สารบัญ
20 ความสัมพันธ์: การฟื้นฟูเมจิการล้อมคะมะกุระ (ค.ศ. 1333)มินะโมะโตะ โนะ โยะริโตะโมะยุคมุโระมะชิยุคราชสำนักเหนือ-ใต้ยุคคะมะกุระรัฐบาลโชกุนอาชิกางะรัฐบาลโชกุนคะมะกุระราชสำนักเหนือสมบูรณาญาสิทธิราชย์สงครามปีเก็งโกอะชิกะงะ ทะกะอุจิจักรพรรดิญี่ปุ่นจักรพรรดิโกะ-โคะมะสึจักรพรรดิโกะ-ไดโงะตระกูลอาชิกางะโชกุนเรียว (หน่วยเงิน)เฮอังเกียวเคียวโตะ
- การฟื้นฟู (การเมือง)
การฟื้นฟูเมจิ
การฟื้นฟูพระราชอำนาจสมัยเมจิ (Meiji Restoration) หรือ การปฏิวัติเมจิ (Meiji Revolution) การปฏิรูปเมจิ (Meiji Reform) หรือ การปรับปรุงเมจิ (Meiji Renewal) เป็นเหตุการณ์การปฏิรูปประเทศญี่ปุ่นในปี..
ดู การฟื้นฟูเค็มมุและการฟื้นฟูเมจิ
การล้อมคะมะกุระ (ค.ศ. 1333)
การล้อมคะมะกุระ (Siege of Kamakura (1333)) สงครามครั้งสำคัญซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของ สงครามปีเก็งโก ที่เกิดขึ้นใน..
ดู การฟื้นฟูเค็มมุและการล้อมคะมะกุระ (ค.ศ. 1333)
มินะโมะโตะ โนะ โยะริโตะโมะ
มินะโมะโตะ โนะ โยะริโตะโมะ (みなもと の よりとも Minamoto no Yoritomo หรือ 源 頼朝 Minamoto Yoritomo) หรือ โยะริโตะโมะแห่งมินะโมะโตะ เป็นผู้ก่อตั้งรัฐบาลโชกุนคะมะกุระ และดำรงตำแหน่งโชกุนตั้งแต่ปี..
ดู การฟื้นฟูเค็มมุและมินะโมะโตะ โนะ โยะริโตะโมะ
ยุคมุโระมะชิ
มุโระมะชิ ตรงกับค.ศ. 1336 - ค.ศ. 1568 ครึ่งหลังของศตวรรษที่ 14 อะชิคะงะ โยะชิมิสึ ได้ปราบปรามชนชั้นปกครองลงอย่างราบคาบ และตั้งรัฐบาลโชกุนขึ้นอีกครั้งที่ เคียวโตะ ซึ่งรัฐบาลโชกุนนี้ได้ปกครองญี่ปุ่นต่อมาเป็นเวลานานถึงสองศตวรรษเศษอันเป็นช่วงเวลาที่วัฒนธรรมของชนชั้นนักรบก็ได้กลืนวัฒนธรรมของชนชั้นปกครองลงอย่างราบคาบเช่นเดียวกัน อย่างไรก็ตามรัฐบาลโชกุนของตระกูลอะชิคะงะ เกิดจากการรวมตัวของขุนศึกสำคัญ ๆ ตามหัวเมืองต่าง ๆ เข้าด้วยกัน จึงเป็นธรรมดาที่การรวบอำนาจให้รัฐบาลมีเสถียรภาพนั้นเป็นไปได้อย่างลำบาก ดังนั้นในครึ่งหลังศตวรรษที่ 15 เป็นต้นมา ขุนศึกตามหัวเมืองต่าง ๆ จึงเริ่มทำสงครามแย่งชิงอำนาจกัน จนทั้งประเทศญี่ปุ่นตกเข้าสู่ยุคสงคราม ภายในยุคนี้เป็นยุคที่ชนชั้นนักรบมีอำนาจเหนือเกษตรกรและมีกรรมสิทธิเหนือที่ดินจึงเป็นการปกครองระบบศักดินาโดยสมบูรณ์ ด้านเศรษฐกิจก็เจริญรุ่งเรืองมาก เนื่องจากทำการค้ากับจีนสมัยหมิงด้านวัฒนธรรม ลัทธิเซนเป็นส่วนเพิ่มเติมให้กับวัฒนธรรมของชนชั้นปกครองและชนชั้นนักรบ ซึ่งเห็นรูปแบบได้จากตำหนักทอง (Kinkaku) ในปลายศตวรรษที่ 14 อันเป็นตัวแทนของวัฒนธรรมคิตะยะมะ (Kitayama) และตำหนักเงิน (Ginkaku) ในปลายศตวรรษที่ 15 อันเป็นตัวแทนของวัฒนธรรมฮิงะชิยะมะ (Higashiyama) การละคร อย่างเช่น โน เคียวเง็น และการต่อเพลง ก็เริ่มแพร่หลายสู่ประชาชนภายนอก ศิลปวัฒนธรรมดั้งเดิมของญี่ปุ่น อย่างเช่น พิธีชงชา การจัดดอกไม้ ก็เริ่มมีรากฐานมาจากยุคนี้ และในช่วงกลางศตวรรษที่ 16 พวกฝรั่ง เช่น ชาติโปรตุเกส และสเปนก็ได้นำอาวุธปืนยาวและศาสนาคริสต์เข้ามาเผยแพร่ที่ญี่ปุ่น.
ดู การฟื้นฟูเค็มมุและยุคมุโระมะชิ
ยุคราชสำนักเหนือ-ใต้
ยุคราชสำนักเหนือ-ใต้ (Northern and Southern Courts period) ยุคแห่งความวุ่นวายในการอ้างสิทธิในการสืบราชบัลลังก์ดอกเบญจมาศโดยดำเนินไปใน ยุคอะซุชิโมะโมะยะมะ หรือตรงกับยุค รัฐบาลโชกุนอะชิกะงะ ในช่วงปี พ.ศ.
ดู การฟื้นฟูเค็มมุและยุคราชสำนักเหนือ-ใต้
ยุคคะมะกุระ
มะกุระ หรือ อ่านแบบไทย คะมะกุระ ตรงกับปีค.ศ. 1185-ค.ศ. 1333 เป็นยุคที่ญี่ปุ่นเริ่มต้นการปกครองระบบศักดินาโดยจักรพรรดิเป็นผู้มีอำนาจการปกครอง แต่เพียงในนามรัฐบาลทหารที่เรียกว่า คะมะกุระ บะกุฟุ ซึ่งมีโชกุนเป็นหัวหน้าปกครองประเทศในนามจักรพรรดิมีอำนาจเด็ดขาดทั้งทางการเมืองและการทหาร มินะโมะโตะ โนะ โยะริโตะโมะ ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นโชกุนคนแรกจัดตั้งรัฐบาลทหารมีศูนย์กลางการปกครองอยู่ที่เมืองคะมะกุระ ส่วนจักรพรรดิประทับที่เมืองเฮอัง ในยุคคะมะกุระญี่ปุ่นต้องเผชิญหน้ากับการรุกรานจากกองทัพมองโกลภายใต้การนำของ กุบไลข่าน ในสมัย ราชวงศ์หยวน ซึ่งโดนโจมตีครั้งแรกในปี..
ดู การฟื้นฟูเค็มมุและยุคคะมะกุระ
รัฐบาลโชกุนอาชิกางะ
รัฐบาลโชกุนอาชิกางะ หรือที่มักรู้จักในชื่อ รัฐบาลโชกุนมูโรมาจิ เป็นระบอบการปกครองโดยกลุ่มทหารในญี่ปุ่นระหว่างปี..
ดู การฟื้นฟูเค็มมุและรัฐบาลโชกุนอาชิกางะ
รัฐบาลโชกุนคะมะกุระ
รัฐบาลโชกุนคะมะกุระ (鎌倉幕府 Kamakura bakufu) เป็นระบอบการปกครองโดยทหารในญี่ปุ่น อันมีประมุขของรัฐบาลคือโชกุน ตั้งแต..
ดู การฟื้นฟูเค็มมุและรัฐบาลโชกุนคะมะกุระ
ราชสำนักเหนือ
แผนที่แสดงที่ตั้งเมืองหลวงในยุคราชสำนักเหนือ-ใต้ ราชสำนักเหนือ (Northern court) หรือ ผู้อ้างสิทธิในราชบัลลังก์ฝ่ายเหนือ ราชสำนักที่ผู้อ้างสิทธิใน ราชบัลลังก์ดอกเบญจมาศ ทั้ง 6 พระองค์ปกครองในช่วง ยุคราชสำนักเหนือ-ใต้ โดยมี นครหลวงเคียวโตะ เป็นเมืองหลวง ราชสำนักเหนือนั้นสืบเชื้อสายจากราชสกุล จิเมียวอิง ซึ่งแปลว่า สายใหญ่ ที่มี จักรพรรดิโกะ-ฟุกะกุซะ ทรงเป็นต้นราชสกุลโดยราชสกุลของ จักรพรรดิอะกิฮิโตะ ที่ปกครองประเทศในปัจจุบันนั้นสืบเชื้อสายมาจาก ราชสำนักเหนือ นั่นเอง โดยที่มาของชื่อราชสกุลนั้นมาจากพระตำหนัก จิเมียวอิง ที่ประทับของจักรพรรดิโกะ-ฟุกะกุซะและ จักรพรรดิฟุชิมิ ภายหลังสละราชบัลลังก์แล้ว ราชสำนักเหนือสิ้นสุดลงเมื่อคราวที่ จักรพรรดิโกะ-คะเมะยะมะ จาก ราชสำนักใต้ ทรงสละราชบัลลังก์ให้กับ จักรพรรดิโกะ-โคะมะสึ จากราชสำนักเหนือเพื่อรวมแผ่นดินญี่ปุ่นเป็นหนึ่งเดียวเมื่อปี ค.ศ.
ดู การฟื้นฟูเค็มมุและราชสำนักเหนือ
สมบูรณาญาสิทธิราชย์
มบูรณาญาสิทธิราชย์ (Absolute Monarchy) คือ ระบอบการปกครองที่มีกษัตริย์เป็นผู้ปกครองและมีสิทธิ์ขาดในการบริหารประเทศ ในระบอบการปกครองนี้ กษัตริย์ก็คือกฎหมาย กล่าวคือ ที่มาของกฎหมายทั้งปวงอยู่ที่กษัตริย์ คำสั่ง ความต้องการต่าง ๆ ล้วนมีผลเป็นกฎหมายอมร รักษาสัตย์, กษัตริย์มีอำนาจในการปกครองแผ่นดินและพลเมืองโดยอิสระ โดยไม่มีกฎหมายหรือองค์กรตามกฎหมายใด ๆ จะห้ามปรามได้ แม้องค์กรทางศาสนาอาจทัดทานกษัตริย์จากการกระทำบางอย่างและองค์รัฏฐาธิปัตย์ (กษัตริย์) นั้นจะถูกคาดหวังว่าจะปฏิบัติตามธรรมเนียม แต่ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์นั้น ไม่มีรัฐธรรมนูญหรือกฎหมายใด ๆ ที่จะอยู่เหนือกว่าคำชี้ขาดของรัฏฐาธิปัตย์ ตามทฤษฎีพลเมืองนั้น ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มอบความไว้วางใจทั้งหมดให้กับพระเจ้าแผ่นดินที่ดีพร้อมทางสายเลือดและได้รับการเลี้ยงดูฝึกฝนมาอย่างดีตั้งแต่เกิด ในทางทฤษฎี กษัตริย์ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์จะมีอำนาจทั้งหมดเหนือประชาชนและแผ่นดิน รวมทั้งเหนืออภิชนและบางครั้งก็เหนือคณะสงฆ์ด้วย ส่วนในทางปฏิบัติ กษัตริย์ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มักจะถูกจำกัดอำนาจ โดยทั่วไปโดยกลุ่มที่กล่าวมาหรือกลุ่มอื่น กษัตริย์บางพระองค์ (เช่นจักรวรรดิเยอรมนี ค.ศ.
ดู การฟื้นฟูเค็มมุและสมบูรณาญาสิทธิราชย์
สงครามปีเก็งโก
งครามปีเก็งโก (Genkō War) สงครามกลางเมืองของประเทศญี่ปุ่นที่นำไปสู่การล่มสลายของ รัฐบาลโชกุนคะมะกุระ และการหมดอำนาจของ ตระกูลโฮโจ ที่เป็นตระกูลผู้สำเร็จราชการซึ่งชื่อ เก็งโก เป็นชื่อรัชศกของ จักรพรรดิโกะ-ไดโงะ แห่ง ราชสำนักใต้ ระหว่าง..
ดู การฟื้นฟูเค็มมุและสงครามปีเก็งโก
อะชิกะงะ ทะกะอุจิ
อะชิกะงะ ทะกะอุจิ (Ashikaga Takauji,足利尊氏) เป็น โชกุน คนแรกแห่ง รัฐบาลโชกุนอะชิกะง.
ดู การฟื้นฟูเค็มมุและอะชิกะงะ ทะกะอุจิ
จักรพรรดิญี่ปุ่น
ักรพรรดิแห่งญี่ปุ่น เป็น "สัญลักษณ์แห่งรัฐและเอกภาพของประชาชน" ตามรัฐธรรมนูญแห่งญี่ปุ่น..
ดู การฟื้นฟูเค็มมุและจักรพรรดิญี่ปุ่น
จักรพรรดิโกะ-โคะมะสึ
ักรพรรดิโกะ-โคะมะสึ จักรพรรดิองค์ที่ 100 แห่ง ราชวงศ์ญี่ปุ่น และจักรพรรดิองค์แรกหลัง ยุคราชสำนักเหนือ-ใต้ ตามที่ได้บันทึกไว้ใน รายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น ครองราชย์ระหว่าง พ.ศ.
ดู การฟื้นฟูเค็มมุและจักรพรรดิโกะ-โคะมะสึ
จักรพรรดิโกะ-ไดโงะ
ักรพรรดิโกะ-ไดโงะ (Emperor Go-Daigo) จักรพรรดิองค์ที่ 96 แห่ง ราชวงศ์ญี่ปุ่น ตามที่ได้บันทึกไว้ใน รายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น จักรพรรดิโกะ-ไดโงะครองราชย์ระหว่าง พ.ศ.
ดู การฟื้นฟูเค็มมุและจักรพรรดิโกะ-ไดโงะ
ตระกูลอาชิกางะ
ตราประจำตระกูลอาชิกางะ ตระกูลอาชิกางะ หรือ อาชิกากะ เป็นตระกูลของซามูไรญี่ปุ่น ซึ่งดำรงตำแหน่งโชกุนของรัฐบาลโชกุนอาชิกางะในยุคมูโรมาจิ เป็นผู้ปกครองประเทศญี่ปุ่นในทางพฤตินัย ตระกูลอาชิกางะสืบเชื้อสายมาจากตระกูลมินาโมโตะซึ่งสืบเชื้อสายมาจากพระจักรพรรดิเซวะ เรียกว่า ตระกูลเซวะเก็นจิ สาขาซึ่งตั้งรกรากอยู่ที่แคว้นคาวาจิ (จังหวัดโอซากะในปัจจุบัน) เรียกว่า ตระกูลคาวาจิเก็นจิ หนึ่งในสมาชิกของตระกูลคาวาจิเก็นจิ คือ มินาโมโตะ โนะ โยชิอิเอะ เป็นซามูไรที่มีชื่อเสียงในยุคเฮอัง มินาโมโตะ โนะ โยชิอิเอะ มีบุตรชายชื่อว่า มินาโมโตะ โนะ โยชิจิกะ เป็นปู่ทวดของโชกุนคนแรก มินาโมโตะ โนะ โยริโตโมะ นอกจากนี้ มินาโมโตะ โนะ โยชิอิเอะ ยังมีบุตรชายอีกคนชื่อว่า มินาโมโตะ โนะ โยชิกูนิ ซึ่งมินาโมโตะ โนะ โยชิกูนิ มีบุตรชายคนโตชื่อว่า มินาโมโตะ โนะ โยชิชิเงะ โยชิชิเงะเดินทางไปตั้งรกรากที่เมืองนิตตะ ในแคว้นโคซูเกะ ปัจจุบันคือเมืองโอตะจังหวัดกุมมะ เป็นบรรพบุรุษของตระกูลนิตตะ ตระกูลยามานะ และตระกูลโทกูงาวะ มินาโมโตะ โนะ โยชิกูนิ มีบุตรชายคนที่สอง ชื่อว่า มินาโมโตะ โนะ โยชิยาซุ โยชิยาซุเดินทางไปตั้งรกรากที่เมืองอาชิกางะ ในแคว้นชิมตสึเกะ (ปัจจุบันคือจังหวัดโทจิงิ) เป็นบรรพบุรุษของตระกูลอาชิกางะ มินาโมโตะ โนะ โยชิยาซุ มีบุตรชายชื่อว่า อาชิกางะ โยชิกาเนะ อาชิกางะ โยชิกาเนะ มีบทบาทและมีความดีความชอบต่อโชกุนคนแรก มินาโมโตะ โนะ โยริโตโมะ ในสงครามเก็มเป อาชิกางะ โยชิกาเนะ สมรสกับ โฮโจ โทกิโกะ ซึ่งเป็นบุตรสาวของโฮโจ โทกิมาซะ และเป็นน้องสาวของนางโฮโจ มาซาโกะ เท่ากับว่าอาชิกางะ โยชิกาเนะ เป็นน้องเขยของโชกุนมินาโมโตะ โนะ โยริโตโมะ แม้ว่าต้นตระกูลอาชิกางะจะมีผลงานโดดเด่นในสงครามเก็มเป แต่ตลอดยุคคามากูระ ตระกูลอาชิกางะมีบทบาททางการเมืองเพียงเล็กน้อย อย่างไรก็ตามรัฐบาลโชกุนคามากูระและตระกูลโฮโจยังคงให้เกียรติตระกูลอาชิกางะด้วยการส่งสตรีจากตระกูลโฮโจมาสมรสกับตระกูลอาชิกางะอย่างต่อเนื่อง ในยุคคามากูระ ผู้นำตระกูลอาชิกางะทุกคนมีภรรยาเอกมาจากตระกูลโฮโจ พงศาวลี ตระกูลอาชิกางะ และตระกูลสาขาย่อยต่าง ๆ นอกจากนี้ตระกูลอาชิกางะยังแตกสาขาย่อยออกไปเป็นตระกูลต่าง ๆ อีกมากมาย ได้แก.
ดู การฟื้นฟูเค็มมุและตระกูลอาชิกางะ
โชกุน
กุน เป็นผู้ใช้อำนาจเผด็จการทหารแห่งญี่ปุ่นระหว่าง..
เรียว (หน่วยเงิน)
หรียญทองในยุคปีเคโชที่เรียกว่า ''โคบัง'' มีมูลค่าหนึ่งเรียว เรียว หน่วยเงินในอดีตของประเทศญี่ปุ่นซึ่งใช้ทองคำแลกเปลี่ยนตามระบบ มาตราชั่งตวงวัดของญี่ปุ่น ใช้กันมากก่อน ยุคเมจิ ถูกแทนที่โดยค่าเงิน เยน ใยรัชสมัย จักรพรรดิเมจิ เมื่อวันที่ 27 มิถุนายน..
ดู การฟื้นฟูเค็มมุและเรียว (หน่วยเงิน)
เฮอังเกียว
''Heian-kyō'' เฮอังเคียว หรือ เฮอังเกียว คืออดีตเมืองหลวงของประเทศญี่ปุ่น สถาปนาขึ้นในปี พ.ศ. 1337(ค.ศ. 794) โดยสมเด็จพระจักรพรรดิคังมุ ในจังหวัดเคียวโตะ หรือ เกียวโต ประเทศญี่ปุ่นในปัจจุบัน มีฐานะเป็นเมืองหลวงของประเทศนานถึง 1074 ปี ก่อนที่จะเปลี่ยนมาเป็นโตเกียว ในปี พ.ศ.
ดู การฟื้นฟูเค็มมุและเฮอังเกียว
เคียวโตะ
ียวโตะ หรือ เกียวโต อาจหมายถึง.
ดูเพิ่มเติม
การฟื้นฟู (การเมือง)
- การฟื้นฟูราชวงศ์อังกฤษ
- การฟื้นฟูเค็มมุ
- องคมนตรีคาบาล