สารบัญ
13 ความสัมพันธ์: บรรษัทแพร่ภาพกระจายเสียงอังกฤษพลาธิการกิจการภายในประชาชนการบุกครองโปแลนด์ของสหภาพโซเวียตการกวาดล้างใหญ่รัฐบาลพลัดถิ่นโปแลนด์ลัฟเรนตีย์ เบรียาอาชญากรรมสงครามคาร์คิฟคณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศตเวียร์นาซีเยอรมนีโจเซฟ สตาลินโปลิตบูโร
- การสังหารหมู่ในประเทศยูเครน
- เหตุการณ์ในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2483
- โจเซฟ สตาลิน
บรรษัทแพร่ภาพกระจายเสียงอังกฤษ
ริษัทแพร่ภาพกระจายเสียงอังกฤษราชบัณฑิตยสถาน.
ดู การสังหารหมู่กาตึญและบรรษัทแพร่ภาพกระจายเสียงอังกฤษ
พลาธิการกิจการภายในประชาชน
ลาธิการกิจการภายในประชาชน (Народный комиссариат внутренних дел, Narodnyi Komissariat Vnutrennikh Del) เรียกชื่อสั้นๆว่า NKVD เป็นหน่วยงานผู้บังคับใช้กฎหมายของสหภาพโซเวียตที่ดำเนินการโดยตรงต่อพรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียต.
ดู การสังหารหมู่กาตึญและพลาธิการกิจการภายในประชาชน
การบุกครองโปแลนด์ของสหภาพโซเวียต
การบุกครองโปแลนด์ของสหภาพโซเวียต เป็นปฏิบัติการทางทหาร ซึ่งเริ่มขึ้นโดยปราศจากการประกาศสงคราม เมื่อวันที่ 17 กันยายน ค.ศ.
ดู การสังหารหมู่กาตึญและการบุกครองโปแลนด์ของสหภาพโซเวียต
การกวาดล้างใหญ่
อัยการสูงสุด อันเดรย์ วืยชินสกี (คนกลาง), กำลังอ่านข้อกล่าวหาต่อ Karl Radek ในช่วง การพิจารณาคดีมอสโกครั้งที่ 2 ในปี พ.ศ.
ดู การสังหารหมู่กาตึญและการกวาดล้างใหญ่
รัฐบาลพลัดถิ่นโปแลนด์
รัฐบาลพลัดถิ่นแห่งสาธารณรัฐโปแลนด์ (Rząd Rzeczypospolitej Polskiej na uchodźstwie) เป็นรัฐบาลพลัดถิ่นหลังการบุกครองโปแลนด์ของนาซีเยอรมนีและสหภาพโซเวียตในเดือนกันยายน..
ดู การสังหารหมู่กาตึญและรัฐบาลพลัดถิ่นโปแลนด์
ลัฟเรนตีย์ เบรียา
ลัฟเรนตีย์ ปัฟโลวิช เบรียา (Лавре́нтий Па́влович Бе́рия; ლავრენტი პავლეს ძე ბერია; 29 มีนาคม พ.ศ. 2442 - 23 ธันวาคม พ.ศ. 2496) เป็นนักการเมืองโซเวียตเชื้อชาติจอร์เจีย จอมพลสหภาพโซเวียตและหัวหน้าคณะกรรมาธิการประชาชนด้านกิจการภายในประเทศ (NKVD) ภายใต้โจเซฟ สตาลินในช่วงสงครามโลกครั้งที่สองและรองนายกรัฐมนตรี.
ดู การสังหารหมู่กาตึญและลัฟเรนตีย์ เบรียา
อาชญากรรมสงคราม
อาชญากรรมสงคราม (war crime) คือ การกระทำอันฝ่าฝืนกฎหมายสงครามอย่างร้ายแรง ทำให้ผู้กระทำต้องรับผิดทางอาญาเป็นการเฉพาะตัว เช่น การฆ่าพลเรือนหรือนักโทษโดยเจตนา, การทรมาน, การทำลายทรัพย์สินพลเรือน, การจับเป็นตัวประกัน, การล่อลวง, การข่มขืนกระทำชำเรา, การใช้เด็กทางทหาร, การปล้นทรัพย์, การไม่ไว้ชีวิต, และการละเมิดอย่างร้ายแรงซึ่งหลักการแยกแยะและหลักความได้สัดส่วน เป็นต้นว่า การทำลายประชากรพลเรือนด้วยระเบิดยุทธศาสตร์ แนวคิดเรื่องอาชญากรรมสงครามปรากฏขึ้นในช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อของคริสต์ศตวรรษที่ 20 เมื่อมีการประมวลกฎหมายจารีตประเพณีระหว่างประเทศที่ใช้บังคับได้สำหรับการทำสงครามระหว่างรัฐอธิปไตย การประมวลกฎหมายดังกล่าวเกิดขึ้นในระดับชาติ เช่น การเผยแพร่ประมวลกฎหมายลีแบร์ในสหรัฐเมื่อ..
ดู การสังหารหมู่กาตึญและอาชญากรรมสงคราม
คาร์คิฟ
ร์คิฟ (Харків; Kharkiv) หรือ คาร์คอฟ (Харьков; Kharkov) เป็นเมืองใหญ่อันดับ 2 ของประเทศยูเครน ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศ เป็นเมืองหลวงของจังหวัดในชื่อเดียวกัน ก่อตั้งในปี..
ดู การสังหารหมู่กาตึญและคาร์คิฟ
คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ
ณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ (International Committee of the Red Cross; ICRC / Comité international de la Croix-Rouge (CICR)) เป็นองค์กรมนุษยธรรมระหว่างประเทศ ซึ่งก่อตั้งขึ้นในประเทศสวิสเซอร์แลนด์เมื่อปี..
ดู การสังหารหมู่กาตึญและคณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ
ตเวียร์
ระราชวังในเมืองตเวียร์ ตเวียร์ (Тверь; Tver) เป็นเมืองศูนย์กลางการปกครองของแคว้นตเวียร์ ประเทศรัสเซีย มีประชากรราว 403,700 คน (ข้อมูลขั้นต้นใน ค.ศ.
ดู การสังหารหมู่กาตึญและตเวียร์
นาซีเยอรมนี
นาซีเยอรมนี (Nazi Germany) หรือ ไรช์ที่สาม (Drittes Reich) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ ไรช์เยอรมัน (Deutsches Reich) เป็นชื่อเรียกยุคหนึ่งในประวัติศาสตร์เยอรมนีระหว่างปี 1933 ถึง 1945 เมื่อประเทศเยอรมนีอยู่ภายใต้การควบคุมระบอบเผด็จการของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์และพรรคนาซี ในการปกครองของฮิตเลอร์ ประเทศเยอรมนีกลายเป็นรัฐฟาสซิสต์ซึ่งควบคุมแทบทุกแง่มุมของชีวิต นาซีเยอรมนีล่มสลายหลังฝ่ายสัมพันธมิตรพิชิตเยอรมนีในเดือนพฤษภาคม 1945 ซึ่งยุติสงครามโลกครั้งที่สองในทวีปยุโรป ประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐไวมาร์ เพาล์ ฟอน ฮินเดนบูร์กแต่งตั้งฮิตเลอร์เป็นนายกรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 30 มกราคม 1933 จากนั้น พรรคนาซีเริ่มกำจัดคู่แข่งทางการเมืองและรวบอำนาจ ฮินเดนบูร์กถึงแก่อสัญกรรมเมื่อวันที่ 2 สิงหาคม 1934 และฮิตเลอร์เป็นผู้เผด็จการแห่งเยอรมนีโดยการรวมอำนาจและตำแหน่งของนายกรัฐมนตรีกับประธานาธิบดี มีการจัดการลงประชามติทั่วประเทศเมื่อวันที่ 19 สิงหาคม 1934 ทำให้ฮิตเลอร์เป็นฟือเรอร์ (ผู้นำ) เยอรมนีเพียงผู้เดียว อำนาจเบ็ดเสร็จทั้งหมดรวมอยู่ในมือของฮิตเลอร์ และคำของเขาอยู่เหนือกฎหมายทั้งปวง รัฐบาลมิได้เป็นหน่วยที่ร่วมมือประสานกัน หากแต่เป็นหมู่กลุ่มแยกต่าง ๆ ที่แก่งแย่งอำนาจและความนิยมจากฮิตเลอร์ ท่ามกลางภาวะเศรษฐกิจตกต่ำครั้งใหญ่ นาซีฟื้นฟูเสถียรภาพทางเศรษฐกิจและยุติการว่างงานขนานใหญ่โดยใช้รายจ่ายทางทหารอย่างหนักและเศรษฐกิจแบบผสม มีการดำเนินการโยธาสาธารณะอย่างกว้างขวาง รวมการก่อสร้างเอาโทบาน การคืนเสถียรภาพทางเศรษฐกิจส่งเสริมความนิยมของรัฐบาลให้เพิ่มพูนขึ้น คตินิยมเชื้อชาติ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การต่อต้านยิว เป็นลักษณะหัวใจของนาซีเยอรมนี โดยถือว่า กลุ่มชนเจอร์มานิค หรือเชื้อชาตินอร์ดิก (Nordic race) เป็นเชื้อชาติอารยันซึ่งบริสุทธิ์ที่สุด ฉะนั้นจึงเป็นเชื้อชาติปกครอง (master race) ชาวยิวและชนกลุ่มอื่นที่ถือว่าไม่พึงปรารถนาถูกเบียดเบียนหรือฆ่า และการค้านการปกครองของฮิตเลอร์ถูกปราบปรามอย่างโหดเหี้ยม สมาชิกฝ่ายค้านเสรีนิยม สังคมนิยมและคอมมิวนิสต์ถูกฆ่า จำคุกหรือเนรเทศ โบสถ์คริสต์ก็ถูกกดขี่เช่นกัน โดยผู้นำหลายคนถูกจำคุก การศึกษามุ่งเน้นชีววิทยาเชื้อชาติ นโยบายประชากร และสมรรถภาพทางกายสำหรับราชการทหาร โอกาสในอาชีพและการศึกษาของสตรีถูกตัดทอน มีการจัดนันทนาการและการท่องเที่ยวผ่านโครงการความแข็งแรงผ่านความรื่นเริง (Strength Through Joy) มีการใช้โอลิมปิกฤดูร้อน 1936 เป็นตัวนำเสนอไรช์ที่สามในเวทีระหว่างประเทศ รัฐมนตรีโฆษณาการ โยเซฟ เกิบเบิลส์ ใช้ภาพยนตร์ การชุมนุมมวลชน และวาทศิลป์จับจิตของฮิตเลอร์เพื่อควบคุมมติมหาชนอย่างได้ผล รัฐบาลควบคุมการแสดงออกทางศิลปะ โดยสนับสนุนศิลปะบางรูปแบบ แต่ขัดขวางหรือห้ามศิลปะรูปแบบอื่น เริ่มตั้งแต่ปลายคริสต์ทศวรรษ 1930 นาซีเยอรมนีเรียกร้องดินแดนอย่างก้าวร้าวมากขึ้นเรื่อย ๆ และขู่ทำสงครามหากไม่สนองข้อเรียกร้อง เยอรมนียึดออสเตรียและเชโกสโลวาเกียในปี 1938 และ 1939 ฮิตเลอร์ทำสนธิสัญญาไม่รุกรานกับโจเซฟ สตาลิน และบุกครองโปแลนด์ในเดือนกันยายน 1939 เป็นการเปิดฉากสงครามโลกครั้งที่สองในทวีปยุโรป เยอรมนีเข้าเป็นพันธมิตรกับอิตาลีและฝ่ายอักษะที่เล็กกว่าและพิชิตทวีปยุโรปส่วนใหญ่เมื่อถึงปี 1940 และคุกคามสหราชอาณาจักร ไรช์ซคอมมิสซารีอัทควบคุมพื้นที่ที่ถูกพิชิตอย่างโหดร้ายและมีการสถาปนาการปกครองของเยอรมนีในประเทศโปแลนด์ที่เหลืออยู่ ชาวยิวและกลุ่มอื่นที่ถือว่าไม่พึงปรารถนาถูกจำคุกในค่ายกักกันและค่ายกำจัดนาซี การนำนโยบายเชื้อชาติของระบอบไปปฏิบัติลงเอยด้วยการสังหารชาวยิวและชนกลุ่มน้อยอื่นเป็นอันมากในฮอโลคอสต์ หลังการรุกรานสหภาพโซเวียตในปี 1941 นาซีเยอรมนีก็เริ่มเป็นรอง และปราชัยทางทหารสำคัญหลายครั้งในปี 1943 การทิ้งระเบิดทางอากาศต่อประเทศเยอรมนีทวีขึ้นในปี 1944 และฝ่ายอักษะถอยจากยุโรปตะวันออกและยุโรปใต้ หลังการบุกครองฝรั่งเศสของสัมพันธมิตร ประเทศเยอรมนีถูกโซเวียตจากทิศตะวันออกและฝ่ายสัมพันธมิตรจากทิศตะวันตกพิชิตและยอมจำนนในหนึ่งปี การที่ฮิตเลอร์ปฏิเสธยอมรับความปราชัยนำให้โครงสร้างพื้นฐานของเยอรมนีถูกทำลายล้างขนานใหญ่และการเสียชีวิตที่เกี่ยวข้องกับสงครามเพิ่มในเดือนท้าย ๆ ของสงคราม ฝ่ายสัมพันธมิตรผู้กำชัยริเริ่มนโยบายขจัดความเป็นนาซี (denazification) และนำผู้นำนาซีที่เหลือรอดหลายคนมาพิจารณาคดีอาชญากรรมสงครามในการพิจารณาคดีเนือร์นแบร์ก ส่วนประเทศเยอรมนีถูกยึดครองโดยมหาอำนาจฝ่ายสัมพันธมิตรคือ ฝรั่งเศส สหภาพโซเวียต สหรัฐอเมริกา และสหราชอาณาจักร.
ดู การสังหารหมู่กาตึญและนาซีเยอรมนี
โจเซฟ สตาลิน
ซฟ สตาลิน (รัสเซีย: Иосиф Виссарионович Сталин Iosif Vissarionovich Stalin อิโอซิฟ วิซซาริโอโนวิช สตาลิน; อังกฤษ: Joseph Stalin) (1 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1878 - 5 มีนาคม ค.ศ.
ดู การสังหารหมู่กาตึญและโจเซฟ สตาลิน
โปลิตบูโร
โปลิตบูโร (รัสเซีย: Политбюро, Politburo) หมายถึงคณะกรรมการบริหารพรรคการเมือง มักใช้กับพรรคคอมมิวนิสต์ ในอดีตสหภาพโซเวียต โปลิตบูโรประกอบด้วยเลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์ (The General Secretary of the Communist Party of the Soviet Union) และบุคคลสำคัญรองลงมาเช่น ประธานาธิบดี และนายกรัฐมนตรี ซึ่งนับตั้งแต่ปี ค.ศ.
ดู การสังหารหมู่กาตึญและโปลิตบูโร
ดูเพิ่มเติม
การสังหารหมู่ในประเทศยูเครน
- การกวาดล้างใหญ่
- การสังหารหมู่กาตึญ
เหตุการณ์ในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2483
- การบุกครองลักเซมเบิร์กของเยอรมนี
- การล้อมกาแล
- การสังหารหมู่กาตึญ
- การสังหารหมู่ที่วินคท์
- ยุทธการที่นาร์วิก
- ยุทธการที่ป้อมเอเบิน-เอมาเอล
- ยุทธการที่ฝรั่งเศส
- ยุทธการที่มาสทริชท์
- ยุทธการที่รอตเทอร์ดาม
- ยุทธการที่อัพสเลาไดก์
- ยุทธการที่อาบวีล
- ยุทธการที่อารัส (ค.ศ. 1940)
- ยุทธการที่เกรบบีแบร์ก
- ยุทธการที่เซลันด์
- ยุทธการที่เซอด็อง (ค.ศ. 1940)
- ยุทธการที่เนเธอร์แลนด์
- ยุทธการที่เบลเยียม
- ยุทธการที่แม่น้ำลิส (ค.ศ. 1940)
โจเซฟ สตาลิน
- การประชุมพ็อทซ์ดัม
- การประชุมเตหะราน
- การปล้นธนาคารในติฟลิส ค.ศ. 1907
- การสังหารหมู่กาตึญ
- คำสั่งที่ 227
- ดาบแห่งสตาลินกราด
- ม่านเหล็ก
- ยุทธการที่สตาลินกราด
- รถถังโจเซฟ สตาลิน
- วยาเชสลาฟ โมโลตอฟ
- โจเซฟ สตาลิน
หรือที่รู้จักกันในชื่อ Katyn massacre