สารบัญ
22 ความสัมพันธ์: ชาวแมนจูพ.ศ. 1768พ.ศ. 1803พ.ศ. 1847พ.ศ. 1913พ.ศ. 2230ภาษามองโกเลียราชวงศ์หยวนราชวงศ์ตีมูร์ศาสนาพุทธศาสนาอิสลามศาสนาคริสต์จักรวรรดิจักรวรรดิมองโกลทวีปเอเชียทะเลอารัลตีมูร์แม่น้ำอามูดาร์ยาเอเชียกลางเจงกีส ข่านเทือกเขาอัลไตเตมูร์ ข่าน
- รัฐข่าน
- รัฐสิ้นสภาพ
- รัฐสิ้นสภาพในประวัติศาสตร์จีน
- ราชาธิปไตยในอดีต
ชาวแมนจู
แมนจู (แมนจู:; หม่านจู๋) เป็นชนกลุ่มน้อยเผ่าหนึ่งในประเทศจีนและผู้คนจากดินแดนแมนจูเรียได้ใช้ชื่อดินแดนเป็นชื่อเรียกชนเผ่าของตนเอง ชาวแมนจูเป็นกลุ่มสาขาที่ใหญ่ที่สุดของกลุ่มชาวตุงกูซิกที่ใช้ภาษากลุ่มตุงกูซิกและได้อาศัยกระจัดกระจายทั่วประเทศจีน ถือเป็นชนกลุ่มน้อยที่ใหญ่ที่สุดเป็นอันดับ 4 ของประเทศจีน ชาวแมนจูได้อาศัยและพบได้ใน 31 จังหวัดของจีน โดยเฉพาะในดินแดนแมนจูเรีย เหลียวหนิงถือได้ว่าเป็นดินแดนที่มีประชากรแมนจูเยอะที่สุด ส่วนเหอเป่ย, เฮย์หลงเจียง, จี๋หลิน, มองโกเลียในและปักกิ่ง มีประชากรแมนจู 100,000 คนอาศัยอยู่ ประมาณครึ่งของประชากรอาศัยอยู่ในเหลียวหนิงและ 1 ใน 5 อยู่ที่เหอเป่ย์ นอกจากนี้ยังมีชาวแมนจูอาศัยอยู่ในประเทศรัสเซียอันได้แก่ ดินแดนปรีมอร์สกี บางส่วนของดินแดนฮาบารอฟสค์และแคว้นอามูร์ ประวัติโดยสังเขปของชาวแมนจูนั้น ในทัศนคติของชาวฮั่น ถือได้ว่าเป็นชนกลุ่มน้อยเร่ร่อนหรือคนป่าเถื่อน ชาวแมนจูได้สืบเชื้อสายมาจากชาวหนี่เจิน (Jurchen; 女真) ที่ซึ่งได้สถาปนาราชวงศ์จินตอนแรกขึ้นทางตอนเหนือของจีน ในช่วง..
ดู จักรวรรดิข่านจักกาไทและชาวแมนจู
พ.ศ. 1768
ทธศักราช 1768 ใกล้เคียงกั.
ดู จักรวรรดิข่านจักกาไทและพ.ศ. 1768
พ.ศ. 1803
ทธศักราช 1803 ใกล้เคียงกั.
ดู จักรวรรดิข่านจักกาไทและพ.ศ. 1803
พ.ศ. 1847
ทธศักราช 1847 ใกล้เคียงกั.
ดู จักรวรรดิข่านจักกาไทและพ.ศ. 1847
พ.ศ. 1913
ทธศักราช 1913 ใกล้เคียงกั.
ดู จักรวรรดิข่านจักกาไทและพ.ศ. 1913
พ.ศ. 2230
ทธศักราช 2230 ใกล้เคียงกั.
ดู จักรวรรดิข่านจักกาไทและพ.ศ. 2230
ภาษามองโกเลีย
ษามองโกเลีย เป็นภาษาทางการของประเทศมองโกเลีย และเป็นภาษาหลักของชาวมองโกเลียส่วนใหญ่ ซึ่งคนพูดส่วนใหญ่จะพูดแบบคอลคา (Khalkha) นอกจากนี้ ภาษามองโกเลียก็พูดในพื้นที่รอบนอกในบางมณฑลของสาธารณรัฐประชาชนจีนและสหพันธรัฐรัสเซีย ภาษามองโกเลีย เป็นภาษารูปคำติดต่อคล้ายภาษาตุรกีหรือภาษาฟินน์ มีการเติมปัจจัยที่รากศัพท์ ภาษามองโกเลียมีเพียงสรรพนามบุรุษที่หนึ่งและสอง แต่ไม่มีบุรุษที่สาม แต่ใช้สรรพนามชี้เฉพาะ เช่น นี่ (en) นั่น (ter) นี่ทั้งหลาย (ed nar) และนั่นทั้งหลาย (ted nar) แทน.
ดู จักรวรรดิข่านจักกาไทและภาษามองโกเลีย
ราชวงศ์หยวน
ตแดนของจักรวรรดิจีนสมัยราชวงศ์หยวน เครื่องปั้นดินเผา สมัยราชวงศ์หยวน ราชวงศ์หยวน (หยวนเฉา) (พ.ศ. 1814 - 1911) คือหนึ่งในราชวงศ์ของจักรวรรดิจีน ก่อตั้งขึ้นเมื่อกุบไลข่านผู้นำเผ่าชาวมองโกล ได้โค่นอำนาจราชวงศ์ซ่งลง แล้วเปิดศักราชชาวมองโกลครองประเทศจีน ชาวมองโกลได้เข้ายึดครองภาคเหนือของจีนเป็นเวลากว่าทศวรรษ ได้มีความพยายามเปลี่ยนเป็นจีน ตั้งแต่สมัย มองเกอ ข่าน พระเชษฐาของกุบไลข่าน แต่ไม่สำเร็จ จนกระทั่งในสมัยของกุบไลข่าน ในปี..
ดู จักรวรรดิข่านจักกาไทและราชวงศ์หยวน
ราชวงศ์ตีมูร์
ราชวงศ์ตีมูร์ หรือ จักรวรรดิตีมูร์ (Timurid dynasty, تیموریان ตั้งตนเป็นGurkānī, گوركانى) เป็นราชวงศ์หนึ่งของจักรวรรดิเปอร์เชียของซุนนีย์มุสลิมในเอเชียกลางที่เดิมมาจากผู้สืบเชื้อสายจากราชวงศ์เติร์ก-มองโกล (Turko-Mongol)Encyclopædia Britannica, "", Online Academic Edition, 2007.
ดู จักรวรรดิข่านจักกาไทและราชวงศ์ตีมูร์
ศาสนาพุทธ
ระพุทธศาสนา หรือ ศาสนาพุทธ (buddhasāsana พุทฺธสาสนา, buddhaśāsana พุทธศาสนา) เป็นศาสนาที่มีพระพุทธเจ้าเป็นศาสดา มีพระธรรมที่พระองค์ตรัสรู้ชอบด้วยพระองค์เอง และตรัสสอนไว้เป็นหลักคำสอนสำคัญ มีพระสงฆ์ (ภิกษุ ภิกษุณี) สาวกผู้ตัดสินใจออกบวชเพื่อศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอน ธรรม-วินัย ของพระบรมศาสดา เพื่อบรรลุสู่จุดหมายคือพระนิพพาน และสร้างสังฆะ เป็นชุมชนเพื่อสืบทอดคำสอนของพระบรมศาสดา รวมเรียกว่า พระรัตนตรัย นอกจากนี้ในพระพุทธศาสนา ยังประกอบคำสอนสำหรับการดำรงชีวิตที่ดีงาม สำหรับผู้ที่ยังไม่ออกบวช (คฤหัสถ์ - อุบาสก และอุบาสิกา) ซึ่งหากรวมประเภทบุคคลที่ที่นับถือและศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอนของพระบรมศาสดา แล้วจะจำแนกได้เป็น 4 ประเภท คือ ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา หรือที่เรียกว่า พุทธบริษัท 4 ศาสนาพุทธเป็นศาสนาอเทวนิยม ปฏิเสธการมีอยู่ของพระเป็นเจ้าหรือพระผู้สร้าง และเชื่อในศักยภาพของมนุษย์ ว่าทุกคนสามารถพัฒนาจิตใจ ไปสู่ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ได้ ด้วยความเพียรของตน กล่าวคือ ศาสนาพุทธ สอนให้มนุษย์บันดาลชีวิตของตนเอง ด้วยผลแห่งการกระทำของตน ตาม กฎแห่งกรรม มิได้มาจากการอ้อนวอนขอจากพระเป็นเจ้าและสิ่งศักดิ์สิทธิ์นอกกายพระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๕ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๗ ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ-ธรรมบท-อุทาน-อิติวุตตกะ-สุตตนิบาต คาถาธรรมบท อัตตวรรคที่ ๑.
ดู จักรวรรดิข่านจักกาไทและศาสนาพุทธ
ศาสนาอิสลาม
นาอิสลาม (Islam) เป็นศาสนาเอกเทวนิยมและศาสนาอับราฮัม บัญญัติไว้ในคัมภีร์อัลกุรอาน คัมภีร์ศักดิ์สิทธิ์ของอิสลามซึ่งสาวกถือว่าเป็นพระวจนะคำต่อคำของพระเป็นเจ้า (อัลลอฮฺ) และสำหรับสาวกส่วนใหญ่ เป็นคำสอนและตัวอย่างเชิงบรรทัดฐาน (เรียกว่า สุนัต และประกอบด้วยหะดีษ) ของมุฮัมมัด (ประมาณ 570–8 มิถุนายน 632)เป็นศาสดา (นบี) องค์สุดท้ายของพระเป็นเจ้า สาวกของศาสนาอิสลาม เรียกว่า มุสลิม มุสลิมเชื่อว่า พระเจ้าเป็นหนึ่งและหาที่เปรียบไม่ได้ และจุดประสงค์ของการดำรงอยู่ คือ เพื่อรักและรับใช้พระเป็นเจ้า มุสลิมยังเชื่อว่า ศาสนาอิสลามเป็นบรรพศรัทธาฉบับสมบูรณ์และเป็นสากลที่สุดซึ่งได้ประจักษ์มาหลายครั้งก่อนหน้านั้น ผ่านศาสดาซึ่งรวมอาดัม โนอาห์ อับราฮัม โมเสส และพระเยซู พวกเขายึดมั่นว่า สารและวิวรณ์ถูกแปลผิดหรือเปลี่ยนแปลงบางส่วนตามกาลดู.
ดู จักรวรรดิข่านจักกาไทและศาสนาอิสลาม
ศาสนาคริสต์
นาคริสต์ (Christianity) ราชบัณฑิตยสถานเรียกว่า คริสต์ศาสนาราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พิมพ์ครั้งที่ 3, ราชบัณฑิตยสถาน, 2548, หน้า 156 เป็นศาสนาประเภทเอกเทวนิยม ที่มีพื้นฐานมาจากชีวิตและการสอนของพระเยซูตามที่ปรากฏในพระวรสารในสารบบ (canonical gospel) และงานเขียนพันธสัญญาใหม่อื่น ๆ ผู้นับถือศาสนาคริสต์เรียกว่าคริสต์ศาสนิกชนหรือคริสตชน คริสตชนเชื่อว่าพระเยซูเป็นพระบุตรพระเป็นเจ้า และเป็นพระเจ้าผู้มาบังเกิดเป็นมนุษย์และเป็นพระผู้ช่วยให้รอด ด้วยเหตุนี้ คริสตชนจึงมักเรียกพระเยซูว่า "พระคริสต์" หรือ "พระเมสสิยาห์" Briggs, Charles A.
ดู จักรวรรดิข่านจักกาไทและศาสนาคริสต์
จักรวรรดิ
ักรวรรดิ (อ่านว่า จัก-กฺระ-หฺวัด, อังกฤษ: empire) ถูกนิยามว่าหมายถึง "กลุ่มชาติรัฐหรือชาติพันธุ์ที่อยู่ภายใต้การปกครองของจักรพรรดิหรืออธิปไตยของรัฐอื่นๆที่ทรงอิทธิพล โดยทั่วไปมีอาณาเขตกว้างใหญ่กว่าราชอาณาจักร" นักวิชาการได้ถกเถียงกันมานานเกี่ยวกับคำว่า “Empire” ในภาษาอังกฤษหรือ “จักรวรรดิ” ในภาษาไทย (จากคำภาษาละติน “imperium” ที่หมายถึงสายการบังคับบัญชาทางการทหารของรัฐบาลโรมันโบราณ) โดยทั่วไปมักนิยามให้เป็นรัฐที่มีอาณาจักรอื่นที่มีประชากรและวัฒนธรรมที่แตกต่างชัดเจนอยู่ภายใต้อิทธิพลอำนาจการปกครองหรืออยู่ในเครือจักรภพ เช่นประเทศในเครือจักรภพอังกฤษในปัจจุบัน นิยามอีกรูปแบบหนึ่งอาจเน้นปัจจัยทางเศรษฐกิจหรือการเมือง แต่โดยทั่วไปมักหมายถึงการครอบงำทางอำนาจการทหาร เช่นเดียวกับรัฐทั่วไป จักรวรรดิจะมีโครงสร้างทางการเมืองของตนเอง หรืออย่างน้อยก็โดยวิธีกดขี่บังคับให้อยู่ใต้อำนาจ จักรวรรดิบนแผ่นดินใหญ่ (เช่นจักรวรรดิมองโกล หรือจักรวรรดิอาคีเมนิดเปอร์เชีย – Achaemenid Persia) มักจะขยายไปตามอาณาเขตที่ประชิดต่อเนื่องกัน ส่วนจักรวรรดิทางทะเล (เช่น จักรวรรดิเอเธนีเนียน จักรวรรดิโปรตุเกสและจักรวรรดิอังกฤษ) อาจมีอาณาเขตกระจัดกระจายหลวมๆ แต่อยู่ในอำนาจการควบคุมทางกองทัพเรือเป็นต้น จักรวรรดิที่มีมาก่อนจักรวรรดิโรมันหลายร้อยปี ได้แก่จักรวรรดิอียิปต์ซึ่งได้ก่อตั้งจักรวรรดิเมื่อประมาณ 1000 ปีก่อน..
ดู จักรวรรดิข่านจักกาไทและจักรวรรดิ
จักรวรรดิมองโกล
อาณาเขตของจักรวรรดิมองโกล จักรวรรดิมองโกล (มองโกล: Mongolyn Ezent Güren; Mongol Empire) ซึ่งมีอยู่ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 13 และ 14 เป็นจักรวรรดิทางบกที่มีอาณาเขตต่อเนื่องใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ กำเนิดในสเต็ปป์เอเชียกลาง สุดท้ายจักวรรดิมองโกลมีอาณาเขตครอบคลุมยุโรปตะวันออกจนถึงทะเลญี่ปุ่น ขยายไปทางเหนือเข้าไปในไซบีเรีย ทางตะวันออกและใต้เข้าไปในอนุทวีปอินเดีย อินโดจีนและที่ราบสูงอิหร่าน และทางตะวันตกไปไกลถึงเลแวนต์และคาบสมุทรอาหรับ จักรวรรดิรวมเผ่าชนเร่ร่อนมองโกเลียในประวัติศาสตร์ภายใต้การนำของเจงกิสข่าน ผู้ได้รับประกาศเป็นผู้ปกครองชาวมองโกลทั้งปวงใน..
ดู จักรวรรดิข่านจักกาไทและจักรวรรดิมองโกล
ทวีปเอเชีย
แผนที่ดาวเทียมแสดงส่วนประกอบทางภูมิศาสตร์ของทวีปเอเชีย เอเชีย (Asia; Ασία อาเซีย) เป็นทวีปใหญ่และมีประชากรมากที่สุดในโลก พื้นที่ส่วนมากตั้งอยู่ในซีกโลกเหนือและตะวันออก ทวีปเอเชียตั้งอยู่ในทวีปยูเรเชียรวมกับทวีปยุโรป และอยู่ในทวีปแอฟโฟร-ยูเรเชียร่วมกับยุโรปและแอฟริกา ทวีปเอเชียมีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 44,579,000 ตารางกิโลเมตร คิดเป็น 30% ของแผ่นดินทั่วโลกหรือคิดเป็น 8.7% ของผิวโลกทั้งหมด ทวีปเอเชียเป็นที่อยู่อาศัยของมนุษย์มานานและเป็นแหล่งกำเนินอารยธรรมแรก ๆ ของโลกหลายแห่ง เอเชียไม่ได้เพียงแค่มีขนานใหญ่และมีประชากรเยอะแต่ยังมีสถานที่ ๆ ตั้งถิ่นฐานหนาแน่นและมีขนาดใหญ่เช่นเดียวกับที่ยังมีบริเวณที่ประชากรตั้งถิ่นฐานเบาบางด้วย ทั้งนี้ทวีปเอเชียมีประชากรราว 4.5 พันล้านคน คิดเป็น 60% ของประชากรโลก โดยทั้วไปทางตะวันออกของทวีปติดกับมหาสมุทรแปซิฟิก ทางใต้ติดมหาสมุทรอินเดียและทางเหนือติดกับมหาสมุทรอาร์กติก บริเวณชายแดนระหว่างเอเชียและยุโรปมีประวัติศาสตร์และโครงสร้างวัฒนธรรมมากมายเพราะไม่มีการแยกกันด้วยลักษณะทางภูมิศาสตร์ที่ชัดเจน จึงมีการโยกย้ายติดต่อกันในช่วงสมัยคลาสสิก ทำให้บริเวณนี้แสดงให้เห็นความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรม ภาษา ความแตกต่างทางชาติพันธุ์ของตะวันออกกับตะวันตกและแบ่งจากกันอย่างเด่นชัดกว่าการขีดเส้นแบ่ง เขตแดนที่เด่นชัดของเอเชียคือตั้งแต่ฝั่งตะวันออกของคลองสุเอซ, แม่น้ำยูรัล, เทือกเขายูรัล, ช่องแคบตุรกี, ทางใต้ของเทือกเขาคอเคซัส, ทะเลดำและทะเลแคสเปียน "Europe" (pp.
ดู จักรวรรดิข่านจักกาไทและทวีปเอเชีย
ทะเลอารัล
ทะเลอารัล (ภาษาคาซัค: Арал Теңізі, Aral Tengizi; ภาษาอุซเบก: Orol dengizi; ภาษารัสเซีย: Аральскοе мοре; ภาษาทาจิก/ภาษาเปอร์เซีย: Daryocha-i Khorazm, Lake Khwarazm) เป็นทะเลปิดที่อยู่ในเอเชียกลาง อยู่ระหว่างประเทศคาซัคสถานกับสาธารณรัฐคาราคัลปัคสถานซึ่งเป็นดินแดนปกครองตนเองของประเทศอุซเบกิสถาน ปัจจุบันปริมาณน้ำในทะเลลดลงมากจนทะเลถูกแบ่งออกเป็น 3 ส่วน ได้แก่ ทะเลอารัลเหนือ ทะเลอารัลใต้ส่วนตะวันออกและทะเลอารัลใต้ส่วนตะวันตก ครั้งหนึ่งทะเลอารัลมีพื้นที่ 68,000 ตารางกิโลเมตร ตั้งแต่ประมาณปี..
ดู จักรวรรดิข่านจักกาไทและทะเลอารัล
ตีมูร์
ติมูร์ (Timur bin Taraghay Barlas หรือ Tamerlane) มีชีวิตอยู่ในปี ค.ศ. 1336 ถึงเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 1405 เป็นที่รู้จักในหมู่ชาวตะวันตกว่า Tamerlane ติมูร์เป็นขุนศึกที่มีเชื้อสายผสมระหว่างมองโกลและเติร์ก และเป็นผู้พิชิตดินแดนส่วนใหญ่ของเอเชียตะวันตกและเอเชียกลาง และยังเป็นผู้ก่อตั้งจักรวรรดิตีมูร์ และ ราชวงศ์ตีมูร์ ซึ่งจะคงอยู่ต่อไปจนถึงปี..
ดู จักรวรรดิข่านจักกาไทและตีมูร์
แม่น้ำอามูดาร์ยา
แผนที่บริเวณรอบ ๆ ทะเลอารัล แม่น้ำอามูดาร์ยา (آمودریا Āmūdaryā) เป็นแม่น้ำที่ยาวที่สุดในเอเชียกลาง เป็นเส้นแบ่งพรมแดนทางธรรมชาติระหว่างประเทศอัฟกานิสถานกับประเทศทาจิกิสถาน ชื่อโบราณคือแม่น้ำออกซุส (Oxus) เกิดจากธารน้ำแข็งบนชุมเขาปามีร์ เริ่มต้นจากจังหวัดบาดัคชานแล้วไหลไปทางตะวันตกเข้าสู่จังหวัดตาคาร์ จังหวัดกอนดอซ จังหวัดซามันกัน และจังหวัดบัลค์ แล้วจึงไหลเข้าประเทศเติร์กเมนิสถานและประเทศอุซเบกิสถานไปลงทะเลอารัล.
ดู จักรวรรดิข่านจักกาไทและแม่น้ำอามูดาร์ยา
เอเชียกลาง
แผนที่เอเชียกลางแสดงเขตแดนตามคำนิยามที่ต่างกัน 3 แบบ เอเชียกลาง(อังกฤษ: Central Asia หรือ Middle Asia รัสเซีย: Центральная Азия) เป็นพื้นที่กว้างใหญ่ในทวีปเอเชียที่ไม่มีทางออกทะเล มีคำนิยามที่ต่างกันออกไปสำหรับขอบเขตของดินแดนที่จัดอยู่ในภูมิภาคเป็นเอเชียกลาง และยังไม่มีคำนิยามใดที่เป็นที่ยอมรับโดยส่วนใหญ่ อย่างไรก็ตามลักษณะโดยทั่วไปของดินแดนในภูมิภาคนี้คือ มีความเกี่ยวข้องทางประวัติศาสตร์กับกลุ่มชนร่อนเร่ (nomad) และ เส้นทางสายไหม ซึ่งทำให้ในอดีตนั้นดินแดนในภูมิภาคนี้เป็นเสมือนเส้นทางของ สินค้า คน รวมถึง แนวความคิด ระหว่างยุโรป ตะวันออกกลาง เอเชียใต้ และเอเชียตะวันออก.
ดู จักรวรรดิข่านจักกาไทและเอเชียกลาง
เจงกีส ข่าน
งกีส ข่าน (Чингис Хаан, Chinggis Khaan, Činggis Qaɣan; หรือ,; Genghis Khan; พ.ศ. 1705 หรือ 1708 — 18 สิงหาคม พ.ศ. 1770) เจงกีส แปลว่า “เวิ้งสมุทร, มหาสมุทร” (ซึ่งเปรียบได้ว่า เจงกีส ข่าน มีความยิ่งใหญ่ ดั่งเวิ้งมหาสมุทรนั่นเอง) จักรพรรดินักรบชาวมองโกลผู้พิชิต ผู้ก่อตั้งจักรวรรดิมองโกล เดิมมีนามว่า เตมูจิน (Temüjin) ตามสถานที่เกิดริมฝั่งแม่น้ำโอนอน เป็นผู้นำครอบครัวแทนบิดาเมื่ออายุเพียง 13 ปี และต้องดิ้นรนต่อสู้ขับเคี่ยวกับชนเผ่าต่าง ๆ ที่เป็นอริอยู่หลายปี ปราบเผ่า “ไนแมน” ทางด้านตะวันตก พิชิตชนชาติ “ตันกุต” (เซี่ยตะวันตก) และยอมรับการจำนนของชาว “อุยกูร์” ในปี..
ดู จักรวรรดิข่านจักกาไทและเจงกีส ข่าน
เทือกเขาอัลไต
อดเขาเบลูชา แห่งเทือกเขาอัลไต เทือกเขาอัลไต เป็นเทือกเขาในเอเชียกลาง บริเวณพรมแดนร่วมของประเทศรัสเซีย จีน มองโกเลีย และคาซัคสถาน และยังเป็นแหล่งกำเนิดของแม่น้ำสายสำคัญ คือ แม่น้ำอิร์ทีช (Irtysh) แม่น้ำอ็อบ (Ob) และแม่น้ำเยนิเซ (Yenisei) ด้วย ส่วนปลายทางตะวันตกเฉียงเหนือของเทือกเขา อยู่ที่พิกัด 52 องศาเหนือ กับระหว่าง 84 และ 90 องศาตะวันออก (ซึ่งไปจรดกลืนเขากับเทือกเขาสายัน (Sayan Mountains) ทางตะวันออก) และทอดยาวไปทางตะวันออกเฉียงใต้ จนถึงพิกัด 45 องศาเหนือ 99 องศาตะวันออก แล้วค่อย ๆ ต่ำลง กลืนเข้ากับที่ราบสูงแห่งทะเลทรายโกบี ชื่อ อัลไท ในภาษาตุรกี สะกด "Alytau" หรือ "Altay" มาจากศัพท์ Al (ทองคำ) และ tau (ภูเขา) ในภาษามองโกเลีย เรียกว่า อัลทาอิน-อูลา หมายถึง เทือกเขาแห่งทองคำ เทือกเขาแห่งนี้ ยังมีชื่อเรียกว่า เอก-ทัค (Ek-tagh), อัลไตแห่งมองโกล (Mongolian Altai) อัลไตใหญ่ (Great Altai) และอัลไตใต้ (Southern Altai) เทือกเขาอัลไตยังเป็นที่รู้จักดีในหมู่นักศึกษาประวัติศาสตร์ภาษาไทย เนื่องจากเคยเชื่อกันว่า เป็นที่ตั้งดั้งเดิมของชาวไทยสมัยโบราณ ก่อนจะอพยพลงมาจนถึงบริเวณประเทศไทยในปัจจุบัน แต่ปัจจุบันนี้ความคิดดังกล่าวไม่ได้รับการสนับสนุนจากนักวิชาการส่วนใหญ่ ทว่ายังมีเนื้อหาเช่นนี้ปรากฏในตำราเรียน หรือหนังสือด้านประวัติศาสตร์อยู่บ้าง.
ดู จักรวรรดิข่านจักกาไทและเทือกเขาอัลไต
เตมูร์ ข่าน
thumb เตมูร์ ข่าน หรือ สมเด็จจักรพรรดิหยวนเฉินจง (15 ตุลาคม ค.ศ. 1265 - 10 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1307) พระบรมราชสมภพเมื่อวันที่ 15 ตุลาคม..
ดู จักรวรรดิข่านจักกาไทและเตมูร์ ข่าน
ดูเพิ่มเติม
รัฐข่าน
รัฐสิ้นสภาพ
- จักรวรรดิบัลแกเรียที่ 1
- จักรวรรดิรัสเซีย
- จักรวรรดิอินคา
- ประเทศยูโกสลาเวีย
- ประเทศโรดีเชีย
- รัฐกันชน
- รัฐล้มเหลว
- รัฐสุลต่านละฮิจญ์
- ราชอาณาจักรกัสติยา
- ราชอาณาจักรซาร์ดิเนีย
- ราชอาณาจักรซิซิลี
- ราชอาณาจักรซิซิลีทั้งสอง
- ราชอาณาจักรปรัสเซีย
- ราชอาณาจักรยูโกสลาเวีย
- ราชอาณาจักรอิตาลี
- ราชอาณาจักรอิตาลี (นโปเลียน)
- ราชอาณาจักรโรมัน
- สหพันธรัฐออสเตรีย
- สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซีย
- สาธารณรัฐประชาธิปไตยอัฟกานิสถาน
- สาธารณรัฐโปแลนด์ที่ 2
- อาณาจักรซาร์รัสเซีย
- อาณาจักรแฟรงก์ตะวันตก
- แกรนด์ดัชชีมอสโก
- แกรนด์ดัชชีเฮ็สเซิน
รัฐสิ้นสภาพในประวัติศาสตร์จีน
- ง่อก๊ก
- จักรวรรดิจีน (ค.ศ. 1915–1916)
- จักรวรรดิมองโกล
- จามปา
- จ๊กก๊ก
- ซฺยงหนู
- ประเทศแมนจู
- ยุคราชวงศ์เหนือ-ใต้
- ยุคสามก๊ก
- ราชวงศ์จิน
- ราชวงศ์จิ้น
- ราชวงศ์จิ้นยุคหลัง
- ราชวงศ์ชาง
- ราชวงศ์ชิง
- ราชวงศ์ซิน
- ราชวงศ์ซ่ง
- ราชวงศ์ถัง
- ราชวงศ์ถังยุคหลัง
- ราชวงศ์สุย
- ราชวงศ์หมิง
- ราชวงศ์หยวน
- ราชวงศ์หยวนเหนือ
- ราชวงศ์หลิวซ่ง
- ราชวงศ์ฮั่น
- ราชวงศ์ฮั่นยุคหลัง
- ราชวงศ์เซี่ย
- ราชวงศ์เหงียน
- ราชวงศ์เหลียงตะวันตก
- ราชวงศ์เหลียงยุคหลัง
- ราชวงศ์เหลียว
- ราชวงศ์โจว
- ราชวงศ์โจวยุคหลัง
- ราชวงศ์โจวเหนือ
- วุยก๊ก
- หนานเยฺว่
- อาณาจักรน่านเจ้า
- อาณาจักรพัลแฮ
- อาณาจักรพูยอ
- อาณาจักรรีวกีว
- อาณาจักรล้านช้าง
- อาณาจักรหอคำเชียงรุ่ง
- อาณาจักรฮั่นเหนือ
- เฉียนฉิน
- เซี่ยตะวันตก
- เหมิ่งเจียง
- ไท่ผิงเทียนกั๋ว
ราชาธิปไตยในอดีต
- จักรวรรดิข่านอิล
- จักรวรรดิจีน (ค.ศ. 1915–1916)
- จักรวรรดิบราซิล
- จักรวรรดิพาลไมรีน
- จักรวรรดิรัสเซีย
- จักรวรรดิเยอรมัน
- จักรวรรดิเอธิโอเปีย
- จักรวรรดิแอฟริกากลาง
- จ๊กก๊ก
- บรันเดินบวร์ค-ปรัสเซีย
- ประเทศบุรุนดี
- ประเทศมาลาวี
- ประเทศยูโกสลาเวีย
- พระราชอาณาจักรลาว
- รัฐฉิน
- รัฐหาน
- รัฐเคาะลีฟะฮ์อับบาซียะฮ์
- รัฐเอกราชโครเอเชีย
- ราชรัฐเซอร์เบีย
- ราชวงศ์ชิง
- ราชวงศ์ฮั่นยุคหลัง
- ราชอาณาจักรกรีซ
- ราชอาณาจักรซิซิลีทั้งสอง
- ราชอาณาจักรบัลแกเรีย
- ราชอาณาจักรฟินแลนด์ (ค.ศ. 1918)
- ราชอาณาจักรมอนเตเนโกร
- ราชอาณาจักรมุตาวัคคิไลต์เยเมน
- ราชอาณาจักรยูโกสลาเวีย
- ราชอาณาจักรอิรัก
- ราชอาณาจักรฮาวาย
- ราชอาณาจักรเซอร์เบีย
- ราชอาณาจักรแห่งชนลอมบาร์ด
- ราชอาณาจักรโรมาเนีย
- วุยก๊ก
- สหพันธรัฐอาระเบียใต้
- สหภาพคาลมาร์
- สหภาพแอฟริกาใต้
- สหราชอาณาจักรสวีเดนและนอร์เวย์
- อาณาจักรมัชปาหิต
- เกาะเอลบา
- เคาน์ตีตริโปลี
- เคาน์ตีมาร์ค
- เคาน์ตีอิเดสซา
- เดนมาร์ก–นอร์เวย์
- เอมิเรตอัฟกานิสถาน
- เอสปีรีตูซานโต
หรือที่รู้จักกันในชื่อ Chagatai Khanateจักรวรรดิจักกาไท