมารองค์แรกแห่งสยามประเทศ ตั้งอยู่บริเวณทุ่งประทุมวัน กรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นการขยายขอบเขตวังออกนอกเขตพระนคร จึงเป็นเหตุให้เรียกชื่อ วังกลางทุ่ง และสืบเนื่องจากตัววังที่เหมือนกับพระราชวังวินด์เซอร์ ที่ประเทศอังกฤษ จึงเป็นเหตุให้เรียกว่า วังวินด์เซอร์ วัง ถูกสร้างขึ้นในปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และวังวินด์เซอร์ · ดูเพิ่มเติม »

วันลอยกระทง

วันลอยกระทง เป็นวันสำคัญทางศาสนาฮินดูวันหนึ่งของไทยและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตรงกับวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 12 ตามปฏิทินจันทรคติไทย ตามปฏิทินจันทรคติล้านนา มักจะตกอยู่ในราวเดือนพฤศจิกายน ตามปฏิทินสุริยคติ บางปีเทศกาลลอยกระทงก็จะมาตรงกับเดือนตุลาคมด้วย เช่นปี พ.ศ. 2544วันลอยกระทงปีนั้นตรงกับวันที่ 31 ตุลาคม และจะมาตรงกันอีกครั้งในปี พ.ศ. 2563 ประเพณีนี้กำหนดขึ้นเพื่อเป็นการสะเดาะเคราะห์และขอขมาต่อพระแม่คงคา บางหลักฐานเชื่อว่าเป็นการบูชารอยพระพุทธบาทที่ริมฝั่งแม่น้ำนัมทามหานที และบางหลักฐานก็ว่าเป็นการบูชาพระอุปคุตอรหันต์หรือพระมหาสาวก สำหรับประเทศไทยประเพณีลอยกระทงได้กำหนดจัดในทุกพื้นที่ทั่วประเทศ โดยเฉพาะบริเวณที่ติดกับแม่น้ำ ลำคลอง หรือ แหล่งน้ำต่าง ๆ ซึ่งแต่ละพื้นที่ก็จะมีเอกลักษณ์ที่น่าสนใจแตกต่างกันไป นอกจากนี้บางประเทศก็มีเทศกาลลอยกระทงด้วย เช่น ประเทศลาวมักจะลอยกระทงในวันออกพรรษา (ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11) ในงานไหลเฮือไฟของลาว ประเทศกัมพูชา มีการลอยกระทง 2 ครั้ง คือลอยกระทงหลวงกลางเดือน 11 ราษฎรจะทำกระทงเล็กและบรรจุอาหารลงไปด้วย ส่วนกลางเดือน 12 จะมีกระทงหลวงเป็นกระทงใหญ่ ราษฎรจะไม่ได้ทำและกระทงนี้จะมีอาหารบรรจุลงไปด้วยเช่นกัน โดยมีคติว่าเพื่อส่งส่วนบุญไปให้เปรต เทศกาลน้ำจะมีการเฉลิมฉลองด้วยการแข่งเรือยาว การแสดงพุลดอกไม้ไฟ จัดขึ้นทุกปีตั้งแต่วันขึ้น 14 ค่ำ 15 ค่ำ จนถึงแรม 1 ค่ำ เดือนพฤศจิกายน ประเทศพม่า ในวันลอยกระทง ผู้คนจะพากันทำกระทงตกแต่งเป็นรูปคล้ายดอกบัวบาน ปักธูปเทียน และนิยมตัดเล็บ เส้นผม หรือใส่เหรียญกษาปณ์ลงไปในกระทง แล้วนำไปลอยในแหล่งน้ำ ส่วนในพื้นที่ติดทะเลก็นิยมลอยกระทงริมฝั่งทะเล เชื่อว่าเป็นการลอยเคราะห์ไป นอกจากนี้ยังเชื่อว่าการลอยกระทงเป็นการบูชาและขอขมาพระแม่คง.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และวันลอยกระทง · ดูเพิ่มเติม »

วิศวกรรมศาสตร์

การจะออกแบบสร้างกังหันลมในทะเลต้องใช้ความรู้ทางวิศวกรรมในหลายๆสาขาประกอบเข้าด้วยกัน วิศวกรรมอาจจะหมายถึงพระวิศวกรรม วิศวกรรมศาสตร์ เป็นสาขาความรู้และวิชาชีพเกี่ยวกับการประยุกต์ใช้ประยุกตวิทยา (เทคโนโลยี), วิทยาศาสตร์และความรู้ทางคณิตศาสตร์เพื่อการใช้ประโยชน์จากกฎทางธรรมชาติและทรัพยากรทางกายภาพให้เกิดประโยชน์สูงสุด, เพื่อช่วยในการออกแบบและประยุกต์ใช้ วัสดุ, โครงสร้าง, เครื่องจักร, เครื่องมือ, ระบบ และ กระบวนการ เพื่อการตอบสนองต่อจุดประสงค์ที่ต้องการได้อย่างปลอดภัยและเชื่อถือได้ American Engineers' Council for Professional Development (ECPD, ซึ่งต่อมาคือ ABET) ได้ให้นิยามเกี่ยวกับวิศวกรรมศาสตร์เอาไว้ดังนี้.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นพรัตน์วชิระ

วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นพรัตน์วชิระ เป็นสถานศึกษาสังกัดสถาบันพระบรมราชชนก โดยเป็นสถาบันสมทบของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โดยเปิดสอนนิสิตในสายพยาบาลศาสตร์ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีนพรัตน์วชิระมีวิวัฒนาการมาจากโรงเรียนผดุงครรภ์แห่งแรกในประเทศไทยตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2475.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นพรัตน์วชิระ · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาลัยการชลประทาน

วิทยาลัยการชลประทาน เป็นหน่วยงานในสังกัดกรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดยมีการผลิตบัณฑิตด้านวิศวกรรมโยธา-ชลประทาน สมทบกับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และวิทยาลัยการชลประทาน · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาศาสตร์

วิทยาศาสตร์ คำว่า "วิทยาศาสตร์" มักถูกใช้เพื่อแทนคำว่า "Science" ในภาษาอังกฤษ แต่ถ้าจะกล่าวให้ตรงความหมายแล้ว เราใช้คำว่า "วิทยาศาสตร์" เพื่อหมายถึง "Exact science" ซึ่งไม่รวมสาขาวิชาทางสังคมศาสตร์เอาไว้ แม้ว่าสาขาวิชาทางสังคมศาสตร์จะใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์เช่นเดียวกัน การแบ่งแยกดังกล่าวมีขึ้นเนื่องจากความแตกต่างในด้านเนื้อหาและธรรมชาติของการศึกษา มิใช่เรื่องของความจริงหรือความถูกต้องแต่อย่างใด คำว่า "Science" ในภาษาอังกฤษจะมีความหมายเทียบเท่ากับคำว่า "ศาสตร์" หมายถึง ความรู้เกี่ยวกับสิ่งต่าง ๆ ในธรรมชาติทั้งที่มีชีวิตและไม่มีชีวิต รวมทั้งกระบวนการประมวลความรู้เชิงประจักษ์ ที่เรียกว่ากระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และกลุ่มขององค์ความรู้ที่ได้จากกระบวนการดังกล่าว การศึกษาในด้านวิทยาศาสตร์ยังถูกแบ่งย่อยออกเป็น วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ และ วิทยาศาสตร์ประยุกต์ คำว่า science ในภาษาอังกฤษ ซึ่งแปลว่า วิทยาศาสตร์นั้น มาจากภาษาลาติน คำว่า scientia ซึ่งหมายความว่า ความรู้ ในคริสต์ศตวรรษที่ 17 ฟรานซิส เบคอนได้พยายามคิดค้นวิธีมาตรฐานในการอุปนัย เพื่อนำมาใช้สร้างทฤษฎีหรือกฎต่าง ๆ ทางวิทยาศาสตร์จากข้อมูลที่ทดลองหรือสังเกตได้จากธรรมชาติ เป็นผู้ถอนรื้อและปรับปรุงแนวความคิดเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์สมัยเก่า ที่ยึดกับแนวความคิดของอริสโตเติลทิ้งไป.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และวิทยาศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

วิทยานิพนธ์

วิทยานิพนธ์, ปริญญานิพนธ์ หรือ ดุษฎีนิพนธ์ (thesis หรือ dissertation) เป็นเอกสารที่เขียนโดยนักวิจัย นักศึกษา หรือนักวิชาการ พรรณนาขั้นตอน วิธีการ และผลการศึกษาวิจัยที่ค้นคว้าวิจัยมาได้ โดยเขียนอย่างเป็นระบบ มีแบบแผน สำหรับนักศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา วิทยานิพนธ์เป็นเอกสารบังคับในการจบการศึกษา สำหรับนักวิจัยหรือนักวิชาการจะใช้เป็นเอกสารในการเลื่อนตำแหน่งทางวิชาการ.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และวิทยานิพนธ์ · ดูเพิ่มเติม »

ศรีรัศมิ์ สุวะดี

ลตรีหญิง ท่านผู้หญิงศรีรัศมิ์ สุวะดี (9 ธันวาคม พ.ศ. 2514) หรือเดิม พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีรัศมิ์ พระวรชายาในสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และศรีรัศมิ์ สุวะดี · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาอิสลาม

นาอิสลาม (Islam) เป็นศาสนาเอกเทวนิยมและศาสนาอับราฮัม บัญญัติไว้ในคัมภีร์อัลกุรอาน คัมภีร์ศักดิ์สิทธิ์ของอิสลามซึ่งสาวกถือว่าเป็นพระวจนะคำต่อคำของพระเป็นเจ้า (อัลลอฮฺ) และสำหรับสาวกส่วนใหญ่ เป็นคำสอนและตัวอย่างเชิงบรรทัดฐาน (เรียกว่า สุนัต และประกอบด้วยหะดีษ) ของมุฮัมมัด (ประมาณ 570–8 มิถุนายน 632)เป็นศาสดา (นบี) องค์สุดท้ายของพระเป็นเจ้า สาวกของศาสนาอิสลาม เรียกว่า มุสลิม มุสลิมเชื่อว่า พระเจ้าเป็นหนึ่งและหาที่เปรียบไม่ได้ และจุดประสงค์ของการดำรงอยู่ คือ เพื่อรักและรับใช้พระเป็นเจ้า มุสลิมยังเชื่อว่า ศาสนาอิสลามเป็นบรรพศรัทธาฉบับสมบูรณ์และเป็นสากลที่สุดซึ่งได้ประจักษ์มาหลายครั้งก่อนหน้านั้น ผ่านศาสดาซึ่งรวมอาดัม โนอาห์ อับราฮัม โมเสส และพระเยซู พวกเขายึดมั่นว่า สารและวิวรณ์ถูกแปลผิดหรือเปลี่ยนแปลงบางส่วนตามกาลดู.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และศาสนาอิสลาม · ดูเพิ่มเติม »

ศึกษาศาสตร์

ศึกษาศาสตร์ เป็นการศึกษาว่าด้วยการสร้างพื้นฐานและความรู้ของการเป็นครู ประกอบด้วยวิชาการศึกษาเป็นต้น หมวดหมู่:จิตวิทยาการศึกษา หมวดหมู่:การศึกษา.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และศึกษาศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

ศูนย์บริการประกันคุณภาพอาหาร

ูนย์บริการประกันคุณภาพอาหาร สถาบันค้นคว้าและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร เป็นหน่วยงานในสังกัด มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และศูนย์บริการประกันคุณภาพอาหาร · ดูเพิ่มเติม »

ศูนย์วิจัยและพัฒนาอาชีพแก่เกษตรกร จังหวัดลพบุรี

หลังมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ได้ขยายกิจการ และเตรียมพื้นที่การเรียนการสอนสำรองการขยายขีดความสามารถในการเรียน การสอน และวิจัย ณ วิทยาเขตกำแพงแสนแล้ว โครงการจัดตั้งวิทยาเขตลพบุรีก็เป็น 1 ใน 5 ของโครงการจัดตั้งวิทยาเขตของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โดยมี วิทยาเขตศรีราชา วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติจังหวัดสกลนคร วิทยาเขตสุพรรณบุรี วิทยาเขตลพบุรี และวิทยาเขตกระบี่ เพื่อขยายโอกาสอุดมศึกษาไปยังภูมิภาค จนสามารถดำเนินการเรียนการสอนได้ในวิทยาเขตศรีราชา พ.ศ. 2539 วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติจังหวัดสกลนคร พ.ศ. 2543.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และศูนย์วิจัยและพัฒนาอาชีพแก่เกษตรกร จังหวัดลพบุรี · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี

ตราจารย์ พลเอกหญิง พลเรือเอกหญิง พลอากาศเอกหญิง สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี (4 กรกฎาคม พ.ศ. 2500) พระราชธิดาพระองค์เล็กในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช กับสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ และเป็นพระขนิษฐภคินีในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ประสูติเมื่อวันพฤหัสบดีที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2500 ณ พระที่นั่งอัมพรสถาน ในพระราชวังดุสิตสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณ์วลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี มีพระธิดา 2 พระองค์ คือ พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าสิริภาจุฑาภรณ์ และพระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าอทิตยาทรกิติคุณ พระองค์ทรงเป็นเจ้าฟ้านักวิทยาศาสตร์ผู้มีผลงานดีเด่นของโลกในสาขาสารเคมีก่อมะเร็ง และพิษวิทยาสิ่งแวดล้อม ทรงก่อตั้งสถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ ขึ้นเมื่อวันที่ 1 ธันวาคม..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

ตราจารย์ พลเอกหญิง พลเรือเอกหญิง พลอากาศเอกหญิง นายกองใหญ่ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (2 เมษายน พ.ศ. 2498) เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ และเป็นพระโสทรกนิษฐภคินีในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันเสาร์ที่ 2 เมษายน..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี · ดูเพิ่มเติม »

สฤษดิ์ ธนะรัชต์

อมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ (16 มิถุนายน พ.ศ. 2451 — 8 ธันวาคม พ.ศ. 2506) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 11, รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม, ผู้บัญชาการทหารบกและอธิบดีกรมตำรวจ เป็นผู้ริเริ่มการจัดทำแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เป็นผู้ก่อตั้งสำนักงบประมาณ เป็นผู้ก่อตั้งธนาคารทหารไทย และบริษัท ทิพยประกันภัย จำกัด เจ้าของคำพูดที่ว่า "พบกันใหม่เมื่อชาติต้องการ" และ "ข้าพเจ้าขอรับผิดชอบแต่เพียงผู้เดียว" พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ เป็นผู้รักษาพระนครฝ่ายทหาร ใน วันที่ 16 กันยายน..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และสฤษดิ์ ธนะรัชต์ · ดูเพิ่มเติม »

สวนอัมพร

อาคารใหม่ สวนอัมพร สวนอัมพร เป็นสถานที่จัดงานอยู่บริเวณด้านหน้าลานพระบรมรูปทรงม้า ถนนอู่ทองใน แขวงดุสิต เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร ตรงกลางเป็นสระน้ำขนาดใหญ่รูปวงกลม มีน้ำพุ มีอาคารจัดงาน และเวทีการแสดงกลางแจ้ง สวนอัมพรอยู่ภายใต้การดูแลของสำนักพระราชวัง สวนอัมพร สร้างขึ้นในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นที่รู้จักกันว่าเป็นแหล่งลีลาศของหนุ่มสาวในสมัยนั้น นอกจากนั้นยังเป็นสถานที่จัดงานกาชาด, งานเมาลิดกลาง เป็นประจำทุกปี เป็นสถานที่จัดงานพิธีพระราชทานปริญญาบัตรของสถาบันการศึกษาหลายแห่ง เช่น มหาวิทยาลัยมหิดล มหาวิทยาลัยรามคำแหง มหาวิทยาลัยสวนดุสิต มหาวิทยาลัยราชภัฏ มหาวิทยาลัยรัตนบัณฑิต สวนอัมพรยังเคยเป็นสถานที่จัดงานมอเตอร์โชว์ อย่างต่อเนื่องทุกปีตั้งแต่ครั้งที่ 2 เมื่อ..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และสวนอัมพร · ดูเพิ่มเติม »

สังคมศาสตร์

กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ (social science) คือ สาขาวิชาที่ใช้ระเบียบวิธีทางวิทยาศาสตร์เพื่อศึกษาโลกในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ หน่วยสังคมต่าง ๆ ของมนุษย์ รวมทั้งพฤติกรรมของมนุษย์ในแง่มุมต่าง ๆ วิชาในสังคมศาสตร์แตกต่างจากวิชาในกลุ่มมนุษยศาสตร์ เนื่องจากหลาย ๆ สาขาวิชาในสังคมศาสตร์เน้นการหาความรู้และความสัมพันธ์ของปัจจัยต่าง ๆ ที่ส่งผลต่อการดำเนินพฤติกรรมของมนุษย์และปรากฏการณ์ทางสังคมด้วยกระบวนการแบบปฏิฐานและประจักษ์นิยม ทั้งเชิงปริมาณ (quantitative method) และเชิงคุณภาพ (qualitative method) อย่างเป็นวิทยาศาสตร์ อย่างไรก็ตาม บางสาขาก็อาจจะนำระเบียบวิธีเชิงคุณภาพแบบการตีความ การคาดการณ์ วิเคราห์ตามหลักปรัชญาและตรรกะ หรือความเชื่อส่วนบุคคล และการวิจารณ์มาใช้ในการอธิบายพฤติกรรมในบางกรณีที่เหมาะสมหากจำเป็น อย่างไรก็ตาม ระเบียบวิธีการศึกษาทางสังคมศาสตร์แบบใหม่ได้รับอิทธิพลจากสังคมศาสตร์แบบอเมริกันอย่างมาก ทำให้การศึกษาแบบปฏิฐานนิยมได้รับความนิยมและการยอมรับมากกว่าระเบียบวิธีแบบเก่าที่คล้ายคลึงกับสาขามนุษยศาสตร์ พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ (2529: 129) ทรงกล่าวถึงความหมายของสังคมศาสตร์และขอบเขตของการศึกษาวิชานี้ไว้ว่า สังคมศาสตร์เป็นวิชาที่เกี่ยวกับวิถีชีวิตของมนุษย์ในทางสังคม เศรษฐกิจ และการเมือง ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ตามความเป็นจริง สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 กลุ่มใหญ่ คือ.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และสังคมศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย

ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว. หรือ TRF) เป็นองค์การมหาชน ประเภทจัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติเฉพาะ ขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรี.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย · ดูเพิ่มเติม »

สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (ประเทศไทย)

ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา: สกอ.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

สำนักนายกรัฐมนตรี (ประเทศไทย)

ำนักนายกรัฐมนตรี เป็นส่วนราชการของรัฐบาลไทย มีฐานะเทียบเท่ากระทรวง ขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรี มีอำนาจหน้าที่ไม่เกี่ยวกับราชการทั่วไปของนายกรัฐมนตรีและคณะรัฐมนตรี รับผิดชอบการบริหารราชการทั่วไป เสนอแนะนโยบายและการวางแผนการพัฒนาด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และความมั่นคง และราชการเกี่ยวกับการงบประมาณ ระบบราชการ การบริหารงานบุคคล กฎหมายและการพัฒนากฎหมาย การติดตามและประเมินผลการปฏิบัติราชการ การส่งเสริมการลงทุน การบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ การปฏิบัติภารกิจพิเศษและราชการอื่นตามที่กฎหมายกำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ ของสำนักนายกรัฐมนตรีหรือส่วนราชการที่สังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี หรือที่มิได้อยู่ภายในอำนาจหน้าที่ของกระทรวงใดโดยเฉ.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และสำนักนายกรัฐมนตรี (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

สืบ นาคะเสถียร

ืบ นาคะเสถียร (31 ธันวาคม พ.ศ. 2492 - 1 กันยายน พ.ศ. 2533) เป็นนักอนุรักษ์และนักวิชาการด้านทรัพยากรธรรมชาติชาวไทย มีชื่อเสียงจาการพยายามปกป้องแก่งเชี่ยวหลานและเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าทุ่งใหญ่-ห้วยขาแข้ง และฆ่าตัวตายเพื่อเรียกร้องให้สังคมเห็นความสำคัญของการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาต.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และสืบ นาคะเสถียร · ดูเพิ่มเติม »

สีเขียว

ีเขียว เป็นสีสีหนึ่งบนคลื่นที่ตามองเห็น ตั้งอยู่ระหว่างสีน้ำเงินและสีเหลือง สีเขียวเกิดจากแสงที่ความยาวคลื่นประมาณ 495-570 นาโนเมตร สีเขียวในแม่สีเชิงลบที่ใช้สำหรับระบายสีและพิมพ์สีเกิดจากสีเหลืองผสมกับสีน้ำเงิน หรือสีเหลืองผสมกับสีน้ำเงินอมเขียว ในระบบสี RGB ที่พบในโทรทัศน์และจอคอมพิวเตอร์ เป็นสีที่มาจากแม่สีเชิงบวก ร่วมกับสีแดงและสีน้ำเงิน ซึ่งต่างก็ผสมกันจนกลายเป็นสีอื่น ๆ ได้ ในภาษาอังกฤษใหม่ คำว่า green (สีเขียว) มาจากคำภาษาอังกฤษกลางว่า grene จากรากศัพท์ภาษาเยอรมันเดียวกันกับคำว่าคำว่า "grass" และ "grow" สีเขียวเป็นสีของการปลูกหญ้าและใบไม้ ด้วยเหตุนี้สีเขียวจึงเป็นสีของฤดูใบไม้ผลิ ความเจริญเติบโต และธรรมชาติEva Heller, Psychologie de la couleur- effets et symboliques.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และสีเขียว · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐ

ันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐ (national university) หรือที่เรียกว่า มหาวิทยาลัยนอกระบบ คือสถาบันอุดมศึกษาของรัฐที่มีการบริหารการจัดการอิสระแยกจากระบบราชการ (autonomous university) แต่ยังได้รับเงินอุดหนุนทั่วไป (block grant) ที่รัฐจัดสรรให้เป็นรายปีโดยตรง เพื่อใช้จ่ายตามความจำเป็นในการดำเนินการตามวัตถุประสงค์ของมหาวิทยาลัย และเพื่อประกันคุณภาพการศึกษ.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และสถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

สถาปัตยกรรมศาสตร์

ปัตยกรรมศาสตร์ เป็นการศึกษาสถาปัตยกรรมที่ผสมผสานเทคนิควิทยาการทั้งทางวิทยาศาสตร์ ศิลปะ และวัฒนธรรม เข้าด้วยกัน เพื่อตอบสนองความต้องการในการดำรงชีวิตของมนุษย์ ในด้านสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่อาศัย วัฒนธรรม ความเป็นอยู่ของคนในพื้นที่นั้น สนองตอบในเชิงจิตวิทยา ซึ่งผู้ออกแบบต้องเข้าใจความต้องการในการใช้พื้นที่นั้น ๆ อย่างลึกซึ้งอันมีผลกับการออกแบบที่ดี และไม่ดี หรืออาจกล่าวได้ว่าเป็นศิลปวิทยาการ ในการออกแบบอาคารและสิ่งเกี่ยวเนื่อง เพื่อพัฒนาสภาพแวดล้อมทางกายภาพให้เหมาะสมในการดำรงชีวิตของมนุษย์ โดยครอบคลุมตั้งแต่ระดับมหัพภาค ถึงจุลภาค เช่น การวางผังชุมชน การออกแบบชุมชน ภูมิสถาปัตยกรรม สถาปัตยกรรมศาสตร์เป็นสาขาวิชาที่จะต้องเรียนรู้เกี่ยวกับสิ่งที่เกี่ยวข้องกับมนุษย์ในหลายด้าน ไม่ว่าจะเป็นเรื่องรูปแบบศิลปะ เรื่องของชุมชน เรื่องของพฤติกรรมมนุษย์ และเรื่องอื่นที่เกี่ยวข้องอีกมากมาย ถือเป็นศาสตร์ที่มีศาสตร์อื่นมาเกี่ยวข้องเป็นจำนวนมาก จนยากที่จะสรุปลงไปได้ว่ามี ศาสตร์สาขาใดมาเกี่ยวข้องบ้าง.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

สง่า สรรพศรี

ตราจารย์ สง่า สรรพศรี (วันจันทร์ ที่ 9 มกราคม พ.ศ. 2475 - 29 มกราคม พ.ศ. 2542) เกิดที่ จ.เชียงใหม่ เป็นบุตรของนายมุ่ง และนางอุสา สรรพศรี สมรสกับ ร.วชิรา สรรพศรี มีบุตร 1 คน คือ ร.ดร.ชโยดม สรรพศรี คณบดีคณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั.ดร.สง่า สรรพศรี เคยดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม สมาชิกวุฒิสภา และตำแหน่งทางวิชาการอื่นๆ หลายตำแหน่ง.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และสง่า สรรพศรี · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมหลวงชูชาติ กำภู

หม่อมหลวงชูชาติ กำภู (4 มกราคม พ.ศ. 2448-13 เมษายน พ.ศ. 2512) ผู้ก่อตั้งโรงเรียนชลประทานวิทยา และวิทยาลัยการชลประทาน อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพัฒนาการแห่งชาติ และดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีจนถึงแก่อนิจกรรมในขณะดำรงตำแหน่ง ในวันคล้ายวันเกิดของหม่อมหลวงชูชาติ โรงเรียนชลประทานวิทยาและวิทยาลัยการชลประทานได้กำหนดให้วันที่ 4 มกราคมของทุกปี เป็นวันงานพิธีไหว้ครู เพื่อระลึกถึงพระคุณของครู และพระคุณของหม่อมหลวงชูชาติ ผู้ก่อตั้งโรงเรียน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และหม่อมหลวงชูชาติ กำภู · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าสิทธิพร กฤดากร

หม่อมเจ้าสิทธิพร กฤดากร (10 เมษายน พ.ศ. 2426 — 22 มิถุนายน พ.ศ. 2514) พระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากฤษดาภินิหาร กรมพระนเรศร์วรฤทธิ์ ที่ประสูติแต่ หม่อมสุภาพ กฤดากร ณ อยุธยา ทรงได้รับการยกย่องเป็น บิดาแห่งการเกษตรแผนใหม่ หม่อมเจ้าสิทธิพร เสด็จไปศึกษาต่อที่ประเทศอังกฤษตั้งแต่ทรงพระเยาว์ ทรงศึกษาวิชาวิศวกรรมศาสตร์ ที่กรุงลอนดอน เริ่มรับราชการที่กระทรวงพระคลัง เมื่อ..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และหม่อมเจ้าสิทธิพร กฤดากร · ดูเพิ่มเติม »

หลวงยุทธศาสตร์โกศล (ประยูร ยุทธศาสตร์โกศล)

อมพลเรือ หลวงยุทธศาสตร์โกศล หรือ จอมพลเรือ ประยูร ยุทธศาสตร์โกศล อดีตผู้บัญชาการทหารเรือ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตราธิการ กระทรวงสหกรณ์ กระทรวงวัฒนธรรม และรองนายกรัฐมนตรี จอมพลเรือ หลวงยุทธศาสตร์โกศล มีนามเดิมว่า ประยูร ศาสตระรุจิ ดำรงตำแหน่งผู้บัญชาการทหารเรือ ระหว่างวันที่ 1 ธันวาคม..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และหลวงยุทธศาสตร์โกศล (ประยูร ยุทธศาสตร์โกศล) · ดูเพิ่มเติม »

หลวงสินธุสงครามชัย (สินธุ์ กมลนาวิน)

ลเรือเอก หลวงสินธุสงครามชัย มีชื่อจริงว่า สินธุ์ กมลนาวิน อธิการบดีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คนแรก รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ คนแรก ภายหลังเปลี่ยนชื่อจากกระทรวงธรรมการเป็นกระทรวงศึกษาธิการ, อดีตผู้บัญชาการทหารเรือ, แม่ทัพเรือ หนึ่งในสมาชิกคณะราษฎร และเป็นหัวหน้าคณะราษฎรสายทหารเรือ.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และหลวงสินธุสงครามชัย (สินธุ์ กมลนาวิน) · ดูเพิ่มเติม »

หลวงสุวรรณวาจกกสิกิจ (ทองดี เรศานนท์)

อนุสาวรีย์หลวงสุวรรณวาจกกสิกิจ (ทองดี เรศานนท์) ที่อนุสาวรีย์สามบูรพาจารย์ หน้าอาคารสถาบันเกษตราธิการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพมหานคร หลวงสุวรรณวาจกกสิกิจ นามเดิม ทองดี เรศานนท์ (10 มีนาคม พ.ศ. 2435 - 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2506) ผู้ร่วมก่อตั้งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ อดีตอธิบดีกรมเกษตรและกรมประมง..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และหลวงสุวรรณวาจกกสิกิจ (ทองดี เรศานนท์) · ดูเพิ่มเติม »

หลวงสุนาวินวิวัฒน์ (พิศาล สุนาวินวิวัฒน์)

ลเรือโท หลวงสุนาวินวิวัฒน์ (พิศาล สุนาวินวิวัฒน์) เป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตร รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม และรัฐมนตรีไม่ได้ประจำกระทรวงในรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และหลวงสุนาวินวิวัฒน์ (พิศาล สุนาวินวิวัฒน์) · ดูเพิ่มเติม »

หลวงอิงคศรีกสิการ (อินทรี จันทรสถิตย์)

ตราจารย์พิเศษ อินทรี จันทรสถิตย์ หรือ หลวงอิงคศรีกสิการ (14 กันยายน พ.ศ. 2442 - 1 มกราคม พ.ศ. 2532) เป็นหนึ่งในผู้ก่อตั้งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และเคยดำรงตำแหน่งอธิการบดีและนายกสภามหาวิทยาลัย อดีตอธิบดีกรมเกษตร และเป็นอดีตรัฐมนตรีกระทรวงเกษตราธิการในสมัยรัฐบาลธานินทร์ กรัยวิเชียร.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และหลวงอิงคศรีกสิการ (อินทรี จันทรสถิตย์) · ดูเพิ่มเติม »

หลัก 6 ประการของคณะราษฎร

ลากลางจังหวัดพระนครศรีอยุธยา สถาปัตยกรรมแบบคณะราษฎร มีเสาใหญ่หกเสาด้านหน้า ซึ่งอ้างอิงถึงหลักหกประการของคณะราษฎร หลัก 6 ประการของคณะราษฎร หรือที่นิยมเรียกอย่างสั้นว่า หลัก 6 ประการ เป็นเนื้อหาส่วนหนึ่งในประกาศคณะราษฎร ฉบับที่ 1คณะราษฎร, ประกาศคณะราษฎร ฉบับที่ ๑, วิกิซอร์ซ และถือเป็นนโยบายของคณะกรรมการราษฎรชุดแรก ในระบอบประชาธิปไตยของประเทศสยาม ซึ่งนำโดยพระยามโนปกรณ์นิติธาดา คณะกรรมการราษฎรนี้ ไม่มีการแถลงนโยบาย การบริหารราชการแผ่นดินต่อสภาผู้แทนราษฎร แต่ถือเอาหลัก 6 ประการของคณะราษฎร ที่กำหนดให้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ใช้ปฏิญาณตนต่อที่ประชุมก่อนเข้ารับหน้าที่นั้น เป็นนโยบายของรัฐบาล หลัก 6 ประการของคณะราษฎรซึ่งสรุปคำใจความหลักได้ว่า "เอกราช ปลอดภัย เศรษฐกิจ เสมอภาค เสรีภาพ การศึกษา"เด็กชายก้อง,, มติชน, 4 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และหลัก 6 ประการของคณะราษฎร · ดูเพิ่มเติม »

ห้องสมุด

ั้นวางหนังสือในห้องสมุด ห้องสมุด คือแหล่งสารนิเทศ บริการทรัพยากรสารนิเทศในรูปแบบต่างๆ เช่น หนังสือ วารสาร หนังสือพิมพ์ จุลสาร กฤตภาค วัสดุเทป และโทรทัศน์ ซีดีรอม วีซีดี ดีวีดี โดยมีบรรณารักษ์เป็นผู้ดำเนินงาน และบริหารงานต่างๆ ในห้องสมุด โดยจัดระบบเป็นหมวดหมู่ และระเบียบเรียบร้อย เพื่อให้ผู้ใช้ห้องสมุดมีความสะดวกสืบค้นได้ง่ายและตรงกับความต้องการ ห้องสมุดในปัจจุบัน ทำหน้าที่เก็บรวบรวม จัดระบบ เพื่อให้บริการสื่อสารนิเทศต่าง ๆ ตลอดจนถึงเทคโนโลยีทางคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีทางการสื่อสาร อีกทั้งยังมีเครื่องมือในการค้นหาและดำเนินการให้บริการสื่อต่างๆ เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ผู้ใช้ห้องสม.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และห้องสมุด · ดูเพิ่มเติม »

อักษรย่อ

อักษรย่อ หรือ คำย่อ หรือ รัสพจน์ เป็นการนำอักษรบางตัวในคำหนึ่งๆ ใช้เรียกแทนคำเต็ม โดยมากจะเป็นพยัญชนะ อาจใส่จุดหรือไม่ใส่หลังอักษรนั้นๆ นิยมนำอักษรต้นพยางค์ แต่บางครั้งก็มีการใช้อักษรท้ายพยางค์ก็มี และบางครั้งอักษรย่อก็สามารถอ่านได้เป็นพยางค์ใหม่ ในภาษาไทย เมื่ออักษรย่อมีตั้งแต่ 2 ตัวขึ้นไป จะใส่จุดที่ตัวสุดท้ายเพียงจุดเดียว (ไม่ใส่ทีละอักษร) ยกเว้นบางตัวที่เคยมีใช้กันมาก่อนจนเป็นที่ยอมรับแล้ว เช่น น..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และอักษรย่อ · ดูเพิ่มเติม »

อันดับสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย

อันดับสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทยในที่นี้ เป็นการจัดอันดับสถาบันอุดมศึกษาของประเทศไทยโดยหน่วยงานของไทยเอง และนิตยสารของต่างประเทศ สำหรับหน่วยงานของไทย ในปี พ.ศ. 2549 นี้ ทางกระทรวงศึกษาธิการได้จัดให้มีการจัดลำดับมหาวิทยาลัยรัฐในประเทศไทยเป็นครั้งแรก โดย 2 หน่วยงาน คือ สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) และ สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) สำหรับในต่างประเทศได้มีการจัดทำอันดับมหาวิทยาลัยทั่วโลกจากทั้ง นิตยสารไทมส์ไฮเออร์เอดูเคชันซัปพลีเมนต์ นิตยสารเอเชียวีก บริษัท แควกเควเรลลี ไซมอนด์ส จำกัด, CWTS, CWUR ฯลฯ รวมทั้งการจัดอันดับความเป็นอิเล็กทรอนิกส์และการเข้าถึงเว็บไซต์ของมหาวิทยาลัยจากเว็บไซต์เว็บโอเมตริกซ์ โดยมหาวิทยาลัยในประเทศไทยบางส่วนได้ถูกเสนอชื่อเข้าไปในนั้น ในขณะที่บางลำดับเช่นจาก มหาวิทยาลัยเซี่ยงไฮ้เจียวถง ไม่มีรายชื่อมหาวิทยาลัยในประเทศไทยแต่อย่างใ.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และอันดับสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

อำพล เสนาณรงค์

อำพล เสนาณรงค์ อดีตองคมนตรี, นายกสภามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในรัฐบาลนายอานันท์ ปันยารชุน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และอำพล เสนาณรงค์ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอ

อำเภอ เป็นหน่วยการปกครองระดับที่สองในประเทศไทย ลำดับรองมาจากจังหวัด จัดตั้งขึ้นโดยการตราเป็นพระราชกฤษฎีกา มีฐานะเป็นราชการบริหารส่วนภูมิภาค ตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน มีนายอำเภอ เป็นหัวหน้าปกครอง โดยในแต่ละอำเภอจะแบ่งส่วนย่อยออกเป็น ตำบล ในปัจจุบันประเทศไทยมี 878 อำเภอใน 76 จังหวัด ซึ่งไม่รวม 50 เขตของกรุงเทพมหานคร ตั้งแต่การเปลี่ยนแปลงการบริหารกรุงเทพมหานครในปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และอำเภอ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอบางสะพานน้อย

งสะพานน้อย เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดประจวบคีรีขัน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และอำเภอบางสะพานน้อย · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอบางปลาม้า

อำเภอบางปลาม้า เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดสุพรรณบุรี ก่อตั้งขึ้นเมื่อ..2440 ตั้งอยู่ในบริเวณลุ่มแม่น้ำท่าจีนตอนใต้ มีเนื้อที่ 482.954 ตร.กม.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และอำเภอบางปลาม้า · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอกำแพงแสน

กำแพงแสน เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดนครปฐม.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และอำเภอกำแพงแสน · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอศรีราชา

อำเภอศรีราชา เป็นอำเภอขนาดใหญ่แห่งหนึ่งในจังหวัดชลบุรี.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และอำเภอศรีราชา · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอสันทราย

ันทราย (35px) เป็นอำเภอหนึ่งในเขตปริมณฑลของนครเชียงใหม่ที่มีการเติบโตอย่างรวดเร็ว เป็นอำเภอที่รองรับความเจริญจากนครเชียงใหม่ ปัจจุบันอำเภอสันทราย มีสถานะเป็นอำเภอขนาดใหญ่ลำดับที่ 2 ของจังหวัดในแง่ของจำนวนประชากร รองจากอำเภอเมืองเชียงใหม่ สถานประกอบการ ที่มีมากรองจากอำเภอเมืองเชียงใหม่ การขยายตัวของชุมชนเมืองแม่โจ้ ทำให้อำเภอสันทราย มีความพร้อมทุกๆด้าน ทั้งสถานศึกษา สถานประกอบการ บ้านจัดสรร จากการเติบโตอย่างต่อเนื่อง อำเภอสันทราย ถูกกำหนดบทบาทให้เป็นอำเภอที่รองรับในด้านแหล่งที่อยู่อาศัยที่สำคัญของจังหวัดเชียงใหม.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และอำเภอสันทราย · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเมืองสกลนคร

มืองสกลนคร เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดสกลนคร.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และอำเภอเมืองสกลนคร · ดูเพิ่มเติม »

อิเล็กทรอนิกส์

อิเล็กทรอนิกส์ (Electronics) เป็นเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับวงจรไฟฟ้าที่ประกอบด้วยอุปกรณ์ไฟฟ้าที่เป็น active component เช่นหลอดสูญญากาศ, ทรานซิสเตอร์, ไดโอด และ Integrated Circuit และ ชิ้นส่วน พาสซีฟ (passive component) เช่น ตัวนำไฟฟ้า, ตัวต้านทานไฟฟ้า, ตัวเก็บประจุ และคอยล์ พฤติกรรมไม่เชิงเส้นของ active component และความสามารถในการควบคุมการไหลของอิเล็กตรอนทำให้สามารถขยายสัญญาณอ่อนๆให้แรงขึ้นเพื่อการสื่อสารทางภาพและเสียงเช่นโทรเลข, โทรศัพท์, วิทยุ, โทรทัศน์ เป็นต้น อิเล็กทรอนิกส์ถูกใช้กันอย่างแพร่หลายในการสื่อสารข้อมูลโทรคมนาคม ความสามารถของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ทำหน้าที่เป็นสวิทช์ปิดเปิดวงจรถูกนำไปใช้ในวงจร ลอจิกเกต ซึ่งเป็นส่วนสำคัญหลักในระบบคอมพิวเตอร์ นอกจากนั้น วงจรอิเล็กทรอนิกส์ยังถูกนำไปใช้ผลิตเครื่องใช้ไฟฟ้าในครัวเรือน ในการส่งพลังงานไฟฟ้าเป็นระยะทางไกลๆ การผลิตพลังงานทดแทน และอุตสาหกรรมต่างๆอีกมาก อิเล็กทรอนิกส์แตกต่างจากวิทยาศาสตร์ไฟฟ้าและเทคโนโลยีเครื่องกลไฟฟ้า โดยจะเกี่ยวข้องกับการสร้าง, การกระจาย, การสวิทช์, การจัดเก็บและการแปลงพลังงานไฟฟ้าไปและมาจากพลังงานรูปแบบอื่น ๆ โดยใช้สายไฟ, มอเตอร์, เครื่องกำเนิดไฟฟ้า, แบตเตอรี่, สวิตช์, รีเลย์, หม้อแปลงไฟฟ้า ตัวต้านทานและส่วนประกอบที่เป็นพาสซีพอื่นๆ ความแตกต่างนี้เริ่มราวปี 1906 เป็นผลจากการประดิษฐ์ไตรโอดโดยลี เดอ ฟอเรสท์ ซึ่งใช้ขยายสัญญาณวิทยุที่อ่อนๆได้ ทำให้เกิดการออกแบบและพัฒนาระบบการรับส่งสัญญาณเสียงและหลอดสูญญากาศ จึงเรียกสาขานี้ว่า "เทคโนโลยีวิทยุ" จนถึงปี 1950 ปัจจุบัน อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ส่วนใหญ่ ใช้ชิ้นส่วนสารกึ่งตัวนำเพื่อควบคุมการทำงานของอิเล็กตรอน การศึกษาเกี่ยวกับอุปกรณ์สารกึ่งตัวนำและเทคโนโลยีโซลิดสเตต ในขณะที่การออกแบบและการสร้างวงจรอิเล็กทรอนิกส์ในการแก้ปัญหาในทางปฏิบัติอยู่ภายใต้สาขาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ บทความนี้มุ่งเน้นด้านวิศวกรรมของ.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และอิเล็กทรอนิกส์ · ดูเพิ่มเติม »

อุดมศึกษา

อุดมศึกษา หมายถึง ระดับการศึกษารองจากระดับมัธยมศึกษา คำว่า อุดมศึกษา มีรากศัพท์มาจากศัพท์ภาษาบาลี "อุตม" หมายถึง สูงสุด และศัพท์ภาษาสันสกฤต ศิกฺษา หมายถึง การเล่าเรียน ดังนั้น คำว่า "อุดมศึกษา" จึงหมายถึง การเรียนขั้นสูง.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และอุดมศึกษา · ดูเพิ่มเติม »

อุตสาหกรรม

อุตสาหกรรม (Industry) เป็นคำจำกัดความที่ใช้กับกิจกรรมที่ใช้ทุนและแรงงาน เพื่อที่จะผลิตสิ่งของ หรือ จัดให้มีบริการ เช่น อุตสาหกรรมสิ่งทอ ในยุควิกตอเรีย นักประวัติศาสตร์เรียกช่วงเวลานั้นว่า การปฏิวัติอุตสาหกรรม โดยมีการผลิตเครื่องทุ่นแรงต่าง ๆ มากมาย และ ทำให้อุตสาหกรรมเจริญรุดหน้าอย่างรวดเร็วและมีระเบียบ เป็นมาตรฐานเดียวกันทั้งหมด นอกจากนี้ การปฏิวัติอุตสาหกรรมยังเกี่ยวของกับลัทธิสังคมนิยมของคาร์ล มาร์กซ (ลัทธิมาร์กซ) อีกด้วย ในปัจจุบันอุตสาหกรรมถือเป็นสิ่งหนึ่งที่จำเป็นต่อมนุษย์อย่างยิ่ง ด้วยว่ามนุษย์ต้องพึ่งพาการผลิตสิ่งที่จำเป็นต่อชีวิตประจำวัน หรือเรียกรวมว่าปัจจัยสี่ โดยสิ่งที่สามารถผลิตปัจจัยสี่ให้ดี มีคุณภาพและไม่ก่ออันตราย หรือก่ออันตรายให้กับร่างกายและทรัพย์สินน้อยที่สุด การปั่นด้ายในโรงงานอุตสาหกรรมช่วงยุคปฏิวัติอุตสาหกรรม.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และอุตสาหกรรม · ดูเพิ่มเติม »

อธิการบดี

อธิการบดี เป็นตำแหน่งผู้บังคับบัญชาสูงสุดและรับผิดชอบงานทั้งปวงของมหาวิทยาลั.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และอธิการบดี · ดูเพิ่มเติม »

อนุสาวรีย์สามบูรพาจารย์

อนุสาวรีย์สามบูรพาจารย์ ในปัจจุบัน อนุสาวรีย์สามบูรพาจารย์ หรือ อนุสาวรีย์สามเสือแห่งเกษตร เป็นอนุสาวรีย์รูปเหมือนของสามบูรพาจารย์ผู้ริเริ่มสถาปนาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คือพระช่วงเกษตรศิลปการ (ช่วง โลจายะ) หลวงสุวรรณวาจกกสิกิจ (ทองดี เรศานนท์) และหลวงอิงคศรีกสิการ (อินทรี จันทรสถิตย์) ประดิษฐาน ณ ลานอนุสาวรีย์สามบูรพาจารย์ หน้าสถาบันเกษตราธิการ สำนักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ภายในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และอนุสาวรีย์สามบูรพาจารย์ · ดูเพิ่มเติม »

ผิน ชุณหะวัณ

อมพลผิน ชุณหะวัณ (14 ตุลาคม พ.ศ. 2434 - 26 มกราคม พ.ศ. 2516) เป็นบิดาของพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ เกิดที่ตำบลบางนกแขวก อำเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม เป็นบุตรของนายไข่ และ นางพลับ ชุณหะวัณ ชาวสวนและแพทย์แผนโบราณ มีพี่น้องร่วมบิดามารดาเดียวกัน 8 คน จอมพลผิน ชุณหะวัณ ถึงแก่อสัญกรรมในวันศุกร์ที่ 26 มกราคม..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และผิน ชุณหะวัณ · ดูเพิ่มเติม »

จรูญ สืบแสง

รูญ สืบแสง จรูญ สืบแสง อดีตนักการเมืองชาวไทย และหนึ่งในคณะราษฎร ผู้กระทำการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 นายจรูญ เกิดเมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2447 ที่ตำบลอาเนาะรู อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี เป็นบุตรของขุนวรเวชวิชกิจ (ซุ้ย สืบเแสง) และนางอุ่น สืบแสง มีศักดิ์เป็นน้องชายของนายเจริญ สืบแสง อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.) จังหวัดปัตตานี จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาปีที่ 2 จากโรงเรียนเบญจมราชูทิศ จังหวัดปัตตานี, มัธยมศึกษาปีที่ 6 จากโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย และมัธยมศึกษาปีที่ 8 จากโรงเรียนเทพศิรินทร์ เมื่อ พ.ศ. 2466 และสำเร็จการศึกษาได้รับเกษตรศาสตรบัณฑิต จาก มหาวิทยาลัยฟิลิปปินส์แห่งลอส บานอส ประเทศฟิลิปปินส์ พ.ศ. 2470 นายจรูญ เริ่มรับราชการเมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2471 ในตำแหน่งผู้ช่วยผู้อำนวยการเพาะปลูก กรมเพาะปลูก กระทรวงเกษตราธิการ เมื่อวันที่ 21 ธันวาคม..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และจรูญ สืบแสง · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดชลบุรี

ังหวัดชลบุรี เป็นจังหวัดที่ติดกับอ่าวไทยจังหวัดหนึ่งในภาคตะวันออกของประเทศไทย มีสถานที่ท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงหลายแห่งตั้งอยู่ นอกจากด้านอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวแล้วยังเป็นจังหวัดที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจสำคัญของภาคตะวันออกอย่างมาก นอกจากนั้นยังเป็นทั้งในด้านพาณิชยกรรมและอุตสาหกรรมต่าง ๆ ของประเทศ ในอดีตจังหวัดชลบุรีนั้นเคยเป็นแหล่งที่ตั้งของเมืองท่าที่มีความสำคัญมาก แม้แต่ในปัจจุบันนี้ก็ยังคงเป็นที่ตั้งของท่าเรือที่มีความสำคัญของประเทศรองจากท่าเรือกรุงเทพ นั่นก็คือท่าเรือแหลมฉบัง เนื่องจากมีทำเลที่ตั้งเหมาะสม จังหวัดชลบุรีนั้นมีอาณาเขตติดกับจังหวัดฉะเชิงเทรา จังหวัดระยอง และจังหวัดจันทบุรี.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และจังหวัดชลบุรี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดชัยนาท

ังหวัดชัยนาท เดิมสะกดว่า ไชยนาท เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดต่าง ๆ ตามเข็มนาฬิกาจากทิศเหนือ ได้แก่ จังหวัดนครสวรรค์ จังหวัดสิงห์บุรี จังหวัดสุพรรณบุรี และจังหวัดอุทัยธานี.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และจังหวัดชัยนาท · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

ังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางซึ่งเป็นเขตเศรษฐกิจที่สำคัญ โดยมีผลิตภัณฑ์มวลรวมของจังหวัดมีมูลค่าสูงเป็นอันดับ 3 ของประเทศ และมีประวัติศาสตร์ความเป็นมาที่ยาวนาน เคยมีชื่อเสียงในฐานะเป็นแหล่งปลูกข้าวที่สำคัญ จังหวัดพระนครศรีอยุธยาเป็นจังหวัดที่ไม่มีอำเภอเมือง มีอำเภอพระนครศรีอยุธยาเป็นศูนย์กลางการบริหารจัดการด้านต่าง ๆ ชาวบ้านโดยทั่วไปนิยมเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า "กรุงเก่า" หรือ "เมืองกรุงเก่า".

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และจังหวัดพระนครศรีอยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดพิจิตร

ังหวัดพิจิตร เป็นจังหวัดหนึ่งที่ตั้งอยู่ทางภาคกลางตอนบนระหว่างจังหวัดนครสวรรค์กับจังหวัดพิษณุโลก มีพื้นที่ประมาณ 4,531 ตารางกิโลเมตร มีประชากรในปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และจังหวัดพิจิตร · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดกระบี่

กระบี่ เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคใต้ของประเทศไทย เป็นเมืองท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงแห่งหนึ่งของภาคใต้ มีแหล่งท่องเที่ยวหลายแห่ง เช่น หาดทรายขาว น้ำทะเลใส ปะการัง ถ้ำ และหมู่เกาะน้อยใหญ่กว่า 100 เกาะ และเป็นที่ตั้งของเรือนรับรองที่ประทับแหลมหางน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และจังหวัดกระบี่ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดกาญจนบุรี

ังหวัดกาญจนบุรี เป็นจังหวัดหนึ่งที่ตั้งอยู่ในภาคตะวันตกของประเทศไทย มีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 19,473 ตารางกิโลเมตร มีพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับ 3 ของประเทศ รองจากจังหวัดนครราชสีมา และจังหวัดเชียงใหม่ และมีพื้นที่ใหญ่ที่สุดในภาคตะวันตก มีระยะทางห่างจากกรุงเทพมหานครประมาณ 129 กิโลเมตร มีชายแดนติดต่อกับประเทศพม่าระยะทางประมาณ 370 กิโลเมตร มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดใกล้เคียง ได้แก่ ทิศเหนือ จรดจังหวัดตากและจังหวัดอุทัยธานี ทิศใต้ จรดจังหวัดราชบุรี ทิศตะวันออก จรดจังหวัดสุพรรณบุรีและนครปฐม ทิศตะวันตก จรดประเทศพม.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และจังหวัดกาญจนบุรี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดระยอง

ระยอง เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคตะวันออกของประเทศไทย เป็นจังหวัดที่มีรายได้ประชากรต่อหัวสูงที่สุดในประเทศ และผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดอยู่ในอันดับ 2 ของประเทศไทย เป็นเมืองท่องเที่ยวที่มีแหล่งท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงมากมาย และเป็นเมืองที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจเป็นอย่างมาก ทั้งทางด้านอุตสาหกรรม การท่องเที่ยว และการเกษตรกรรม คำว่าระยองเพี้ยนมาจาก "ราย็อง" เป็นภาษาชองอาจมีความหมายสองอย่าง.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และจังหวัดระยอง · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดราชบุรี

ราชบุรี เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ทางภาคตะวันตก โดยเป็นศูนย์กลางในด้านอุตสาหกรรมแปรรูปสินค้าเกษตร เช่น มะพร้าว ชมพู่ ฝรั่ง มะม่วง และการปศุสัตว์ของประเทศ รวมทั้งเป็นศูนย์กลางในด้านพลังงานของประเทศในปัจจุบัน โดยมีเมืองราชบุรีเป็นศูนย์กลางด้านการปกครอง เศรษฐกิจ และการคมนาคมในภูมิภาค ทิศเหนือติดต่อจังหวัดกาญจนบุรี ทิศใต้ติดต่อจังหวัดเพชรบุรี ทิศตะวันออกติดต่อจังหวัดสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสงคราม และจังหวัดนครปฐม และทิศตะวันตกติดต่อประเทศพม.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และจังหวัดราชบุรี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดลพบุรี

ังหวัดลพบุรี เป็นจังหวัดในภาคกลางของประเทศไทย แบ่งการปกครองออกเป็น 11 อำเภอ มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดอื่นถึง 8 จังหวัด วนตามเข็มนาฬิกาจากทิศเหนือ ได้แก่ จังหวัดเพชรบูรณ์ ชัยภูมิ นครราชสีมา สระบุรี พระนครศรีอยุธยา อ่างทอง สิงห์บุรี และจังหวัดนครสวรรค์ จังหวัดลพบุรีเป็นจังหวัดที่มีพื้นที่อุดมสมบูรณ์เหมาะแก่การเพาะปลูก และมีประวัติศาสตร์ยาวนาน ซึ่งเคยเป็นที่ตั้งศูนย์กลางของอาณาจักรละโว้.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และจังหวัดลพบุรี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสกลนคร

กลนคร หรืออีกชื่อหนึ่งว่า "เมืองหนองหานหลวง" เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนตั้งอยู่ในแอ่งสกลนคร และเป็นศูนย์ปฏิบัติการกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน2 ซึ่งเป็นแหล่งชุมชนตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์สืบเนื่องจวบจนปัจจุบัน ทั้งนี้จังหวัดสกลนครยังเป็นเมืองเก่าแก่ที่มีความสำคัญและหลากหลายในด้านต่างๆโดยเฉพาะทางด้านสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ ประวัติศาสตร์ สังคม การเมือง ศาสนา และวัฒนธรรมทั้งในระดับชาติและระดับท้องถิ่น และเป็นจังหวัดศูนย์กลางในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และศูนย์กลางทางการศึกษา อันเป็นสถานที่ตั้งของสถานศึกษาขนาดใหญ่ใน กลุ่มจังหวัดสนุก (สกลนคร นครพนม และมุกดาหาร).

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และจังหวัดสกลนคร · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสมุทรสาคร

ังหวัดสมุทรสาคร เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย อยู่ในพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล ได้รับการจัดตั้งขึ้นครั้งล่าสุดตามพระราชบัญญัติจัดตั้งจังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดนนทบุรี จังหวัดสมุทรสาคร และจังหวัดนครนายก พุทธศักราช 2489 ซึ่งมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 9 พฤษภาคม..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และจังหวัดสมุทรสาคร · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสมุทรสงคราม

ังหวัดสมุทรสงคราม เป็นจังหวัดในภาคกลางของประเทศไทย (หน่วยงานบางแห่งถือเป็นส่วนหนึ่งของภาคตะวันตก) มีขนาดพื้นที่เล็กที่สุดของประเทศ คือประมาณ 416.7 ตารางกิโลเมตร ทั้งยังมีจำนวนประชากรน้อยที่สุดเป็นอันดับ 2 ของประเทศด้วย นับเป็นจังหวัดที่มีความอุดมสมบูรณ์ทางทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อมและมีชายฝั่งทะเลติดอ่าวไทยยาวประมาณ 23 กิโลเมตรซึ่งมีความอุดมสมบูรณ์มากเพราะเป็นดินดอนปากแม่น้ำ มีภูเขา 1 ลูก (เขายี่สาร) ไม่มีเกาะ มีลักษณะเป็นที่ราบลุ่มโดยพื้นที่ฝั่งตะวันตกจะสูงกว่าฝั่งตะวันออกเล็กน้อย ปลายปี พ.ศ. 2550 ผลการสำรวจดัชนีความมั่นคงของมนุษย์พบว่า สมุทรสงครามเป็นจังหวัดที่มีความมั่นคงของมนุษย์สูงที่สุดในประเทศไท.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และจังหวัดสมุทรสงคราม · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสมุทรปราการ

ังหวัดสมุทรปราการ เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย และยังเป็นจังหวัดในเขตปริมณฑลของกรุงเทพมหานคร จัดตั้งขึ้นครั้งล่าสุดโดย พระราชบัญญัติจัดตั้งจังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดนนทบุรี จังหวัดสมุทรสาคร และจังหวัดนครนายก พุทธศักราช 2489 ซึ่งมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2489.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และจังหวัดสมุทรปราการ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสระบุรี

ังหวัดสระบุรี เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย ตั้งอยู่ทางตะวันออกของภาคกลาง นับเป็นเสมือนด่านผ่านระหว่างภาคกลางกับภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีแหล่งท่องเที่ยวมากมายทั้งทางประวัติศาสตร์และแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ และยังเป็นเมืองที่มีความสำคัญต่อภาคอุตสาหกรรมลำดับต้น ๆ ของประเทศไทย สภาพภูมิศาสตร์ของจังหวัดสระบุรี นับว่าเป็นทำเลแห่งการเพาะปลูก ได้รับความอุดมสมบูรณ์จากแม่น้ำสายหลัก คือแม่น้ำป่าสัก และสภาพโดยทั่วไปเป็นที่ราบลุ่ม.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และจังหวัดสระบุรี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสระแก้ว

ระแก้ว เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคตะวันออกของประเทศไทย แยกออกมาจากจังหวัดปราจีนบุรีเมื่อปี พ.ศ. 2536.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และจังหวัดสระแก้ว · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสิงห์บุรี

ังหวัดสิงห์บุรี เป็นจังหวัดหนึ่งที่ตั้งอยู่ในภาคกลางของประเทศไท.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และจังหวัดสิงห์บุรี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสุพรรณบุรี

รรณบุรี เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย ห่างจากกรุงเทพมหานคร 107 กิโลเมตร จังหวัดที่อยู่ติดกัน (จากทิศเหนือ วนตามเข็มนาฬิกา) ได้แก่ อุทัยธานี ชัยนาท สิงห์บุรี อ่างทอง พระนครศรีอยุธยา นครปฐม และกาญจนบุรี.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และจังหวัดสุพรรณบุรี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดอุทัยธานี

ังหวัดอุทัยธานี เดิมสะกดว่า อุไทยธานี เป็นจังหวัดในภาคกลางของประเทศไทย มีพื้นที่ประมาณ 6,730 ตารางกิโลเมตร มีประชากรในปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และจังหวัดอุทัยธานี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดอ่างทอง

ังหวัดอ่างทอง เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย ตั้งอยู่ในที่ราบลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา เป็นจังหวัดที่เป็นแหล่งผลิตหัตถกรรมพื้นบ้าน เช่น ตุ๊กตาชาววัง งานจักสาน เป็นต้น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และจังหวัดอ่างทอง · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดจันทบุรี

ังหวัดจันทบุรี เป็นจังหวัดทางชายฝั่งทะเลภาคตะวันออกของประเทศไทย มีเนื้อที่ 6,388 ตารางกิโลเมตร สภาพภูมิประเทศประกอบไปด้วยป่าไม้ ภูเขา ที่ราบสูง ที่ราบลุ่มน้ำ และที่ราบชายฝั่งทะเล ในส่วนของพื้นที่ป่าไม้มีประมาณ 3 ใน 10 ของพื้นที่ทั้งจังหวัด มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดฉะเชิงเทรา และสระแก้วทางทิศเหนือ ทิศตะวันออกติดกับจังหวัดตราดและประเทศกัมพูชา ทิศใต้ติดกับอ่าวไทย และทิศตะวันตกติดกับจังหวัดระยองและชลบุรี อยู่ห่างจากกรุงเทพมหานครประมาณ 238 กิโลเมตร ประชากรส่วนใหญ่ของจังหวัดจันทบุรีอาศัยอยู่ทางตอนใต้ของจังหวัด โดยอาชีพที่ประชากรในจังหวัดนิยมประกอบอาชีพมากที่สุดคือเกษตรกรรมและประมง และศาสนาที่มีการนับถือมากที่สุดในจังหวัดคือศาสนาพุท.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และจังหวัดจันทบุรี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดตราด

ตราด เป็นจังหวัดชายฝั่งทะเลทางภาคตะวันออกของประเทศไทย มีเนื้อที่ 2,819 ตารางกิโลเมตร ติดต่อกับจังหวัดจันทบุรีและประเทศกัมพูชา ตราดนับเป็นเมืองศูนย์กลางการค้าแห่งหนึ่งในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในช่วงปลายอยุธยา สินค้าที่ส่งออกขายยังแดนไกล โดยเฉพาะของป่า เช่น เขากวาง หนังสัตว์ ไม้หอม และเครื่องเทศต่าง ๆ ล้วนมาจากเขตป่าเขาชายฝั่งทะเลตะวันออก แถบระยอง จันทบุรี ตราด โดยลำเลียงสินค้าผ่านมาตามแม่น้ำเขาสมิง ออกสู่ปากอ่าวตร.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และจังหวัดตราด · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดฉะเชิงเทรา

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และจังหวัดฉะเชิงเทรา · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดประจวบคีรีขันธ์

ังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เป็นจังหวัดในภาคตะวันตกของประเทศไทย เป็นจังหวัดที่มีรูปร่างยาวในแนวเหนือ-ใต้ และแคบในแนวตะวันออก-ตะวันตก โดยมีส่วนที่แคบที่สุดของประเทศไทย ระยะทางประมาณ 12 กิโลเมตร มีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่เป็นที่ตั้งศาลากลางจังหวัดอยู่ที่เทศบาลเมืองประจวบคีรีขันธ์ ในขณะที่เมืองที่มีประชากรมากที่สุดในจังหวัด คือ เทศบาลเมืองหัวหิน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดปราจีนบุรี

ปราจีนบุรี เดิมสะกดว่า ปราจิณบุรี เป็นจังหวัดในภาคตะวันออกของประเทศไทย เป็นเมืองที่มีประวัติศาสตร์ยาวนาน มีการพบซากโบราณสถานในหลายพื้นที่ของจังหวัด นอกจากนี้ยังมีแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติหลายแห่ง มีอุทยานแห่งชาติอยู่ในเขตมรดกโลกถึง 3 แห่ง ทั้งยังเป็นจังหวัดที่มีพื้นที่ป่ามากที่สุดในภาคตะวันออกอีกด้วย แต่เดิมจังหวัดปราจีนบุรีมีพื้นที่กว้างใหญ่มาก เนื่องจากในอดีตเคยมีการยุบรวมจังหวัดนครนายกเข้ากับจังหวัดปราจีนบุรีในปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และจังหวัดปราจีนบุรี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดปทุมธานี

ังหวัดปทุมธานี (เดิมสะกดว่า ประทุมธานี) เป็นจังหวัดหนึ่งที่อยู่ในภาคกลางของประเทศไทย เป็นหนึ่งในห้าจังหวัดในพื้นที่ปริมณฑลของกรุงเทพมหานคร ตั้งอยู่บริเวณลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา ทางทิศเหนือของกรุงเทพมหานคร เทศบาลที่ตั้งศาลากลางจังหวัด คือ เทศบาลเมืองปทุมธานี แต่เทศบาลที่มีประชากรมากที่สุดในจังหวัด คือ เทศบาลนครรังสิต ซึ่งตั้งอยู่ในอำเภอธัญบุรี.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และจังหวัดปทุมธานี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดนครสวรรค์

ังหวัดนครสวรรค์ เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ระหว่างตอนบนของภาคกลาง มีพื้นที่ประมาณ 9,597 ตารางกิโลเมตร เป็นจังหวัดที่มีความสำคัญในทางประวัติศาสตร์อีกจังหวัดหนึ่งของประเทศไทย มีพื้นที่ติดต่อกับหลายจังหวัด ได้แก่ ด้านเหนือ ติดต่อกับจังหวัดพิจิตรและกำแพงเพชร ทางตะวันออกติดกับจังหวัดเพชรบูรณ์และลพบุรี ด้านใต้ติดกับจังหวัดสิงห์บุรี ชัยนาท และอุทัยธานี ส่วนด้านตะวันตกติดกับจังหวัดตาก.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และจังหวัดนครสวรรค์ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดนครปฐม

ังหวัดนครปฐม เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย เป็นหนึ่งในห้าจังหวัดที่อยู่ในพื้นที่ปริมณฑลของกรุงเทพมหานคร จังหวัดนี้มีประวัติศาสตร์เก่าแก่ยาวนาน เชื่อว่าเป็นที่ตั้งเก่าแก่ของเมืองในสมัยทวารวดี โดยมีหลักฐานทางประวัติศาสตร์และโบราณคดีเป็นจำนวนมาก.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และจังหวัดนครปฐม · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดนครนายก

ังหวัดนครนายก เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย จัดตั้งขึ้นครั้งล่าสุดโดยพระราชบัญญัติจัดตั้งจังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดนนทบุรี จังหวัดสมุทรสาคร และจังหวัดนครนายก พุทธศักราช 2489 ซึ่งมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 9 พฤษภาคม..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และจังหวัดนครนายก · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดนนทบุรี

ังหวัดนนทบุรี เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย จัดตั้งขึ้นครั้งล่าสุดโดยพระราชบัญญัติจัดตั้งจังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดนนทบุรี จังหวัดสมุทรสาคร และจังหวัดนครนายก พุทธศักราช 2489 ซึ่งมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 9 พฤษภาคม..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และจังหวัดนนทบุรี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดแพร่

ังหวัดแพร่ (25px) เป็นจังหวัดในภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย อดีตนครรัฐอิสระขนาดเล็ก มีลักษณะภูมิประเทศเป็นที่ราบระหว่างภูเขา โดยมีทิวเขาล้อมรอบ และมีแม่น้ำสายสำคัญไหลผ่านคือแม่น้ำยม.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และจังหวัดแพร่ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดเชียงใหม่

ังหวัดเชียงใหม่ (40px เจียงใหม่) เป็นจังหวัดหนึ่งของไทย ตั้งอยู่ทางภาคเหนือของประเทศ ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 20,107 ตารางกิโลเมตร ซึ่งใหญ่เป็นอันดับ 2 ของประเทศ มีประชากร 1,746,840 คน มากเป็นอันดับ 5 ของประเทศ ในจำนวนนี้เป็นประชากรที่อาศัยอยู่ในเขตเมืองและชานเมือง 960,906 คน โดยจังหวัดเชียงใหม่ทิศเหนือติดต่อกับรัฐฉานของเมียนมา จังหวัดเชียงใหม่ จัดเป็นเมืองใหญ่อันดับที่สองของประเทศไทย รองจากกรุงเทพมหานคร โดยแบ่งการปกครองออกเป็น 25 อำเภอ โดยมีอำเภอเมืองเชียงใหม่เป็นศูนย์กลางของจังหวัด เมื่อ พ.ศ. 2552 มีการจัดตั้งอำเภอกัลยาณิวัฒนาเป็นอำเภอลำดับที่ 25 ของจังหวัด และลำดับที่ 878 ของประเทศ ซึ่งเป็นอำเภอล่าสุดของไทย จังหวัดเชียงใหม่มีประวัติศาสตร์อันยาวนาน เคยเป็นเมืองหลวงของอาณาจักรล้านนาแต่โบราณ มี "คำเมือง" เป็นภาษาท้องถิ่น มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวทั้งด้านประเพณีวัฒนธรรม และมีแหล่งท่องเที่ยวจำนวนมาก โดยเริ่มวางตัวเป็นนครสร้างสรรค์ และได้รับการประกาศเป็นเมืองสร้างสรรค์ของโลกทางด้านหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน เมื่อปี พ.ศ. 2560 ปัจจุบันกำลังพิจารณาสมัครเมืองมรดกโลกจากองค์การยูเนสโก.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และจังหวัดเชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดเพชรบุรี

ังหวัดเพชรบุรี (/เพ็ดชะบุรี/; เดิมสะกดว่า เพ็ชร์บุรี) เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคตะวันตก (บ้างก็จัดอยู่ในภาคกลางตอนล่าง ด้านของการพยากรณ์อากาศจัดอยู่ภาคใต้ตอนบน) มีภูมิประเทศทั้งเป็นที่สูงติดเทือกเขาและที่ราบชายฝั่งทะเล มักเรียกชื่อสั้น ๆ ว่า เมืองเพชร เดิมเรียก พริบพรี และจากหลักฐานในสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ปรากฏชื่อว่า ศรีชัยวัชรปุระ จังหวัดเพชรบุรีมีชื่อเสียงในฐานะแหล่งผลิตน้ำตาล เนื่องจากมีต้นตาลหนาแน่น เป็นเมืองเก่าแก่ มีประวัติศาสตร์ยาวนาน เพชรบุรีเป็นเมืองที่เคยรุ่งเรืองมาตั้งแต่สมัยโบราณและเป็นเมืองหน้าด่านที่สำคัญของไทยในกลุ่มหัวเมืองฝ่ายตะวันตก ปัจจุบันมีวัดเก่าแก่และบ้านเรือนทรงไทยจำนวนมาก นอกจากนี้ยังมีคำพูดติดปากว่า นักเลงเมืองเพชร ปัจจุบันเพชรบุรีเป็นเมืองด่านสำคัญระหว่างภาคกลางและภาคใต้ และยังเป็นเมืองท่องเที่ยวที่สำคัญ เช่น หาดชะอำ หาดปึกเตียน หาดเจ้าสำราญ แหลมหลวง แหลมเหลว และเขื่อนแก่งกระจาน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และจังหวัดเพชรบุรี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดเพชรบูรณ์

ังหวัดเพชรบูรณ์ เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางตอนบนของประเทศไทย มีพื้นที่ประมาณ 12,668 ตารางกิโลเมตร ซึ่งใหญ่เป็นอันดับ 9 ของประเทศ มีประชากร 994,397 คน แบ่งการปกครองออกเป็น 11 อำเภอ และมีเขตเทศบาลเมืองเพชรบูรณ์เป็นศูนย์กลางของจังหวัด เป็นจังหวัดที่มีทรัพยากรธรรมชาติ มีความอุดมสมบูรณ์ และมีแหล่งท่องเที่ยวจำนวนมาก.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และจังหวัดเพชรบูรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นมหาวิทยาลัยและสถาบันอุดมศึกษาแห่งแรกของประเทศไทย ตั้งอยู่ในเขตปทุมวัน กรุงเทพมหานครราชกิจจานุเบกษ.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

ธันวาคม

ันวาคม เป็นเดือนที่ 12 และเดือนสุดท้ายของปี ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นหนึ่งในเดือน 7 เดือนที่มี 31 วัน ตามหลักโหราศาสตร์ เดือนธันวาคมเริ่มต้นขึ้นเมื่อดวงอาทิตย์ยกเข้าสู่ราศีธนู และสิ้นสุดเมื่อยกเข้าสู่ราศีมกร แต่ในทางดาราศาสตร์ ต้นเดือนธันวาคมดวงอาทิตย์อยู่ในกลุ่มดาวคนแบกงู และไปอยู่ในกลุ่มดาวคนยิงธนูในปลายเดือน เดือนธันวาคมในภาษาอังกฤษ December มาจากภาษาละติน decem เนื่องจากเป็นเดือนที่ 10 ในปฏิทินโรมันดั้งเดิมที่เริ่มต้นปีในเดือนมีนาคม.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

ธีระ สูตะบุตร

ตราจารย์ ธีระ สูตะบุตร อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในรัฐบาล พล.อ.สุรยุทธ์ จุลานนท์เป็นเจ้าของกิจการโรงเรียนพิชญศึกษา เกิดวันที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2484 สมรสกับ นางสุนงนาท สูตะบุตร มีบุตรชื่อ ธีร์ภัทร สูตะบุตร โดยบุตรชายเสียชีวิตในวันที่ 9 กุมภาพัน..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และธีระ สูตะบุตร · ดูเพิ่มเติม »

ถนอม กิตติขจร

อมพล จอมพลเรือ จอมพลอากาศ ถนอม กิตติขจร (11 สิงหาคม พ.ศ. 2454—16 มีนาคม พ.ศ. 2547) เป็น อดีตนายกรัฐมนตรีคนที่ 10 ของประเทศไทย ผู้บัญชาการทหารบก รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม และ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ผู้ซึ่งเป็นหัวหน้าคณะรัฐบาลในเหตุการณ์ 14 ตุลา ปี 2516 ซึ่งเป็นเหตุการณ์การประท้วงของ นิสิต นักศึกษา และประชาชน โดยในเหตุการณ์ ทหารได้ใช้อาวุธสงครามเข้าปราบปรามนักศึกษาประชาชนที่ชุมนุมเรียกร้องรัฐธรรมนูญ จนทำให้มีผู้เสียชีวิตเป็นจำนวนมาก เป็นผลให้ จอมพล ถนอม กิตติขจร ต้องประกาศลาออกจากตำแหน่ง และเดินทางออกจากประเทศ พร้อมกับ จอมพล ประภาส จารุเสถียร และ พ.อ.ณรงค์ กิตติขจร ภายหลังเหตุการณ์ จอมพล ถนอม กิตติขจร ก็ได้เดินทางกลับ แล้วบวชเป็นพระสามเณร เป็นชนวนไปสู่การ ขับไล่ ของนักศึกษาธรรมศาสตร์ จนโยงไปสู่เหตุการณ์ 6 ตุลา ปี 2519 ทำให้มีผู้บาดเจ็บ เสียชีวิต และสูญหายจำนวนมาก จอมพล ถนอม กิตติขจร เคยดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีถึง 4 สมัย เป็นระยะเวลาถึง 10 ปี 6 เดือนเศษ และนับจากการเปลี่ยนการปกครอง พ.ศ. 2475 เป็นต้นมา นายทหารที่มาจากคนธรรมดาสามัญที่ครองยศจอมพลสายทหารบก มีด้วยกัน 7 คน จอมพลถนอมเป็นคนที่ 6 จอมพลประภาส จารุเสถียรเป็นคนที่ 7 แต่ผู้ที่มีอายุยืนที่สุด คือจอมพลถนอม จึงกลายเป็น "จอมพลคนสุดท้าย" จอมพลถนอมถึงแก่อสัญกรรมด้วยโรคเส้นเลือดในสมองแตกเมื่อกลางดึก เมื่อวันที่ 16 มิถุนายน..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และถนอม กิตติขจร · ดูเพิ่มเติม »

ถนนงามวงศ์วาน

นนงามวงศ์วาน ถนนงามวงศ์วาน (Thanon Ngam Wong Wan) เป็นถนนสายหนึ่งในจังหวัดนนทบุรีและกรุงเทพมหานคร มีระยะทางเริ่มจากทางแยกแครายซึ่งเป็นจุดตัดกับถนนติวานนท์และถนนรัตนาธิเบศร์ ในท้องที่ตำบลบางกระสอ อำเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี มุ่งตรงไปทางทิศตะวันออก ผ่านบริเวณปากซอยงามวงศ์วาน 2 (อัคนี) เข้าเขตตำบลบางเขน ตัดกับทางพิเศษศรีรัช (ทางด่วนขั้นที่ 2) ตรงไปทางทิศเดิม ข้ามคลองประปาและตัดกับถนนประชาชื่นเข้าสู่ท้องที่แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร จากนั้นแนวเส้นทางเริ่มโค้งไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ข้ามคลองบางเขนเข้าสู่ท้องที่แขวงลาดยาว เขตจตุจักร ข้ามคลองเปรมประชากร ตัดกับถนนกำแพงเพชร 6 ทางรถไฟสายเหนือ และถนนวิภาวดีรังสิตที่ทางแยกบางเขน ผ่านมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ไปสิ้นสุดที่ทางแยกเกษตรซึ่งเป็นจุดตัดกับถนนพหลโยธิน โดยมีแนวถนนที่ตรงต่อเนื่องไปคือถนนประเสริฐมนูกิจ ถนนงามวงศ์วานเป็นถนนที่กรมทางหลวงตัดขึ้นและตั้งชื่อเพื่อเป็นเกียรติแก่นายดำรง งามวงศ์วาน อดีตนายช่างกำกับหมวดนนทบุรี กรมทางหลวง ซึ่งเป็นผู้ควบคุมการก่อสร้างถนนสายนี้ ตามนโยบายของจอมพล ป. พิบูลสงคราม ที่ให้ตั้งชื่อถนนตามชื่อของนายช่างที่กำกับการก่อสร้างหรือผู้บังคับบัญชา ปัจจุบันถนนงามวงศ์วานเป็นส่วนหนึ่งของทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 302 (แยกมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ - ต่างระดับบางใหญ่) อยู่ในความดูแลของแขวงทางหลวงนนทบุรีและแขวงทางหลวงกรุงเทพ กรมทางหลวง ยกเว้นช่วงตั้งแต่สะพานข้ามคลองประปาถึงหน้าเรือนจำกลางคลองเปรมซึ่งมีฐานะเป็นทางหลวงท้องถิ่นในความดูแลของกรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และถนนงามวงศ์วาน · ดูเพิ่มเติม »

ทวี บุณยเกตุ

นายทวี บุณยเกตุ (10 พฤศจิกายน 2447 - 3 พฤศจิกายน 2514) นายกรัฐมนตรีคนที่ 5 (รัฐบาลที่ 12) หนึ่งในคณะราษฎรสายพลเรือน และขบวนการเสรีไทยและเป็นผู้แต่งหนังสือเรื่อง พ่อสอนลูก.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และทวี บุณยเกตุ · ดูเพิ่มเติม »

ทองแดง (สุนัข)

ณทองแดง (7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2541 – 26 ธันวาคม พ.ศ. 2558) เป็นสุนัขทรงเลี้ยงตัวที่ 17 ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุล.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และทองแดง (สุนัข) · ดูเพิ่มเติม »

ความรู้

วามรู้ (Knowledge) คือความเข้าใจในเรื่องบางเรื่อง หรือสิ่งบางสิ่ง ซึ่งอาจจะรวมไปถึงความสามารถในการนำสิ่งนั้นไปใช้เพื่อเป้าหมายบางประการ ความสามารถในการรู้บางอย่างนี้เป็นสิ่งสนใจหลักของวิชาปรัชญา (ที่หลายครั้งก็เป็นเรื่องที่มีการโต้เถียงอย่างมาก) และมีสาขาที่ศึกษาด้านนี้โดยเฉพาะเรียกว่าญาณวิทยา (epistemology) ความรู้ในทางปฏิบัติมักเป็นสิ่งที่ทราบกันในกลุ่มคน และในความหมายนี้เองที่ความรู้นั้นถูกปรับเปลี่ยนและจัดการในหลาย ๆ แ.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และความรู้ · ดูเพิ่มเติม »

ควง อภัยวงศ์

รองอำมาตย์เอก หลวงโกวิทอภัยวงศ์ หรือ พันตรี ควง อภัยวงศ์ (17 พฤษภาคม 2445 – 15 มีนาคม 2511) อดีตนายกรัฐมนตรีไทย 4 สมัย ผู้ก่อตั้งและหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์คนแรก ควง อภัยวงศ์เป็นสมาชิกคณะราษฎรสายพลเรือนซึ่งร่วมการปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475 เคยมีบรรดาศักดิ์เป็น รองอำมาตย์เอก หลวงโกวิทอภัยวง.ต.ควง ถือเป็นผู้บุกเบิกก่อตั้งกระทรวงคมนาคมยุคใหม่ เนื่องจากดำรงตำแหน่งเป็นรัฐมนตรีว่าการคนแรก ด้วยประสบการณ์ที่เคยรับราชการจนมีตำแหน่ง เป็นถึงอธิบดีกรมไปรษณีย์โทรเลข นอกจากนี้ยังเคย ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์, กระทรวงการคลัง, กระทรวงเกษตราธิการ และกระทรวงมหาดไทยด้ว.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และควง อภัยวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

คอกโครัลลีไซมอนส์

อกโครัลลีไซมอนส์ (Quacquarelli Symonds) (QS) เป็นบริษัทเอกชนทำธุรกิจในด้านการศึกษาก่อตั้งใน..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และคอกโครัลลีไซมอนส์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เปิดทำการสอนในระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก สัญลักษณ์ประจำคณะ คือ พังงา ซึ่งเป็นรูปพวงมาลัยที่ใช้บังคับทิศทางการเดินเรือพานิชย์ โดยสื่อความหมายถึง การนำทางให้ไปสู่จุดมุ่งหมายที่หวังไว้.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะพาณิชยนาวีนานาชาติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ณะพาณิชยนาวีนานาชาติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เป็นหน่วยงานระดับคณะที่เปิดทำการเรียนการสอน ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีร.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และคณะพาณิชยนาวีนานาชาติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

"ดอกแก้ว" สัญลักษณ์ประจำคณะมนุษยศาสตร์ "อาคารมนุษยศาสตร์ 1" อาคารเรียนหลังแรกของคณะมนุษยศาสตร์ สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก เสด็จมาทรงเป็นประธานในพิธีวางศิลาฤกษ์ เมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม 2531 และทรงเป็นประธานในพิธีเปิดอาคารพร้อมทั้งทรงปลูกต้นพระศรีมหาโพธิ์เพื่อเป็นสิริมงคลแก่คณะมนุษยศาสตร์ เมื่อวันที่ 25 มิถุนายน 2534 คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เป็นคณะลำดับที่ 11 ของมหาวิทยาลัย ตั้งอยู่ที่วิทยาเขตบางเขน กรุงเทพมหานคร โดยมีภารกิจในการมุ่งสู่ความเป็นเลิศด้านภาษา ศิลปวัฒนธรรม อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว ตลอดจนนิเทศศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ มีผลงานเป็นที่ยอมรับในระดับชาติและนานาชาติ มีส่วนร่วมในการนำความรู้ไปพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และคณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะราษฎร

ณะราษฎร (อ่านว่า "คะ-นะ-ราด-สะ-ดอน"; มักสะกดผิดเป็น คณะราษฎร์) คือ กลุ่มบุคคลที่ดำเนินการการปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475 ยึดอำนาจจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว และเปลี่ยนแปลงระบอบการปกครองของประเทศสยาม จากสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ อาจได้ชื่อว่าเป็นพรรคการเมืองพรรคแรกของไท.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และคณะราษฎร · ดูเพิ่มเติม »

คณะวิศวกรรมศาสตร์ กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ณะวิศวกรรมศาสตร์ กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เป็น 1 ใน 7 คณะ ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน จ.นครปฐม.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และคณะวิศวกรรมศาสตร์ กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เป็นคณะวิศวกรรมศาสตร์ในประเทศไทยที่เก่าแก่เป็นอันดับ 2 ผลิตบัณฑิตในสาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร์ทั้งระดับปริญญาตรี โท และเอก.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เป็นหนึ่งใน 3 คณะที่จัดตั้งในระยะเริ่มแรกของวิทยาเขตศรีร.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และคณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์เป็นหนึ่งในคณะที่เปิดการเรียนการสอน ณ วิทยาเขตศรีราชา จังหวัดชลบุรี.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ได้รับการสถาปนาเป็นคณะที่ 7 ของมหาวิทยาลัย โดยเปิดสอนหลักสูตรวิทยาศาสตร์ทั้งในระดับปริญญาตรี โท และเอก นอกจากนี้ ยังเปิดสอนหลักสูตรเตรียมแพทย์ ให้กับวิทยาลัยแพทยศาสตร์พระมงกุฎเกล้า อีกด้ว.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะวิทยาศาสตร์ ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ณะวิทยาศาสตร์ ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เป็นคณะวิชาที่ได้รับการประกาศจากสภามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จัดการศึกษา ณ วิทยาเขตศรีราชา จังหวัดชลบุรี โดยรับผิดชอบหลักสูตร วิชาด้านวิทยาศาสตร์ และยังจัดการเรียนการสอนวิชาพื้นฐานด้านวิทยาศาสตร์ กับวิชาพื้นฐานด้านพลศึกษาให้กับนิสิตคณะอื่นด้ว.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และคณะวิทยาศาสตร์ ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ณะวิทยาศาสตร์การกีฬา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เป็นคณะใหม่ที่ได้รับการจัดตั้ง ณ วิทยาเขตกำแพงแสน เป็นหน่วยงานในสังกัดคณะศึกษาศาสตร์ เปิดสอนหลักสูตรวิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิทยาศาสตร์การกีฬา โดยได้รับอนุมัติจากทบวงมหาวิทยาลัย เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2537 และเปิดรับนิสิตเข้าศึกษาในภาคต้น ปีการศึกษา 2537 เป็นรุ่นแรก.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และคณะวิทยาศาสตร์การกีฬา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ณะวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เป็นหน่วยงานภายในระดับคณะตามประกาศสภามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โดยไม่แบ่งส่วนราชการ ทำการสอนด้านวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และคณะวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เป็นหนึ่งในสี่คณะเริ่มแรกตั้งของมหาวิทยาลัย โดยมีวิวัฒนาการมาจาก "โรงเรียนการป่าไม้" เปิดสอนในสาขาวิชาเกี่ยวกับการบริหารจัดการ การอนุรักษ์ป่าไม้ รวมถึง การจัดการลุ่มน้ำ โดยทั้งในระดับปริญญาตรี โท และเอก.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และคณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะศิลปศาสตร์และวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ณะศิลปศาสตร์และวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ อยู่ในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ตามที่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ได้ทำโครงการจัดตั้งวิทยาเขตเพื่อจัดการเรียนการสอนภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยตั้งอยู่ที่สนามบินเก่า บ้านเชียงเครือ อยู่ห่างจากตัวจังหวัดประมาณ 19 กิโลเมตร ตามเส้นทางหมายเลข 22 (สกลนคร-นครพนม) บนเนื้อที่วิทยาเขต 4,000 ไร่ หนองหารน้อย 700 ไร่ เพื่อสนองนโยบายของรัฐบาล ในการกระจายโอกาสทางการศึกษาระดับอุดมศึกษาสู่ภูมิภาคของ ประเทศไทย และพัฒนาให้จังหวัดสกลนครเป็นศูนย์กลางด้าน การศึกษาของภูมิภาคตะวันออก เฉียงเหนือตอนบน โดยจัดให้มีคณะวิชาจัดการเรียนการสอนด้านอุตสาหกรรมการเกษตร และธรรมชาติสิ่งแวดล้อม อีกทั้งให้เป็นแหล่งศึกษา ค้นคว้าวิจัย การรวบรวมข้อมูลในการบริการวิชาการด้านเกษตร การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนในภูมิภาคอีสานตอนบน เพื่อพัฒนาให้ภูมิภาคแห่งนี้เป็นศูนย์กลางการพัฒนาการเกษตรครบวงจรที่ก้าวหน้า อุตสาหกรรมเกษตร และการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมของภูมิภาคอินโดจีน และให้มีองค์ประกอบของมหาวิทยาลัยคือหลักสูตร บริหารธุรกิจ ของมหาวิทยาลัยใน ภาคอีสานตอนบน โดยตั้ง"คณะศิลปศาสตร์และวิทยาการจัดการ"ขึ้นที่วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และคณะศิลปศาสตร์และวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เป็นคณะลำดับที่ 13 ของมหาวิทยาลัย สถาปนาขึ้นเมื่อวันที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2536 ดำเนินการเรียน-การสอนใน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ต่อมา ปี พ.ศ. 2554 ได้รับมอบหมายให้จัดการเรียน-การสอน ในวิทยาเขตสุพรรณบุรีด้ว.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และคณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เปิดการเรียนการสอนในวิทยาเขตบางเขน และมีโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์เป็นสถานปฏิบัติการฝึกหัดนิสิตของคณ.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะศึกษาศาสตร์และพัฒนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ณะศึกษาศาสตร์และพัฒนศาสตร์ เป็นหนึ่งในคณะที่เปิดการเรียนการสอน ณ วิทยาเขตกำแพงแสน โดยเป็นหน่วยงานที่แยกออกมาจากคณะที่ทำการเรียนการสอนในวิทยาเขตบางเขน ภายใต้คณะศึกษาศาสตร.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และคณะศึกษาศาสตร์และพัฒนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เป็นคณะหนึ่งในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน เปิดสอนในระดับปริญญาตรีถึงปริญญาเอกทางด้านสังคมศาสตร์ และเปิดสอนในรายวิชาทางด้านสังคมศาสตร์ให้กับนิสิตสาขาอื่นๆในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์อีกด้ว.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และคณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จัดตั้งขึ้นเป็นคณะลำดับที่ 5 ของมหาวิทยาลัย ในปี พ.ศ. 2497 โดยได้รับโอนมาจากมหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ (มหาวิทยาลัยมหิดลในปัจจุบัน) ปัจจุบัน คณะสัตวแพทยศาสตร์ มีที่ทำการอยู่ 2 วิทยาเขต ได้แก่ วิทยาเขตบางเขน และวิทยาเขตกำแพงแสน มีโรงพยาบาลสัตว์ในเครือทั้งหมด 4 แห่ง.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และคณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (Faculty of Public Health, Kasetsart University) เป็นส่วนราชการไทยระดับคณะวิชา ตามประกาศสภามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ณ วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติจังหวัดสกลนคร โดยเปิดรับนิสิตในภาคต้น ปีการศึกษา 2553 เป็นรุ่นแรก จำนวน 70 คน และอยู่ในระหว่างการดำเนินการจัดเตรียมเปิดหลักสูตรพยาบาลศาสตร์ และหลักสูตรแพทยศาสตร์ ณ วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติจังหวัดสกลนครอีกด้ว.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ณะสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เป็นหนึ่งในคณะของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จัดการเรียนการสอนเพื่อผลิตบัณฑิตทางด้านสิ่งแวดล้อม ทั้งในระดับ ปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก โดยการปรับปรุงหน่วยงานของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โดยรวม วิทยาลัยสิ่งแวดล้อม และ ภาควิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม คณะวิทยาศาสตร์ เข้าเป็น คณะสิ่งแวดล้อม.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และคณะสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ถือกำเนิดภายใต้มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ อันอุดมไปด้วยทรัพยากรทางวิชาการทางด้านนิเวศวิทยา สิ่งแวดล้อม วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จึงมุ่งมั่นที่จะผลิตบัณฑิตผู้รับผิดชอบในการสร้างสรรค์งานสถาปัตยกรรม ภูมิสถาปัตยกรรม และเมือง โดยใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมผสานความต้องการของมนุษย์เข้ากับธรรมชาติได้อย่างกลมกลืน และเกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยที.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เป็นคณะอุตสาหกรรมเกษตรแห่งแรกของประเทศไทย มีวัตถุประสงค์เพื่อผลิตบัณฑิตที่เป็นผู้นำทางด้านอุตสาหกรรมเกษตรของประเทศ ที่สามารถบริหารจัดการ ควบคุมกระบวนการผลิต และควบคุมคุณภาพของผลิตภัณฑ์ และสามารถทำวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ เพื่อปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพของอุตสาหกรรมเกษตรของประเทศให้สามารถแข่งขันในตลาดโลก.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และคณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะองคมนตรี

ณะองคมนตรี (privy council) คือ กลุ่มบุคคลที่ให้คำปรึกษาแก่ประมุขแห่งรัฐ โดยทั่วไปในประเทศที่ปกครองแบบราชาธิปไตย ในภาษาอังกฤษ คำว่า "privy" หมายถึง "ส่วนตัว" หรือ "ลับ" ดังนั้นแรกเริ่มเดิมที privy council คือคณะที่ปรึกษาที่ใกล้ชิดที่สุดของกษัตริย์ที่ให้คำปรึกษาที่รักษาเป็นความลับในเรื่องกิจการรัฐ ประเทศที่มีสภาองคมนตรีหรือองค์กรเทียบเท่าในปัจจุบัน เช่น สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ, ประเทศแคนาดา, ราชอาณาจักรเดนมาร์ก, ราชอาณาจักรตองกา และ ราชอาณาจักรไท.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และคณะองคมนตรี · ดูเพิ่มเติม »

คณะทรัพยากรธรรมชาติและอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ณะทรัพยากรธรรมชาติและอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เป็นหน่วยงานระดับคณะตามประกาศสภามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โดยไม่แบ่งส่วนราชการ ทำการสอนด้านทรัพยากรธรรมชาติ และด้านอุตสาหกรรมเกษตร.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และคณะทรัพยากรธรรมชาติและอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สถาบันอุดมศึกษาด้านวิชาการประมง และทรัพยากรทางน้ำแห่งแรกของประเทศไทย เน้นการศึกษาทางวิทยาศาสตร์ทั้ง วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ เทคโนโลยี และวิศวกรรมศาสตร์เป็นหลัก นอกจากนี้ยังมีการศึกษาทางเศรษฐศาสตร์ บริหารศาสตร์ พัฒนศาสตร์ นิติศาสตร์ที่เกี่ยวข้องอีกด้วย ปัจจุบัน เปิดสอนในสาขา การจัดการประมง ชีววิทยาประมง ผลิตภัณฑ์ประมง เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ วิทยาศาสตร์ทางทะเล และวิทยาศาสตร์การประมง ตั้งแต่ระดับปริญญาตรี ถึงระดับปริญญาเอก คณะประมงผ่านการประเมินด้วยคะแนนสูงสุด(5/5)ระดับดีมาก โดยสกว. 2553 Fisheries ชื่อคณะประมง (Faculty of Fisheries) ในภาคภาษาอังกฤษ นั้นแปลว่า การรวม (Faculty) ของสหวิชาประมงต่างๆ (Fishery).

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และคณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะเกษตร กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ณะเกษตร กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เป็นคณะในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ซึ่งเปิดทำการสอน ณ วิทยาเขตกำแพงแสน อำเภอกำแพงแสน จังหวัดนครปฐม.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และคณะเกษตร กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เป็นคณะเกษตรแห่งแรกของประเทศไทย มีวัตถุประสงค์ในจัดการเรียนการสอนในด้านการเกษตร โดยแบ่งออกเป็น 2 แห่ง ได้แก่ คณะเกษตร บางเขน และ คณะเกษตร กำแพงแสน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และคณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เปิดสอนในระดับปริญญาตรี โท และเอก ทั้งหลักสูตรปกติ และหลักสูตรนานาชาต.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะเศรษฐศาสตร์ ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ณะเศรษฐศาสตร์ ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เป็นหน่วยงานภายในตามประกาศสภามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โดยจัดตั้งเพื่อดูแลการบริหารจัดการเรียน-การสอน หลักสูตรระดับปริญญาตรีและบัณฑิตศึกษาทางด้านเศรษฐศาสตร์ ที่ดำเนินการ ณ วิทยาเขตศรีร.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และคณะเศรษฐศาสตร์ ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะเทคนิคการสัตวแพทย์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ณะเทคนิคการสัตวแพทย์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จัดตั้งขึ้นเพื่อพัฒนากำลังคน ให้สอดคล้องกับนโยบายของรัฐในด้าน ารส่งเสริมและพัฒนาด้านการเกษตร และการลงทุนทางด้านเกษตรอุตสาหกรรมอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยเปิดสอนในหลักสูตรระดับปริญญาตรี สาขาเทคนิคการสัตวแพท.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และคณะเทคนิคการสัตวแพทย์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเสริฐ ณ นคร

ตราจารย์ ประเสริฐ ณ นคร อดีตนายกราชบัณฑิตยสถาน และนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติปี พ.ศ. 2531 เป็นผู้ประพันธ์คำร้องภาษาไทยของเพลงพระราชนิพนธ์ชะตาชีวิต ใกล้รุ่ง ในดวงใจนิรันดร์ แว่ว เพลงประจำมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ศาสตราจารย์ ประเสริฐ ณ นคร หรือ ศาสตราจารย์ ดร.ประเสริฐ ณ นคร สนใจงานด้านคณิตศาสตร์ สถิติ การคำนวณปฏิทิน การแต่งเพลง พันธุศาสตร์ ประวัติศาสตร์ ภาษาไทยโบราณ มีผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ทั้งในประเทศและต่างประเทศ เป็นที่ยอมรับและอ้างถึงในวงวิชาการอย่างกว้างขวาง ที่เป็นที่รู้จัก ได้แก่ การชำระประวัติศาสตร์สุโขทัย ถิ่นเดิมและตระกูลภาษาไทย หลักการสอบค้นเมืองสมัยสุโขทัย การแบ่งกลุ่มไทยตามตัวหนังสือ พจนานุกรมไทยอาหม ตัวอักษรไทยในล้านนา ที่มาของอักษรไทยล้านนาและไทยลื้อ นอกจากนี้ ยังมีผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์ในวารสารทั้งภายในและต่างประเทศ ไม่ต่ำกว่า 100 บทความ ศาสตราจารย์ ดร.ประเสริฐ ณ นคร เกิดในวันวสันตวิษุวัต ของปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และประเสริฐ ณ นคร · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศญี่ปุ่น

ประเทศญี่ปุ่น (ชื่ออย่างเป็นทางการ) เป็นรัฐเอกราชหมู่เกาะในเอเชียตะวันออก ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกนอกฝั่งตะวันออกของแผ่นดินใหญ่เอเชีย ทางตะวันตกติดกับคาบสมุทรเกาหลีและประเทศจีน โดยมีทะเลญี่ปุ่นกั้น ส่วนทางทิศเหนือติดกับประเทศรัสเซีย มีทะเลโอค็อตสค์เป็นเส้นแบ่งแดน ตัวอักษรคันจิของชื่อญี่ปุ่นแปลว่า "ถิ่นกำเนิดของดวงอาทิตย์" จึงทำให้มักได้ชื่อว่า "ดินแดนแห่งอาทิตย์อุทัย" ประเทศญี่ปุ่นเป็นกลุ่มเกาะกรวยภูเขาไฟสลับชั้นซึ่งมีเกาะประมาณ 6,852 เกาะ เกาะใหญ่สุดคือ เกาะฮนชู ฮกไกโด คีวชู และชิโกกุ ซึ่งคิดเป็นพื้นที่แผ่นดินประมาณร้อยละ 97 ของประเทศญี่ปุ่น และมักเรียกว่าเป็นหมู่เกาะเหย้า (home islands) ประเทศแบ่งเป็น 47 จังหวัดใน 8 ภูมิภาค โดยมีฮกไกโดเป็นจังหวัดเหนือสุด และโอกินาวะเป็นจังหวัดใต้สุด ประเทศญี่ปุ่นมีประชากร 127 ล้านคน เป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับ 10 ของโลก ชาวญี่ปุ่นเป็นร้อยละ 98.5 ของประชากรทั้งหมดของประเทศญี่ปุ่น ประมาณ 9.1 ล้านคนอาศัยอยู่ในกรุงโตเกียว เมืองหลวงของประเทศ การวิจัยทางโบราณคดีระบุว่ามีมนุษย์อาศัยในญี่ปุ่นปัจจุบันครั้งแรกตั้งแต่ยุคหินเก่า การกล่าวถึงญี่ปุ่นเป็นลายลักษณ์อักษรครั้งแรกปรากฏในบันทึกของราชสำนักจีนตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 1 ญี่ปุ่นได้รับอิทธิพลจากจีนในหลายด้าน เช่นภาษา การปกครองและวัฒนธรรม แต่ขณะเดียวกันก็มีการปรับเปลี่ยนให้เป็นเอกลักษณ์ของตนเอง จึงทำให้ญี่ปุ่นมีวัฒนธรรมที่โดดเด่นมาจนปัจจุบัน อีกหลายศตวรรษต่อมา ญี่ปุ่นก็รับเอาเทคโนโลยีตะวันตกและนำมาพัฒนาประเทศจนกลายเป็นประเทศที่ก้าวหน้าและมีอิทธิพลมากที่สุดในเอเชียตะวันออก หลังจากแพ้สงครามโลกครั้งที่สอง ญี่ปุ่นก็มีการเปลี่ยนแปลงทางการปกครองโดยการใช้รัฐธรรมนูญใหม่ใน..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และประเทศญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอินโดนีเซีย

อินโดนีเซีย (Indonesia) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐอินโดนีเซีย (Republik Indonesia) เป็นหมู่เกาะที่ใหญ่ที่สุดในโลก ตั้งอยู่ระหว่างคาบสมุทรอินโดจีนกับทวีปออสเตรเลีย และระหว่างมหาสมุทรอินเดียกับมหาสมุทรแปซิฟิก มีพรมแดนติดกับประเทศมาเลเซียบนเกาะบอร์เนียวหรือกาลีมันตัน (Kalimantan), ประเทศปาปัวนิวกินีบนเกาะนิวกินีหรืออีเรียน (Irian) และประเทศติมอร์-เลสเตบนเกาะติมอร์ (Timor).

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และประเทศอินโดนีเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ปราโมทย์ ไม้กลัด

ปราโมทย์ ไม้กลัด ที่ปรึกษาประธานผู้ตรวจการแผ่นดิน อดีตสมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ อดีตสมาชิกวุฒิสภากรุงเทพมหานคร อดีตอธิบดีกรมชลประทาน อดีตผู้อำนวยการสำนักงานคณะกรรมการทรัพยากรน้ำแห่งชาติ สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี และอดีตรองปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และปราโมทย์ ไม้กลัด · ดูเพิ่มเติม »

ปริญญาตรี

ปริญญาตรี หรือ ปริญญาบัณฑิต เป็นระดับการศึกษาย่อยในการอุดมศึกษา ต่อเนื่องจากชั้นมัธยมศึกษา คำว่า ตรี หมายถึง ชั้นที่สาม (ใช้เกี่ยวกับลำดับชั้นหรือขั้นของยศตำแหน่ง คุณภาพ หรือ วิทยฐานะ ต่ำกว่า โท สูงกว่า จัตวา) ระดับปริญญาตรี โดยทั่วไปเวลาสี่ปี แต่สามารถช่วง 2-6 ปีขึ้นอยู่กับภูมิภาคของโลก.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และปริญญาตรี · ดูเพิ่มเติม »

ปริญญาโท

ปริญญาโท (master's degree) เป็นปริญญาที่ให้แก่บุคคลซึ่งผ่านการศึกษาซึ่งแสดงความชำนาญหรือภาพรวมระดับสูง (high-order overview) ของสาขาการศึกษาหรือแขนงการประกอบวิชาชีพเฉพาะ ในขอบเขตที่ศึกษา ผู้ได้รับปริญญาโทถือว่ามีความรู้สูงในหัวข้อทฤษฎีและประยุกต์กลุ่มชำนัญพิเศษ ทักษะการวิเคราะห์ การประเมินเชิงวิจารณ์หรือการประยุกต์ทางวิชาชีพระดับสูง และความสามารถแก้ไขปัญหาซับซ้อนและคิดอย่างเคร่งครัดและเป็นอิสระ หมวดหมู่:ระดับปริญญา หมวดหมู่:ปริญญาโท.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และปริญญาโท · ดูเพิ่มเติม »

ปริญญาเอก

ปริญญาเอก (doctorate) เป็นปริญญาวิชาการหรือวิชาชีพซึ่งในประเทศส่วนใหญ่ให้ผู้ถือมีคุณสมบัติสอนในระดับมหาวิทยาลัยในสาขาเฉพาะของปริญญานั้น หรือทำงานในวิชาชีพเฉพาะ ในบางประเทศ ปริญญาสูงสุดในสาขาหนึ่ง ๆ เรียก ปริญญาสูงสุด (terminal degree) คำว่า "doctorate" มาจากภาษาละติน docere หมายถึง "สอน".

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และปริญญาเอก · ดูเพิ่มเติม »

นักเรียน

นักเรียนขณะเข้าร่วมประชุมภายในหอประชุม นักเรียน ผู้เรียน นิสิต หรือ นักศึกษา ในความหมายโดยรวมคือผู้ที่เข้าเรียนในสถานศึกษา โดยแบ่งเป็น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และนักเรียน · ดูเพิ่มเติม »

นนทรี

นนทรี เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ถั่ว ทรงพุ่มสูงได้ถึง 25 เมตร กึ่งผลัดใบ เรือนยอดรูปร่ม แผ่กว้าง ใบเป็นใบประกอบขนนกสองชั้นรูปไข่ ออกดอกเป็นช่อตั้งขนาดใหญ่ที่ปลายกิ่ง สีเหลือง มีกลิ่นหอมอ่อน ๆ ออกดอกในฤดูแล้งช่วงเดือนมีนาคม-มิถุนายน นนทรีมีชื่อพื้นเมืองอื่นอีก ดังนี้ กระถินแดง (ตราด) กระถินป่า (ตราด, สุโขทัย) และสารเงิน (เชียงใหม่, เหนือ)เต็ม สมิตินันทน์ สำนักงานหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช,..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และนนทรี · ดูเพิ่มเติม »

แขวงลาดยาว

แขวงลาดยาว เป็นท้องที่การปกครองแห่งหนึ่งของเขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และแขวงลาดยาว · ดูเพิ่มเติม »

แปลก พิบูลสงคราม

งครามอินโดจีน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เมื่อครั้งผนวชทรงรับบาตรจากจอมพล ป. นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น จอมพล จอมพลเรือ จอมพลอากาศ แปลก พิบูลสงคราม (14 กรกฎาคม พ.ศ. 2440 – 11 มิถุนายน พ.ศ. 2507) หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า "จอมพล ป.พิบูลสงคราม" เป็นนายกรัฐมนตรีไทยที่ดำรงตำแหน่งนานที่สุด คือ 14 ปี 11 เดือน 18 วัน รวม 8 สมัย และเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย มีนโยบายที่สำคัญคือ การมุ่งมั่นพัฒนาประเทศไทย ให้มีความเจริญรุ่งเรืองทัดเทียมนานาอารยประเทศ มีการปลุกระดมให้คนไทยรู้สึกรักชาติ โดยออกประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วย "รัฐนิยม" หลายอย่าง ซึ่งบางอย่างได้ประกาศเป็นกฎหมายในภายหลัง หลายอย่างกลายเป็นวัฒนธรรมของชาติ เช่น การรำวง, ก๋วยเตี๋ยวผัดไทย เป็นผู้เปลี่ยนชื่อ "ประเทศสยาม" เป็น "ประเทศไทย" และเป็นผู้เปลี่ยน "เพลงชาติไทย" มาเป็นเพลงที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบัน คำขวัญที่รู้จักกันดีของนายกรัฐมนตรีผู้นี้คือ "เชื่อผู้นำชาติพ้นภัย" หรือ "ท่านผู้นำไปไหนฉันไปด้วย" และ "ไทยอยู่คู่ฟ้า" ในสายตานักวิชาการประวัติศาสตร์การเมืองไทยส่วนหนึ่งเห็นว่า จอมพล ป. พิบูลสงคราม เป็นเผด็จการทางทหารที่มีบทบาททางการเมืองสูง และให้ความสนใจกับความคิดที่ส่อไปในทางเชื้อชาตินิยม จอมพล ป. พิบูลสงคราม ถึงแก่อสัญกรรม เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2507 ในเวลาประมาณ 20.30 น. ณ บ้านพักส่วนตัว ชานกรุงโตเกียว สิริอายุได้ 67 ปี.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และแปลก พิบูลสงคราม · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนการป่าไม้

รงเรียนการป่าไม้ (พ.ศ. 2479 - พ.ศ. 2536) หรือ "ศูนย์ฝึกอบรมที่ 1 (แพร่)" ส่วนฝึกอบรม สำนักบริหารงานกลาง กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ในอดีตเป็นโรงเรียนที่รับนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย เข้าศึกษาในวิชาการป่าไม้ ตั้งอยู่ ณ ถนนคุ้มเดิม ตำบลในเวียง อำเภอเมืองแพร่ จังหวัดแพร.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และโรงเรียนการป่าไม้ · ดูเพิ่มเติม »

โครงการจัดตั้งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตสุพรรณบุรี

รงการจัดตั้งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตสุพรรณบุรี ตามที่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ได้มีนโยบายขยายการศึกษาไปยังท้องถิ่นในภูมิภาคต่างๆ ประกอบกับคณะรัฐมนตรี ได้มีมติอนุมัติหลักการขยายวิทยาเขตของมหาวิทยาลัยของรัฐในภูมิภาคต่างๆ ทั่วประเทศ โครงการจัดตั้งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตสุพรรณบุรี ปัจจุบันมีสถานะเป็นโครงการจัดตั้งวิทยาเขต สังกัดมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และโครงการจัดตั้งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตสุพรรณบุรี · ดูเพิ่มเติม »

ไพฑูรย์ อิงคสุวรรณ

ตราจารย์เกียรติคุณ ไพฑูรย์ อิงคสุวรรณ เป็นนักวิชาการ อาจารย์ อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คนที่ 8 (ดำรงตำแหน่งระหว่างปี พ.ศ. 2523-2525) และอดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี คนที่ 2 (ดำรงตำแหน่งระหว่างปี พ.ศ. 2542-2543) เป็นศิษย์เก่าคนแรกที่ได้รับรางวัล Emil M. Mrak International Award for Outstanding Alumni จากสถาบัน Universty of California at Davis ประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งนับเป็นเกียรติอย่างยิ่งที่ศิษย์เก่าคนแรกที่ได้รับเป็นคนไท.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และไพฑูรย์ อิงคสุวรรณ · ดูเพิ่มเติม »

เกษตร

กษตร อาจหมายถึง.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และเกษตร · ดูเพิ่มเติม »

เกษตรกรรม

กษตรกรรม (agriculture) เป็นการเพาะปลูกพืช เห็ดรา เลี้ยงสัตว์ และรูปแบบของชีวิตแบบอื่น ๆ เพื่อเป็นอาหาร เส้นใย เชื้อเพลิงชีวภาพ ยารักษาโรคและผลิตภัณฑ์อื่นเพื่อความยั่งยืนและเพิ่มสมรรถนะชีวิตมนุษย์ เกษตรกรรมเป็นพัฒนาการที่สำคัญในความเจริญของอารยธรรมมนุษย์ที่ไม่ย้ายที่อยู่ซึ่งการเพาะปลูกหรือเลี้ยงสัตว์ในสปีชีส์ที่ถูกทำให้เชื่องได้ผลิตอาหารส่วนเกิน ซึ่งช่วยหล่อเลี้ยงพัฒนาการของอารยธรรม การศึกษาด้านเกษตรกรรมถูกเรียกว่า เกษตรศาสตร์ ประวัติศาสตร์ของเกษตรกรรมย้อนกลับไปหลายพันปี และการพัฒนาของมันได้ถูกขับเคลื่อนโดยความแตกต่างอย่างมากของภูมิอากาศ วัฒนธรรมและเทคโนโลยี อย่างไรก็ตาม เกษตรกรรมทั้งหมดโดยทั่วไปพึ่งพาเทคนิคต่างๆเพื่อการขยายและบำรุงที่ดินที่เหมาะสมต่อการเลี้ยงสปีชีส์ที่ถูกทำให้เชื่อง สำหรับพืช เทคนิคนี้มักอาศัยการชลประทานบางรูปแบบ แม้จะมีหลายวิธีการของเกษตรกรรมในพื้นที่แห้งแล้งอยู่ก็ตาม ปศุสัตว์จะถูกเลี้ยงในระบบทุ่งหญ้าผสมกับระบบที่ไม่เป็นเจ้าของที่ดิน ในอุตสาหกรรมที่ครอบคลุมพื้นที่เกือบหนึ่งในสามของพื้นที่ที่ปราศจากน้ำแข็งและปราศจากน้ำของโลก ในโลกพัฒนาแล้วเกษตรอุตสาหกรรมที่ยึดการปลูกพืชเชิงเดี่ยวขนาดใหญ่ได้กลายเป็นระบบเกษตรกรรมสมัยใหม่ที่โดดเด่น แม้ว่าจะมีแรงสนับสนุนที่เพิ่มมากขึ้นสำหรับเกษตรกรรมแบบยั่งยืน รวมถึงเกษตรถาวรและเกษตรกรรมอินทรีย์ จนกระทั่งมีการปฏิวัติอุตสาหกรรม ส่วนใหญ่ของประชากรมนุษย์ทำงานในภาคการเกษตร การเกษตรแบบก่อน-อุตสาหกรรมโดยทั่วไปเป็นการเกษตรเพื่อการดำรงชีวิต/การพึ่งตัวเองในที่ซึ่งเกษตรกรส่วนใหญ่ปลูกพืชเพื่อการบริโภคของตัวเองแทน'พืชเงินสด'เพื่อการค้า การปรับเปลี่ยนที่โดดเด่นในการปฏิบัติทางการเกษตรได้เกิดขึ้นในช่วงศตวรรษที่ผ่านมาในการตอบสนองต่อเทคโนโลยีใหม่ๆและการพัฒนาของตลาดโลก มันยังได้นำไปสู่การปรับปรุงด้านเทคโนโลยีในเทคนิคการเกษตร เช่นวิธีของ 'ฮาเบอร์-Bosch' สำหรับการสังเคราะห์แอมโมเนียมไนเตรตซึ่งทำให้การปฏิบัติแบบดั้งเดิมของสารอาหารที่รีไซเคิลด้วยการปลูกพืชหมุนเวียนและมูลสัตว์มีความสำคัญน้อยลง เศรษฐศาสตร์การเกษตร การปรับปรุงพันธุ์พืช เกษตรเคมีเช่นยาฆ่าแมลงและปุ๋ยและการปรับปรุงเทคโนโลยีที่ทันสมัยได้เพิ่มอัตราผลตอบแทนอย่างรวดเร็วจากการเพาะปลูก แต่ในเวลาเดียวกันได้ทำให้เกิดความเสียหายของระบบนิเวศอย่างกว้างขวางและผลกระทบต่อสุขภาพของมนุษย์ในเชิงลบ การคัดเลือกพันธุ์และการปฏิบัติที่ทันสมัยในการเลี้ยงสัตว์ได้เพิ่มขึ้นในทำนองเดียวกันของการส่งออกของเนื้อ แต่ได้เพิ่มความกังวลเกี่ยวกับสวัสดิภาพของสัตว์และผลกระทบต่อสุขภาพของยาปฏิชีวนะ ฮอร์โมนที่สร้างการเจริญเติบโต และสารเคมีอื่นๆที่ใช้ทั่วไปในอุตสาหกรรมการผลิตเนื้อสัตว์ สิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรมเป็นองค์ประกอบที่เพิ่มขึ้นของการเกษตร แม้ว่าพวกมันจะเป็นสิ่งต้องห้ามในหลายประเทศ การผลิตอาหารการเกษตรและการจัดการน้ำจะได้กลายเป็นเป็นปัญหาระดับโลกเพิ่มขึ้นที่ได้รับการสนับสนุนให้เกิดการอภิปรายเกี่ยวกับจำนวนของ fronts การเสื่อมสลายอย่างมีนัยสำคัญของทรัพยากรดินและน้ำ รวมถึงการหายไปของชั้นหินอุ้มน้ำ ได้รับการตั้งข้อสังเกตในทศวรรษที่ผ่านมา และผลกระทบของภาวะโลกร้อนกับการเกษตรและผลของการเกษตรต่อภาวะโลกร้อนยังคงไม่เป็นที่เข้าใจอย่างเต็มที่ สินค้าเกษตรที่สำคัญสามารถแบ่งออกเป็นกลุ่มกว้างๆได้แก่อาหาร เส้นใย เชื้อเพลิง และวัตถุดิบ อาหารที่เฉพาะได้แก่(เมล็ด)ธัญพืช ผัก ผลไม้ น้ำมันปรุงอาหาร เนื้อสัตว์และเครื่องเทศ เส้นใยรวมถึงผ้าฝ้าย ผ้าขนสัตว์ ป่าน ผ้าไหมและผ้าลินิน วัตถุดิบได้แก่ ไม้และไม้ไผ่ วัสดุที่มีประโยชน์อื่นๆมีการผลิตจากพืช เช่นเรซิน สีธรรมชาติ ยา น้ำหอม เชื้อเพลิงชีวภาพและผลิตภัณฑ์ใช้ประดับเช่นไม้ตัดดอกและพืชเรือนเพาะชำ กว่าหนึ่งในสามของคนงานในโลกมีการจ้างงานในภาคเกษตร เป็นที่สองรองจากภาคบริการเท่านั้น แม้ว่าร้อยละของแรงงานเกษตรในประเทศที่พัฒนาแล้วได้ลดลงอย่างมีนัยสำคัญในช่วงหลายศตวรรษที่ผ่านม.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และเกษตรกรรม · ดูเพิ่มเติม »

เกษตรศาสตร์

กษตรศาสตร์ (กะ-เสด-ตฺระ-สาด) (agricultural science) คือ วิชาว่าด้วยการเกษตรกรรม โดยรวมสามารถแบ่งได้หลายสาขาวิชา และแบ่งย่อยไปในสาขาอื่นที่เกี่ยวข้องได้แก.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และเกษตรศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

เกษตรศาสตร์ (เพลงพระราชนิพนธ์)

ลงพระราชนิพนธ์ เกษตรศาสตร์ เป็นเพลงพระราชนิพนธ์ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชพระราชทานให้เป็นเพลงประจำมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เมื่อวันที่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2509 ซึ่งจัดว่าเป็น 1 ใน 3 สถาบันการศึกษาที่พระองค์ได้พระราชทานเพลงพระราชนิพนธ์ให้เป็นเพลงประจำสถาบัน โดยอีก 2 เพลง ได้แก่ เพลงพระราชนิพนธ์มหาจุฬาลงกรณ์ พระราชทานให้เป็นเพลงประจำจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเมื่อปี พ.ศ. 2492 และเพลงพระราชนิพนธ์ ยูงทองที่พระราชทานให้เป็นเพลงประจำมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เมื่อปี พ.ศ. 2506.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และเกษตรศาสตร์ (เพลงพระราชนิพนธ์) · ดูเพิ่มเติม »

เภา เพียรเลิศ บริภัณฑ์ยุทธกิจ

ลเอก เภา เพียรเลิศ บริภัณฑ์ยุทธกิจ (10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2436 - 3 เมษายน พ.ศ. 2513) ราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง และ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ ในสมัยรัฐบาลของจอมพล ป. พิบูลสงคราม.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และเภา เพียรเลิศ บริภัณฑ์ยุทธกิจ · ดูเพิ่มเติม »

เศรษฐศาสตร์

รษฐศาสตร์ (economics) เป็นวิชาทางสังคมศาสตร์ที่ศึกษาเกี่ยวกับการผลิต การกระจาย การบริโภคสินค้าและการให้บริการ ตามคำจำกัดความของนักเศรษฐศาสตร์และนักการเมือง เรย์มอนด์ บารร์ แล้ว "เศรษฐศาสตร์คือศาสตร์แห่งการจัดการทรัพยากรอันมีจำกัด เศรษฐศาสตร์พิจารณาถึงรูปแบบที่พฤติกรรมมนุษย์ได้เลือกในการบริหารทรัพยากรเหล่านี้ อีกทั้งวิเคราะห์และอธิบายวิถีที่บุคคลหรือบริษัททำการจัดสรรทรัพยากรอันจำกัดเพื่อตอบสนองความต้องการมากมายและไม่จำกัด" คำว่า เศรษฐศาสตร์ มาจากคำภาษากรีก oikonomia ่ซึ่งแปลว่าการจัดการครัวเรือน (oikos แปลว่าบ้านและ nomos แปลว่า จารีตประเพณีหรือกฎหมาย ซึ่งรวมกันหมายความว่ากฎเกณฑ์ของครัวเรือน) แบบจำลองทางเศรษฐศาสตร์ปัจจุบันแยกออกมาจากขอบเขตที่กว้างของวิชาเศรษฐศาสตร์การเมืองเมื่อปลายศตวรรษที่ 19 การวิเคราะห์ทางเศรษฐศาสตร์ถูกประยุกต์ใช้ครอบคลุมทั้งสังคมในด้าน ธุรกิจ, การเงิน และรัฐบาล แม้แต่ทั้งด้านอาชญากรรม, การศึกษา, ครอบครัว, สุขภาพ, กฎหมาย, การเมือง, ศาสนา, สถาบันสังคม, สงคราม และวิทยาศาสตร์ ภาพแสดงผู้ซื้อและผู้ขายกำลังต่อรองราคาอยู่หน้าตลาดชิชิคาสเทนานโก ในประเทศกัวเตมาลา วิชาเศรษฐศาสตร์จัดเป็นวิชาเชิงปทัสฐาน (เศรษฐศาสตร์ที่ควรจะเป็น) เมื่อเศรษฐศาสตร์ได้ถูกใช้เพื่อเลือกทางเลือกอันหนึ่งอันใด หรือเมื่อมีการตัดสินคุณค่าบางสิ่งบางอย่างแบบอัตวิสัย ในทางตรงข้ามเราจะเรียกเศรษฐศาสตร์ว่าเป็นวิชาเชิงบรรทัดฐาน (เศรษฐศาสตร์ตามที่เป็นจริง) เมื่อเศรษฐศาสตร์นั้นได้ถูกใช้เป็นเครื่องมือในการทำนายและอธิบายถึงผลลัพธ์ที่ตามมาเมื่อมีการเลือกเกิดขึ้น โดยพิจารณาจากสมมติฐาน และชุดของข้อมูลสังเกตการณ์ ทางเลือกใดก็ตามที่เกิดจากการใช้สมมติฐานสร้างเป็นแบบจำลอง หรือเกิดจากชุดข้อมูลสังเกตการณ์ที่สัมพันธ์กันนั้น ก็เป็นข้อมูลเชิงบรรทัดฐานด้วยเช่นเดียวกัน เศรษฐศาสตร์จะให้ความสนใจกับตัวแปรที่สามารถวัดค่าได้เท่านั้น โดยสาขาของวิชาเศรษฐศาสตร์จะถูกจำแนกออกตามเนื้อหาเป็นสองสาขาใหญ่ ๆ คือ.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และเศรษฐศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี (สนั่น เทพหัสดิน ณ อยุธยา)

มหาเสวกเอก เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี (สนั่น เทพหัสดิน ณ อยุธยา) (1 มกราคม พ.ศ. 2419 - 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2486) นามเดิม สนั่น เทพหัสดิน ณ อยุธยา เสนาบดีกระทรวงธรรมการ (รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ) ผู้วางรากฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานและอาชีวศึกษา ผู้ร่วมดำริให้ก่อตั้งมหาวิทยาลัยแห่งแรกของประเทศ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) ประธานสภาผู้แทนราษฎรคนแรก ผู้นำกีฬาฟุตบอลมาเผยแพร่ในประเทศไทย นักประพันธ์ (ใช้นามปากกา "ครูเทพ") ผู้ประพันธ์เพลงกราวกีฬา รวมทั้งเพลงชาติฉบับก่อนปัจจุบัน จากคำให้การของ ผ.ดร.กิตติศักดิ์ ณ ท่าพระจันทร.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และเจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี (สนั่น เทพหัสดิน ณ อยุธยา) · ดูเพิ่มเติม »

เทคโนโลยี

นาโนเทคโนโลยีเป็นที่สนใจในศตวรรษปัจจุบัน เทคโนโลยี หรือ เทคนิควิทยา มีความหมายค่อนข้างกว้าง โดยทั่วไปหมายถึงธรรมชาติวิทยาและต่อเนื่องมาถึงวิทยาศาสตร์ มาเป็นวิธีการปฏิบัติและประยุกต์ใช้เพื่อช่วยในการทำงานหรือแก้ปัญหาต่าง ๆ อันก่อให้เกิดวัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องจักร แม้กระทั่งองค์ความรู้นามธรรมเช่น ระบบหรือกระบวนการต่าง ๆ เพื่อให้การดำรงชีวิตของมนุษย์ง่ายและสะดวกยิ่งขึ้น สาขาวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิร.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และเทคโนโลยี · ดูเพิ่มเติม »

เทคโนโลยีสารสนเทศ

ทคโนโลยีสารสนเทศ หรือ ไอที (information technology: IT) คือการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์โทรคมนาคม เพื่อจัดเก็บ ค้นหา ส่งผ่าน และจัดดำเนินการข้อมูล ซึ่งมักเกี่ยวข้องกับธุรกิจหนึ่งหรือองค์การอื่น ๆ ศัพท์นี้โดยปกติก็ใช้แทนความหมายของเครื่องคอมพิวเตอร์และเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และยังรวมไปถึงเทคโนโลยีการกระจายสารสนเทศอย่างอื่นด้วย เช่นโทรทัศน์และโทรศัพท์ อุตสาหกรรมหลายอย่างเกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศ ตัวอย่างเช่น ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ อิเล็กทรอนิกส์ อุปกรณ์กึ่งตัวนำ อินเทอร์เน็ต อุปกรณ์โทรคมนาคม การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ และบริการทางคอมพิวเตอร.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ · ดูเพิ่มเติม »

เขตบางเขน

ตบางเขน เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพเหนือ ซึ่งถือเป็นเขตที่อยู่อาศัยรองรับการขยายตัวของเมือง ทางทิศตะวันออก (ตอนเหนือ) ของกรุงเทพมหานคร และเป็นเขตที่มีจำนวนประชากรมากเป็นอันดับที่ 4 ในกรุงเทพมหานครรองจากเขตบางแ.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และเขตบางเขน · ดูเพิ่มเติม »

เขตจตุจักร

ตจตุจักร เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร จัดอยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพเหนือ ซึ่งถือเป็นแหล่งการค้า การบริการ และแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และเขตจตุจักร · ดูเพิ่มเติม »

เคยู แบนด์ (วงดนตรี)

KU Band เป็น วงดนตรีสากลประจำมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ถือกำเนิดขึ้นอย่างเป็นทางการในวันที่ 8 กันยายน พ.ศ. 2494 นับว่าเป็นวงดนตรีประจำมหาวิทยาลัยวงแรกของประเทศไทย ก่อตั้งโดย พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจักรพันธ์เพ็ญศิริ เพื่อออกแสดงใน “ งานวันไก่” หรือ งานตัดสินและแจกรางวัลการประกวดไก่ไข่ดกประจำปีของสมาคมเลี้ยงไก่ ปัจจุบัน KU Band วงดนตรีประจำมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์มีที่ทำการ ณ อาคาร อวบ เหมะรัชตะ และมีงานเทศกาลคอนเสิร์ตจัดขึ้นเป็นประจำในทุกๆปี.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และเคยู แบนด์ (วงดนตรี) · ดูเพิ่มเติม »

12 พฤศจิกายน

วันที่ 12 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 316 ของปี (วันที่ 317 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 49 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และ12 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

13 กรกฎาคม

วันที่ 13 กรกฎาคม เป็นวันที่ 194 ของปี (วันที่ 195 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 171 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และ13 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

2 กุมภาพันธ์

วันที่ 2 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 33 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 332 วันในปีนั้น (333 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และ2 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

21 กุมภาพันธ์

วันที่ 21 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 52 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 313 วันในปีนั้น (314 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และ21 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

9 เมษายน

วันที่ 9 เมษายน เป็นวันที่ 99 ของปี (วันที่ 100 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 266 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และ9 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Kasetม.เกษตรม.เกษตรศาสตร์มก.มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขนงานเกษตรกำแพงแสนโรงเรียนฝึกหัดครูประถมกสิกรรมโรงเรียนช่างไหมโรงเรียนเกษตราธิการ

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »