โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ

ดัชนี คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ

ณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ (International Committee of the Red Cross; ICRC / Comité international de la Croix-Rouge (CICR)) เป็นองค์กรมนุษยธรรมระหว่างประเทศ ซึ่งก่อตั้งขึ้นในประเทศสวิสเซอร์แลนด์เมื่อปี..

14 ความสัมพันธ์: ฟรังก์สวิสพ.ศ. 2460พ.ศ. 2487พ.ศ. 2506กฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศกาชาดรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพสภากาชาดไทยอนุสัญญาเจนีวาอ็องรี ดูว์น็องผู้ลี้ภัยประเทศสวิตเซอร์แลนด์เชลยศึกเจนีวา

ฟรังก์สวิส

right ฟรังก์สวิส (อังกฤษ: Swiss franc; ISO 4217: CHF หรือ 756) เป็นสกุลเงินและตั๋วเงินที่ใช้ชำระหนี้ได้ตามกฎหมายของประเทศสวิตเซอร์แลนด์และประเทศลิกเตนสไตน์ และมีใช้ในดินแดนบางส่วนของประเทศอิตาลีและเยอรมนี Swiss National Bank ซึ่งเป็นธนาคารกลางของสวิตเซอร์แลนด์ เป็นผู้ออกธนบัตรฟรังก์ ส่วนเหรียญกษาปณ์นั้น ออกโดย Swissmint โรงกษาปณ์ของสหพัน.

ใหม่!!: คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศและฟรังก์สวิส · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2460

ทธศักราช 2460 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1917 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน หรือ ปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินจูเลียน.

ใหม่!!: คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศและพ.ศ. 2460 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2487

ทธศักราช 2487 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1944 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศและพ.ศ. 2487 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2506

ทธศักราช 2506 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1963 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศและพ.ศ. 2506 · ดูเพิ่มเติม »

กฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ

กฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ (international humanitarian law, ย่อ: IHL) หรือกฎหมายการขัดกันด้วยอาวุธ (law of armed conflict) เป็นกฎหมายซึ่งวางระเบียบจรรยาแห่งการขัดกันด้วยอาวุธ (jus in bello) เป็นกฎหมายระหว่างประเทศสาขาหนึ่งซึ่งมุ่งจำกัดผลแห่งการขัดกันด้วยอาวุธโดยการคุ้มครองบุคคลซึ่งมิได้หรือไม่มีส่วนในความเป็นศัตรูกันอีก และโดยการจำกัดและวางระเบียบวิธีการและระเบียบวิธีแห่งการสงครามที่พลรบใช้ได้ IHL ได้แรงบันดาลใจจากความเห็นใจผู้อื่นของมนุษยชาติและการบรรเทาความทุกข์ของมนุษย์ "มัน ประกอบด้วยชุดกฎ ซึ่งสถาปนาโดยสนธิสัญญาหรือจารีตประเพณี ซึ่งมุ่งคุ้มครองบุคคลและทรัพย์สิน/วัตถุซึ่ง (หรืออาจ) ได้รับผลจากการขัดกันด้วยอาวุธและจำกัดสิทธิของภาคีการขัดกันในวิธีการและระเบียบวิธีของการสงครามตามที่เลือก" กฎหมายนี้รวม "อนุสัญญาเจนีวาและอนุสัญญากรุงเฮก ตลอดจนสนธิสัญญา หลักกฎหมายที่ถือเอาคำพิพากษาเป็นบรรทัดฐานและกฎหมายระหว่างประเทศจารีตประเพณีภายหลัง" กฎหมายนี้นิยามจรรยาและความรับผิดแห่งชาติคู่สงคราม ชาติเป็นกลาง และปัจเจกบุคคลที่เข้าร่วมการสงครามต่อกันเและต่อบุคคลที่ได้รับความคุ้มครอง ซึ่งปกติหมายถึงพลเรือน กฎหมายนี้ได้รับการออกแบบให้ดุลความกังวลทางมนุษยธรรมและความจำเป็นทางทหาร และให้การสงครามอยู่ภายใต้บังคับแห่งหลักบังคับแห่งกฎหมายโดยการจำกัดผลทำลายล้างและบรรเทาความทุกข์ของมนุษย์ การละเมิดกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศอย่างร้ายแรง เรียก อาชญากรรมสงคราม กฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ (jus in bello) วางระเบียบจรรยาของกำลังเมื่อเข้าสู่สงครามหรือการขัดกันด้วยอาวุธ ต่างจากสิทธิที่จะก่อสงคราม (jus ad bellum) ซึ่งวางระเบียบจรรยาการเข้าสู่สงครามหรือการขัดกันด้วยอาวุธและรวมอาชญากรรมต่อสันติภาพและสงครามการรุกราน ทั้ง jus in bello และ jus ad bellum รวมกันประกอบเป็นกฎหมายสงครามสองสายซึ่งปกครองการขัดกันด้วยอาวุธระหว่างประเทศทุกส่วน กฎหมายดังกล่าวบังคับแก่ชาติที่ถูกผูกมัดโดยสนธิสัญญาที่เหมาะสม นอกจากนี้ ยังมีกฎสงครามไม่เป็นลายลักษณ์อักษรจารีตประเพณีอื่นอีก มีการเสาะกฎเหล่านี้จำนวนมากในการพิจารณาคดีเนือร์นแบร์ก โดยการขยาย กฎเหล่านี้ยังนิยามทั้งสิทธิซึ่งมอบให้ของอำนาจเหล่านี้ ตลอดจนการห้ามจรรยาของอำนาจเหล่านั้นเมื่อจัดการกับกำลังนอกแบบและประเทศที่ไม่เป็นภาคีสนธิสัญญา กฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศใช้การแบ่งอย่างเข้มงวดระหว่างกฎซึ่งใช้ได้กับการขัดกันด้วยอาวุธระหว่างประเทศและกฎที่เกี่ยวข้องกับการขัดกันด้วยอาวุธไม่ระหว่างประเทศ การแบ่งนี้ถูกวิจารณ์อย่างกว้างขวาง.

ใหม่!!: คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศและกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

กาชาด

100px 100px 100px ขบวนกาชาดและเสี้ยววงเดือนแดงนานาชาติ หรือ กาชาด (International Red Cross and Red Crescent Movement หรือ Red Cross) เป็นคำที่ใช้เรียกหน่วยงานสากลที่ประกอบด้วยอาสาสมัครจากทั่วโลกราว 97 ล้านคน ที่มีจุดประสงค์ในพิทักษ์ชีวิตและสุขภาพของมนุษย์ การบรรเทาทุกข์และการรักษาพยาบาลโดยไม่เลือกชาติพันธุ์ เชื้อชาติ เพศ ความเชื่อทางศาสนา ระดับชั้นในสังคม หรือ ความคิดเห็นทางการเมือง ตราสัญลักษณ์ที่ใช้โดยหน่วยงานนี้มีด้วยกันสามตรา ซึ่งเป็นรูป “ตรากากบาทแดง” (Red Cross), “ตราเสี้ยววงเดือนแดง” (Red Crescent) และ “ตราเพชรแดง” (Red Crystal) หน่วยงานในประเทศไทย เรียก สภากาชาดไทย และใช้ตรากากบาทแดง เป็นตราสัญลักษณ.

ใหม่!!: คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศและกาชาด · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ

รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ (Nobels fredspris, Nobel Peace Prize) เป็นรางวัลโนเบลหนึ่งในห้าสาขา ที่ริเริ่มโดยอัลเฟร็ด โนเบล ตั้งแต..

ใหม่!!: คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศและรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ · ดูเพิ่มเติม »

สภากาชาดไทย

กาชาดไทย เป็นสภากาชาดประจำประเทศไทย มีภารกิจปกป้องชีวิตและสุขภาพของมนุษย์ ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 26 เมษายน ร..

ใหม่!!: คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศและสภากาชาดไทย · ดูเพิ่มเติม »

อนุสัญญาเจนีวา

อนุสัญญาเจนีวา (Geneva Conventions) คือสนธิสัญญาสี่ฉบับ และพิธีสารสามฉบับที่วางมาตรฐานในการปฏิบัติต่อผู้เป็นเหยื่อของสงครามอย่างมีมนุษยธรรม ได้รับการรับรองเมื่อวันที่ 12 สิงหาคม..

ใหม่!!: คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศและอนุสัญญาเจนีวา · ดูเพิ่มเติม »

อ็องรี ดูว์น็อง

อ็องรี ดูว์น็อง อ็องรี ดูว์น็อง (Henri Dunant) ชื่อเต็ม ฌ็อง อ็องรี ดูว์น็อง (Jean Henri Dunant; 8 พฤษภาคม ค.ศ. 1828 — 30 ตุลาคม ค.ศ. 1910) เป็นนักธุรกิจ และนักช่วยเหลือเพื่อนมนุษย์ชาวสวิส เขาเป็นผู้ให้กำเนิดคณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศและสภากาชาดประจำชาติ เพื่อช่วยเหลิอบรรเทาทุกข์เมื่อเกิดภัยสงครามและภัยพิบัติต่าง ๆ และได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ ในปี ค.ศ. 1901 ร่วมกับเฟรเดริก ปาซี (Frédéric Passy) นายอ็องรี ดูว์น็อง เกิดที่เมืองเจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ เป็นผู้เคร่งศาสนา โดยมีความเชื่อตามแนวทางของนิกายคาลวิน และตั้งมั่นในหลักการ "จงรักเพื่อนบ้านของท่าน" ("Love thy neighbor") เขาได้เดินทางไปทั่วยุโรปเพื่อบรรยายถึงความชั่วร้ายเรื่องความเป็นทาส (slavery) ในปี ค.ศ. 1859 ระหว่างอยู่ที่ประเทศอิตาลี เขาได้ไปที่สนามรบของสงครามแห่งโซลเฟริโน และได้เห็นทหารที่ได้รับบาดเจ็บนับพันคน ถูกปล่อยทิ้งรอความตายในสนามรบตามยถากรรม โดยไม่ได้รับแม้แต่การรักษาพยาบาลเบื้องต้น ที่อาจรักษาชีวิตของคนเหล่านี้ได้ หลังจากที่เขากลับถึงกรุงเจนีวา เขาได้เขียนบทความเกี่ยวกับประสบการณ์ครั้งนี้ของเขา ในชื่อ Un Souvenir de Solferino (ความทรงจำแห่งซอลเฟรีโน) ซึ่งได้ตีพิมพ์ในวันที่ 8 พฤศจิกายน ค.ศ. 1862 ในบทความเขาได้พยายามผลักดันให้มีการจัดตั้ง เครือข่ายนานาชาติของอาสาสมัครเพื่อบรรเทาทุกข์ขึ้น หนังสือของเขาได้รับความสนใจจาก สภาบริหารประเทศสวิตเซอร์แลนด์ (Switzerland's Federal Council) และส่งผลให้ประเทศสวิตเซอร์แลนด์สนับสนุนให้มีการประชุมสัมมนานานาชาติขึ้นในปี ค.ศ. 1863 เพื่ออภิปรายถึงแนวความคิดของดูว์น็องที่เขาได้เขียนไว้ในบทความ เก้าบทความ (Nine Articles) มีประเทศเข้าร่วมการประชุมสัมนาในวันที่ 22 สิงหาคม ค.ศ. 1864 ทั้งหมด 16 ประเทศ และในจำนวนนั้น 12 ประเทศได้ให้การสนับสนุนในเนื้อหา ซึ่งต่อมาได้กลายมาเป็น คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ และอนุสัญญาเจนีวาฉบับที่หนึ่ง อ็องรี ดูว์น็อง ในวัยชรา ช่วงหลายปีหลังจากนั้น ดูว์น็องได้เขียนบทความเกี่ยวกับการปลดอาวุธ และการตั้งศาลระหว่างประเทศ เพื่อแก้ปัญหาข้อขัดแย้งระหว่างประเทศ เขาได้ละเลยการงานส่วนตัวจนต้องตกเป็นหนี้สิน ประสบกับความยากจน และได้หายหน้าหายตาไป นอกจากนี้ อ็องรี ดูว์น็อง ยังมีส่วนเกี่ยวข้องกับกลุ่มฟรีเมสันรี (freemasonry) ในขณะที่มีการให้รางวัลโนเบลเป็นครั้งแรกนั้น ก็มีข้อโต้แย้งว่า เขาควรจะได้รับรางวัลนี้หรือไม่ เนื่องจากในขณะนั้นองค์กรกาชาดได้ถูกจัดตั้งเป็นระยะเวลาหนึ่งแล้ว และบทบาทของ อ็องรี ดูว์น็อง ก็ได้ถูกลืมเลือนไปเช่นกัน ได้มีข้อเสนอให้เขาได้รับรางวัลโนเบลในสาขาแพทยศาสตร์ เนื่องมาจากบทบาทขององค์กรกาชาดในขณะนั้น ผลการประนีประนอมในท้ายที่สุดได้มีการตัดสินให้เป็นรางวัลร่วมในสาขาสันติภาพ โดยได้รับร่วมกับเฟรเดริก ปาซี ซึ่งเป็นนักต่อสู้เพื่อสันติภาพที่มีชื่อเสียงของฝรั่งเศส และถึงแม้ว่าอ็องรี ดูว์น็อง จะมีชีวิตที่ยากจนในขณะนั้น แต่เขาก็บริจาคเงินรางวัลที่ได้รับทั้งหมดเพื่อการกุศล อ็องรี ดูว์น็อง เสียชีวิตลงในปี ค.ศ. 1910.

ใหม่!!: คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศและอ็องรี ดูว์น็อง · ดูเพิ่มเติม »

ผู้ลี้ภัย

แผนที่แสดงต้นกำเนิดของผู้ลี้ภัยและผู้แสวงหาที่พักพิงใน ค.ศ. 2007 แผนที่แสดงประเทศปลายทางของผู้ลี้ภัย ค.ศ. 2007 ผู้ลี้ภัย (refugee) หมายถึงบุคคลที่อยู่นอกประเทศต้นกำเนิดหรือประเทศที่มีถิ่นฐานประจำ เพราะเขาผู้นั้นประสบกับภัยอันเกิดแต่การตามล่า การกดขี่ด้วยเหตุทาง เชื้อชาติ ศาสนา สัญชาติ ความเห็นทางการเมือง หรือ การเป็นสมาชิกของกลุ่มสังคมที่ถูกตามล่า บางครั้งอาจเรียกผู้ลี้ภัยว่า ผู้ขอที่ลี้ภัย (asylum seeker) จนกว่าจะได้รับการยอมรับสถานภาพของผู้ลี้ภัย เด็กและสตรีผู้ลี้ภัยเป็นผู้ลี้ภัยกลุ่มย่อยที่ได้รับความสนใจเป็นพิเศษ ระบบผู้ลี้ภัยจะทำงานได้ก็ต่อเมื่อประเทศเปิดพรมแดนให้ผู้คนหนีจากความความขัดแย้ง โดยเฉพาะประเทศพื้นบ้านใกล้กับต้นกำเนิดของความขัดแย้ง ระบบผู้ลี้ภัยนี้ได้ช่วยเหลือผู้คนมากมายแต่ก็ยังมีข้อบกพร่องอยู่ ในหลายกรณีการหนีไปอยู่ในค่ายผู้ลี้ภัยกระทำได้ยากยิ่ง ณ วันที่ 31 ธันวาคม..

ใหม่!!: คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศและผู้ลี้ภัย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสวิตเซอร์แลนด์

วิตเซอร์แลนด์ (Switzerland; die Schweiz; la Suisse; Svizzera; Svizra) มีชื่อทางการว่า สมาพันธรัฐสวิส (Swiss Confederation; Confoederatio Helvetica) เป็นประเทศขนาดเล็กที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล และตั้งอยู่ในทวีปยุโรปตะวันตก โดยมีพรมแดนติดกับ ประเทศเยอรมนี ประเทศฝรั่งเศส ประเทศอิตาลี ประเทศออสเตรีย และประเทศลิกเตนสไตน์ นอกจากจะมีความเป็นกลางทางการเมืองแล้ว สวิตเซอร์แลนด์นับว่ามีการร่วมมือกันระหว่างประเทศเป็นอย่างมาก เนื่องจากเป็นที่ตั้งขององค์กรนานาชาติหลายแห่ง นอกจากนี้ลักษณะของประเทศยังคล้ายกับประเทศเบลเยียม.

ใหม่!!: คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศและประเทศสวิตเซอร์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

เชลยศึก

ลยศึก (prisoner of war) หมายถึง บุคคลที่อยู่ในการคุมขังของฝ่ายข้าศึกระหว่างหรือหลังการขัดกันด้วยอาวุธทันที ไม่ว่าบุคคลนั้นจะเป็นพลรบหรือผู้ที่มิใช่พลรบก็ตาม วลีดังกล่าวมีบันทึกว่าใช้ครั้งแรกประมาณ..

ใหม่!!: คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศและเชลยศึก · ดูเพิ่มเติม »

เจนีวา

นีวา (Geneva) หรือออกเสียงในภาษาท้องถิ่นว่า เฌอแนฟว์ (Genève) เป็นเมืองใหญ่อันดับสองของประเทศสวิตเซอร์แลนด์ (รองจากซือริช) ถือเป็นเมืองที่มีประชากรมากที่สุดในภาครอม็องดีอันเป็นภูมิภาคที่ใช้ภาษาฝรั่งเศสเป็นหลักในสวิตเซอร์แลนด์ นครเจนีวาตั้งอยู่บริเวณต้นแม่น้ำโรนซึ่งไหลออกจากทะเลสาบเจนีวา เจนีวามีสถานะเป็นเมืองหลวงของสาธารณรัฐแห่งรัฐเจนีวา เจนีวาถือเป็นหนึ่งในเมืองศูนย์กลางของโลก โดยเป็นศูนย์กลางทางการเงิน, ศูนย์กลางทางการทูต เจนีวาถือเป็นเมืองที่มีองค์กรระหว่างประเทศตั้งอยู่มากที่สุดในโลก ในบรรดาองค์กรเหล่านี้อาทิ หน่วยงานของสหประชาชาติและกาชาดสากล เป็นต้น ในปี 2017 เจนีวาได้รับการจัดอันดับโดย Global Financial Centres Index ให้เป็นเมืองศูนย์กลางทางการเงินอันดับ 15 ของโลก และเป็นที่ 5 ของทวีปยุโรป รองจากลอนดอน, ซือริช, แฟรงเฟิร์ต และลักเซมเบิร์ก และยังได้รับการจัดอันดับโดย Mercer's Quality of Living index ให้เป็นเมืองที่น่าอยู่ที่สุดเป็นอันดับ 8 ของโลกในปีเดียวกัน.

ใหม่!!: คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศและเจนีวา · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

ICRCInternational Committee of the Red Crossกาชาดสากลคณะกรรมการกาชาดสากล

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »