โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ยุคมุโระมะชิ

ดัชนี ยุคมุโระมะชิ

มุโระมะชิ ตรงกับค.ศ. 1336 - ค.ศ. 1568 ครึ่งหลังของศตวรรษที่ 14 อะชิคะงะ โยะชิมิสึ ได้ปราบปรามชนชั้นปกครองลงอย่างราบคาบ และตั้งรัฐบาลโชกุนขึ้นอีกครั้งที่ เคียวโตะ ซึ่งรัฐบาลโชกุนนี้ได้ปกครองญี่ปุ่นต่อมาเป็นเวลานานถึงสองศตวรรษเศษอันเป็นช่วงเวลาที่วัฒนธรรมของชนชั้นนักรบก็ได้กลืนวัฒนธรรมของชนชั้นปกครองลงอย่างราบคาบเช่นเดียวกัน อย่างไรก็ตามรัฐบาลโชกุนของตระกูลอะชิคะงะ เกิดจากการรวมตัวของขุนศึกสำคัญ ๆ ตามหัวเมืองต่าง ๆ เข้าด้วยกัน จึงเป็นธรรมดาที่การรวบอำนาจให้รัฐบาลมีเสถียรภาพนั้นเป็นไปได้อย่างลำบาก ดังนั้นในครึ่งหลังศตวรรษที่ 15 เป็นต้นมา ขุนศึกตามหัวเมืองต่าง ๆ จึงเริ่มทำสงครามแย่งชิงอำนาจกัน จนทั้งประเทศญี่ปุ่นตกเข้าสู่ยุคสงคราม ภายในยุคนี้เป็นยุคที่ชนชั้นนักรบมีอำนาจเหนือเกษตรกรและมีกรรมสิทธิเหนือที่ดินจึงเป็นการปกครองระบบศักดินาโดยสมบูรณ์ ด้านเศรษฐกิจก็เจริญรุ่งเรืองมาก เนื่องจากทำการค้ากับจีนสมัยหมิงด้านวัฒนธรรม ลัทธิเซนเป็นส่วนเพิ่มเติมให้กับวัฒนธรรมของชนชั้นปกครองและชนชั้นนักรบ ซึ่งเห็นรูปแบบได้จากตำหนักทอง (Kinkaku) ในปลายศตวรรษที่ 14 อันเป็นตัวแทนของวัฒนธรรมคิตะยะมะ (Kitayama) และตำหนักเงิน (Ginkaku) ในปลายศตวรรษที่ 15 อันเป็นตัวแทนของวัฒนธรรมฮิงะชิยะมะ (Higashiyama) การละคร อย่างเช่น โน เคียวเง็น และการต่อเพลง ก็เริ่มแพร่หลายสู่ประชาชนภายนอก ศิลปวัฒนธรรมดั้งเดิมของญี่ปุ่น อย่างเช่น พิธีชงชา การจัดดอกไม้ ก็เริ่มมีรากฐานมาจากยุคนี้ และในช่วงกลางศตวรรษที่ 16 พวกฝรั่ง เช่น ชาติโปรตุเกส และสเปนก็ได้นำอาวุธปืนยาวและศาสนาคริสต์เข้ามาเผยแพร่ที่ญี่ปุ่น.

96 ความสัมพันธ์: ฟรันซิสโก คาเบียร์พ.ศ. 1879พ.ศ. 1892พ.ศ. 1896พ.ศ. 1898พ.ศ. 1901พ.ศ. 1905พ.ศ. 1908พ.ศ. 1911พ.ศ. 1913พ.ศ. 1921พ.ศ. 1922พ.ศ. 1935พ.ศ. 1937พ.ศ. 1941พ.ศ. 1944พ.ศ. 1945พ.ศ. 1951พ.ศ. 1954พ.ศ. 1959พ.ศ. 1960พ.ศ. 1962พ.ศ. 1966พ.ศ. 1968พ.ศ. 1971พ.ศ. 1972พ.ศ. 1976พ.ศ. 1977พ.ศ. 1981พ.ศ. 1984พ.ศ. 1986พ.ศ. 2007พ.ศ. 2008พ.ศ. 2010พ.ศ. 2016พ.ศ. 2020พ.ศ. 2025พ.ศ. 2030พ.ศ. 2033พ.ศ. 2044พ.ศ. 2051พ.ศ. 2064พ.ศ. 2070พ.ศ. 2074พ.ศ. 2086พ.ศ. 2090พ.ศ. 2092พ.ศ. 2102พ.ศ. 2108พ.ศ. 2111...พ.ศ. 2116พระไวโรจนพุทธะพระเจ้าแทจงพระเจ้าแทโจแห่งโชซ็อนการจัดสวนมะละกา (เมือง)มิไดโดะโกะโระยามางูจิยุคอาซูจิ–โมโมยามะยุคคะมะกุระยุคเซ็งโงกุรัฐบาลโชกุนอาชิกางะรัฐบาลโชกุนคะมะกุระราชวงศ์หมิงราชวงศ์ซ่งวัดคิงกะกุอะชิกะงะ ทะกะอุจิอะชิกะงะ โยะชิมะซะอะชิกะงะ โยะชิอะกิอะชิกะงะ โยะชิฮิซะอะชิกะงะ โยะชิตะเนะอะชิกะงะ โยะชิโมะชิอะชิกะงะ โยะชิโนะริอาชิกางะ โยชิมิตสึจักรพรรดิโกะ-ไดโงะจักรพรรดิโองิมะชิจักรพรรดิโคเมียวจักรพรรดิเจี้ยนเหวินจังหวัดยามางูจิจังหวัดคาโงชิมะจังหวัดนาระจิ้มก้องคันเรคามากูระคาโงชิมะ (เมือง)คณะเยสุอิตซะโดปักกิ่งโอดะ โนบูนางะโทกูงาวะ อิเอยาซุโทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะชิเกาะสึชิมะเกาะคีวชูเกียวโต (นคร)เคียวโตะเซน ขยายดัชนี (46 มากกว่า) »

ฟรันซิสโก คาเบียร์

นักบุญฟรันซิสโก คาเบียร์ (Francis Xavier, Francisco Javier, Frantzisko XabierkoaFranciscus Xaverius) ชื่อจริง Francisco de Jaso y Azpilicueta (อ่านว่า ฟรันซิสโก เด คาโซ อี อัซปีลีกูเอตา) ในประเทศไทยรู้จักในนาม ฟรังซิสเซเวียร์ เป็นบาทหลวงโรมันคาทอลิกชาวแคว้นนาวาร์ ประเทศสเปน เป็นผู้นำศาสนาคริสต์มาเผยแพร่ที่ประเทศญี่ปุ่นเป็นคนแรกตลอดจนประเทศต่าง ๆ เช่น อินเดีย ศรีลังกา มาเลเซีย จีน ญี่ปุ่น เสียชีวิต ณ หมู่เกาะซ้างชวน ประเทศจีน และได้รับการประกาศเป็นนักบุญ ฟรันซิสโก คาเบียร์ เป็นสมาชิกแรกเริ่ม และหนึ่งในสมาชิกที่มีชื่อเสี่ยงมากที่สุดคนหนึ่งของคณะแห่งพระเยซูเจ้า ซึ่งเขามีความสนิทสนมกับ นักบุญอิกเนเชียสแห่งโลโยลาผู้ก่อตั้งคณ.

ใหม่!!: ยุคมุโระมะชิและฟรันซิสโก คาเบียร์ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1879

ทธศักราช 1879 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ยุคมุโระมะชิและพ.ศ. 1879 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1892

ทธศักราช 1892 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ยุคมุโระมะชิและพ.ศ. 1892 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1896

ทธศักราช 1896 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ยุคมุโระมะชิและพ.ศ. 1896 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1898

ทธศักราช 1898 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ยุคมุโระมะชิและพ.ศ. 1898 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1901

ทธศักราช 1901 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ยุคมุโระมะชิและพ.ศ. 1901 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1905

ทธศักราช 1905 ตรงกั.

ใหม่!!: ยุคมุโระมะชิและพ.ศ. 1905 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1908

ทธศักราช 1908 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ยุคมุโระมะชิและพ.ศ. 1908 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1911

ทธศักราช 1911 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ยุคมุโระมะชิและพ.ศ. 1911 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1913

ทธศักราช 1913 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ยุคมุโระมะชิและพ.ศ. 1913 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1921

ทธศักราช 1921 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ยุคมุโระมะชิและพ.ศ. 1921 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1922

ทธศักราช 1922 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ยุคมุโระมะชิและพ.ศ. 1922 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1935

ทธศักราช 1935 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ยุคมุโระมะชิและพ.ศ. 1935 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1937

ทธศักราช 1937 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ยุคมุโระมะชิและพ.ศ. 1937 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1941

ทธศักราช 1941 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ยุคมุโระมะชิและพ.ศ. 1941 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1944

ทธศักราช 1944 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ยุคมุโระมะชิและพ.ศ. 1944 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1945

ทธศักราช 1945 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ยุคมุโระมะชิและพ.ศ. 1945 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1951

ทธศักราช 1951 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ยุคมุโระมะชิและพ.ศ. 1951 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1954

ทธศักราช 1954 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ยุคมุโระมะชิและพ.ศ. 1954 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1959

ทธศักราช 1959 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ยุคมุโระมะชิและพ.ศ. 1959 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1960

ทธศักราช 1960 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ยุคมุโระมะชิและพ.ศ. 1960 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1962

ทธศักราช 1962 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ยุคมุโระมะชิและพ.ศ. 1962 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1966

ทธศักราช 1966 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ยุคมุโระมะชิและพ.ศ. 1966 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1968

ทธศักราช 1968 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ยุคมุโระมะชิและพ.ศ. 1968 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1971

ทธศักราช 1971 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ยุคมุโระมะชิและพ.ศ. 1971 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1972

ทธศักราช 1972 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ยุคมุโระมะชิและพ.ศ. 1972 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1976

ทธศักราช 1976 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ยุคมุโระมะชิและพ.ศ. 1976 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1977

ทธศักราช 1977 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ยุคมุโระมะชิและพ.ศ. 1977 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1981

ทธศักราช 1981 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ยุคมุโระมะชิและพ.ศ. 1981 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1984

ทธศักราช 1984 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ยุคมุโระมะชิและพ.ศ. 1984 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1986

ทธศักราช 1986 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ยุคมุโระมะชิและพ.ศ. 1986 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2007

ทธศักราช 2007 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ยุคมุโระมะชิและพ.ศ. 2007 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2008

ทธศักราช 2008 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ยุคมุโระมะชิและพ.ศ. 2008 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2010

ทธศักราช 2010 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ยุคมุโระมะชิและพ.ศ. 2010 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2016

ทธศักราช 2016 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ยุคมุโระมะชิและพ.ศ. 2016 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2020

ทธศักราช 2020 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ยุคมุโระมะชิและพ.ศ. 2020 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2025

ทธศักราช 2025 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ยุคมุโระมะชิและพ.ศ. 2025 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2030

ทธศักราช 2030 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ยุคมุโระมะชิและพ.ศ. 2030 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2033

ทธศักราช 2033 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ยุคมุโระมะชิและพ.ศ. 2033 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2044

ทธศักราช 2044 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ยุคมุโระมะชิและพ.ศ. 2044 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2051

ทธศักราช 2051 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ยุคมุโระมะชิและพ.ศ. 2051 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2064

ทธศักราช 2064 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ยุคมุโระมะชิและพ.ศ. 2064 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2070

ทธศักราช 2070 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ยุคมุโระมะชิและพ.ศ. 2070 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2074

ทธศักราช 2074 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ยุคมุโระมะชิและพ.ศ. 2074 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2086

ทธศักราช 2086 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ยุคมุโระมะชิและพ.ศ. 2086 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2090

ทธศักราช 2090 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ยุคมุโระมะชิและพ.ศ. 2090 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2092

ทธศักราช 2092 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ยุคมุโระมะชิและพ.ศ. 2092 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2102

ทธศักราช 2102 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ยุคมุโระมะชิและพ.ศ. 2102 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2108

ทธศักราช 2108 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ยุคมุโระมะชิและพ.ศ. 2108 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2111

ทธศักราช 2111 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ยุคมุโระมะชิและพ.ศ. 2111 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2116

ทธศักราช 2116 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ยุคมุโระมะชิและพ.ศ. 2116 · ดูเพิ่มเติม »

พระไวโรจนพุทธะ

ระไวโรจนพุทธะราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พิมพ์ครั้งที่ 3, ราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 219เป็นพระธยานิพุทธะ 1 ใน 5 องค์ ของนิกายวัชรยาน ทรงเป็นประธานของพระพุทธะทั้ง 5 หมายถึงปัญญาอันสูงสุด ตราประจำพระองค์เป็นธรรมจักร หมายถึง ความเป็นหนึ่ง พระกายเป็นแสงสว่าง มักแทนด้วยสีขาว ตำแหน่งในพุทธมณฑลจะอยู่ตรงกลางโดยมีพุทธะอีก 4 องค์ห้อมล้อม พระโพธิสัตว์ในกลุ่มของท่านที่สำคัญมี 2 องค์ คือ พระสมันตภัทรโพธิสัตว์ และพระมัญชุศรีโพธิสัตว.

ใหม่!!: ยุคมุโระมะชิและพระไวโรจนพุทธะ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าแทจง

ระเจ้าแทจง ((13 มิถุนายน ค.ศ.1367 - 30 พฤษภาคม ค.ศ. 1422, ครองราชย์ ค.ศ.1400 - ค.ศ.1418) เป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 3 แห่งราชวงศ์โชซ็อนของประเทศเกาหลี เป็นพระราชบิดาของ พระเจ้าเซจงมหาร.

ใหม่!!: ยุคมุโระมะชิและพระเจ้าแทจง · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าแทโจแห่งโชซ็อน

ระเจ้าแทโจ (ค.ศ. 1335 - ค.ศ. 1408) เป็นปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์โชซ็อนของเกาหลี (ค.ศ. 1392 - ค.ศ. 1398) พระนามเดิมว่า อี ซ็อง-กเย ทรงย้ายเมืองหลวงของเกาหลีไปยังเมืองฮันซ็องและตั้งลัทธิขงจื๊อใหม่ (Neo-Confucianism) เป็นศาสนาประจำชาต.

ใหม่!!: ยุคมุโระมะชิและพระเจ้าแทโจแห่งโชซ็อน · ดูเพิ่มเติม »

การจัดสวน

การจัดสวน คือกิจกรรมที่เป็นศาสตร์ศิลป์และงานฝีมือที่เกี่ยวกับการปลูกและดูแลพืชรวมถึงสภาพแวดล้อมเพื่อสร้างบรรยากาศที่สวยงาม โดยทั่วไปแล้วจะเป็นกิจกรรมในบริเวณที่อยู่อาศัย ในบริเวณที่เรียกว่าสวน การจัดสวนอาจทำนอกบริเวณที่อยู่อาศัยก็ได้เช่น สวนสาธารณะ สวนพฤกษศาสตร์ บริเวณสถานที่ท่องเที่ยว บริเวณโรงแรม/ห้างร้าน/บริษัท/หน่วยงานต่างๆ โดยทั่วไปจะทำกลางแจ้งและทำบนดินแต่ก็อาจทำในร่มได้เช่น การจัดสวนในเรือนกระจก หรืออาจทำในน้ำได้การปลูกเลี้ยงสระบัว หรือแม้แต่การทำสวนพืชรากอากาศ อาจทำได้หลายรูปแบบ เช่น สวนดอกไม้ สวนหิน สวนที่มีลักษณะที่สมดุลเช่นการจัดสวนแบบยุโรป หรือ ลักษณะการผสมผสานความไม่สมดุลเช่นการจัดสวนแบบญี่ปุ่น เป็นต้น นอกเหนือจากการตกแต่งบ้านให้สวยงามแล้ว การจัดสวนก็มีส่วนสำคัญที่ช่วยให้บ้านน่าอยู่น่าอาศัย เพราะการที่เรามีสวนที่สวยงามจะทำให้เรารุ้สึกว่าบ้านของเรานั้นหน้าอยู.

ใหม่!!: ยุคมุโระมะชิและการจัดสวน · ดูเพิ่มเติม »

มะละกา (เมือง)

มะละกา (Malacca; Melaka) เป็นเมืองเอกของรัฐมะละกา ประเทศมาเลเซีย ในอดีตที่นี่เป็นเมืองท่าสำคัญที่เติบโตจนกลายเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ เนื่องจากเป็นเส้นทางเดินเรือค้าขายระหว่างชาติตะวันตกและตะวันออก ต่อมามะละกาได้ตกเป็นอาณานิคมของชาติตะวันตกทั้งโปรตุเกส, เนเธอร์แลนด์ และอังกฤษ อาคารในมะละกาจึงมีลักษณะของสถาปัตยกรรมที่ผสมผสานระหว่างศิลปกรรมท้องถิ่นกับเจ้าอาณานิคมนั้น ๆ ซึ่งในปัจจุบันได้กลายมาเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่น่าสนใจ เมื่อวันที่ 7 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ยุคมุโระมะชิและมะละกา (เมือง) · ดูเพิ่มเติม »

มิไดโดะโกะโระ

มิไดโดะโกะโระ เป็นตำแหน่งภรรยาเอกของ โชกุน โดยเริ่มมีมาตั้งแต่สมัย คะมะกุระ ซึ่งผู้ที่รับตำแหน่งนี้ เป็นคนแรกคือ โฮโจ มะซะโกะ ภรรยาเอกของ มินะโมะโตะ โนะ โยะริโตะโมะ โชกุนคนแรกของญี่ปุ่น ตำแหน่งมิไดนี้มีมาจนถึงสมัย เอโดะ ก่อนจะถูกยกเลิก ไปหลังจากที่ โทะกุงะวะ โยะชิโนะบุ โชกุนคนสุดท้าย ของญี่ปุ่นถวายคืนพระราชอำนาจแก่ จักรพรรดิเมะจิ หมวดหมู่:ศักดินาญี่ปุ่น.

ใหม่!!: ยุคมุโระมะชิและมิไดโดะโกะโระ · ดูเพิ่มเติม »

ยามางูจิ

มางูจิ หรือ ยามากูจิ (山口 Yamaguchi; "ปากทางภูเขา") สามารถหมายถึง.

ใหม่!!: ยุคมุโระมะชิและยามางูจิ · ดูเพิ่มเติม »

ยุคอาซูจิ–โมโมยามะ

อาซูจิ–โมโมยามะ เป็นยุคที่เริ่มตั้งแต..

ใหม่!!: ยุคมุโระมะชิและยุคอาซูจิ–โมโมยามะ · ดูเพิ่มเติม »

ยุคคะมะกุระ

มะกุระ หรือ อ่านแบบไทย คะมะกุระ ตรงกับปีค.ศ. 1185-ค.ศ. 1333 เป็นยุคที่ญี่ปุ่นเริ่มต้นการปกครองระบบศักดินาโดยจักรพรรดิเป็นผู้มีอำนาจการปกครอง แต่เพียงในนามรัฐบาลทหารที่เรียกว่า คะมะกุระ บะกุฟุ ซึ่งมีโชกุนเป็นหัวหน้าปกครองประเทศในนามจักรพรรดิมีอำนาจเด็ดขาดทั้งทางการเมืองและการทหาร มินะโมะโตะ โนะ โยะริโตะโมะ ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นโชกุนคนแรกจัดตั้งรัฐบาลทหารมีศูนย์กลางการปกครองอยู่ที่เมืองคะมะกุระ ส่วนจักรพรรดิประทับที่เมืองเฮอัง ในยุคคะมะกุระญี่ปุ่นต้องเผชิญหน้ากับการรุกรานจากกองทัพมองโกลภายใต้การนำของ กุบไลข่าน ในสมัย ราชวงศ์หยวน ซึ่งโดนโจมตีครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: ยุคมุโระมะชิและยุคคะมะกุระ · ดูเพิ่มเติม »

ยุคเซ็งโงกุ

ซ็งโงกุ เป็นช่วงเวลาของความไม่สงบใน ญี่ปุ่น อันเกิดจากอำนาจการปกครองของ โชกุนตระกูลอาชิกางะในยุคมูโรมาจิเสื่อมลง ทำให้บรรดาไดเมียวผู้ปกครองแคว้นต่าง ๆ ในญี่ปุ่นต่างพากันตั้งตนเป็นอิสระ โดยเฉพาะไดเมียวที่อยู่ห่างจากเมืองหลวงเกียวโตมาก และทำสงครามกันเอง ทำให้ญี่ปุ่นลุกเป็นไฟ บ้านเมืองไม่มีขื่อแป โชกุนที่เกียวโตไม่สามารถทำอะไรได้เพราะเป็นเพียงหุ่นเชิดของไดเมียวที่มีอำนาจ สมัยเซ็งโงกุเป็นสมัยแห่งวีรบุรุษ โดยเฉพาะวีรบุรุษทั้งสามที่รวมประเทศญี่ปุ่นให้กลับเป็นหนึ่งเดียวอีกครั้งเป็นการสิ้นสุดสมัยเซ็งโงกุ ได้แก่ โอดะ โนบูนางะ, โทโยโตมิ ฮิเดโยชิ, และ โทกูงาวะ อิเอยาซุ อักษรคันจิของคำว่ายุคเซ็งโงกุ ตรงกับคำว่า "ยุคจ้านกว๋อ" ในภาษาจีน หมายถึง "ยุครณรัฐ" ซึ่งเกิดขึ้นอยู่ในช่วงระหว่าง 477-222 ปีก่อน..

ใหม่!!: ยุคมุโระมะชิและยุคเซ็งโงกุ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐบาลโชกุนอาชิกางะ

รัฐบาลโชกุนอาชิกางะ หรือที่มักรู้จักในชื่อ รัฐบาลโชกุนมูโรมาจิ เป็นระบอบการปกครองโดยกลุ่มทหารในญี่ปุ่นระหว่างปี..

ใหม่!!: ยุคมุโระมะชิและรัฐบาลโชกุนอาชิกางะ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐบาลโชกุนคะมะกุระ

รัฐบาลโชกุนคะมะกุระ (鎌倉幕府 Kamakura bakufu) เป็นระบอบการปกครองโดยทหารในญี่ปุ่น อันมีประมุขของรัฐบาลคือโชกุน ตั้งแต..

ใหม่!!: ยุคมุโระมะชิและรัฐบาลโชกุนคะมะกุระ · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์หมิง

ราชวงศ์หมิง หรือ ราชวงศ์เบ๋ง (ฮกเกี้ยน) หรือ ราชวงศ์เม้ง (แต้จิ๋ว) หรือเป็นที่รู้จักกันในชื่อ จักรวรรดิต้าหมิง เป็นราชวงศ์ที่ปกครองจักรวรรดิจีน ระหว่าง พ.ศ. 1911 (ค.ศ. 1368) ถึง พ.ศ. 2187 (ค.ศ. 1644) ดำรงอยู่เป็นเวลารวม 276 ปี โดยปกครองต่อจากราชวงศ์หยวนของชาวมองโกล และพ่ายแพ้ให้กับราชวงศ์ชิงของชาวแมนจูในภายหลัง ราชวงศ์หมิงเป็นราชวงศ์ที่รุ่งเรืองในด้านวัฒนธรรมเป็นอย่างมาก ในยุคนี้มีการสำรวจทางทะเลอย่างกว้างขวาง ราชวงศ์หมิงในตอนต้น (1368 - 1464) ถือเป็นอาณาจักรที่ก้าวหน้าที่สุดในโลก ณ ช่วงเวลานั้น ราชวงศ์หมิงถือเป็นหนึ่งในยุคที่ถูกจัดโดยนักวิชาการชาวตะวันตกว่ามีการปกครองที่เป็นระบบและสังคมที่มีเสถียรภาพในประวัติศาสตร์มนุษย์ชาติก่อนที่จะล่มสลาย ราชวงศ์หมิงถือเป็นราชวงศ์ที่ปกครองประเทศจีนราชวงศ์สุดท้ายที่ปกครองโดยชาวฮั่น ปฐมจักรพรรดิต้าหมิง จูหยวนจาง หรือ จักรพรรดิหงหวู่ หลังจากที่ได้ทรงประกาศปลดแอกชาวฮั่นจากภายใต้การปกครองของราชวงศ์หยวนของชาวมองโกล ได้สถาปนาราชวงศ์หมิงขึ้น พระองค์ได้ทรงพยายามปฏิรูปการปกครองอาณาจักรเสียใหม่ ทรงพยายามสร้างระบบสังคมชุมชนชนบทแบบพึ่งพาตนเอง ปฏิรูประบบราชการ, กฎหมาย จักรพรรดิหงหวู่ได้สร้างระบบที่เป็นระเบียบที่ยืดหยุ่นเปลี่ยนแปลงได้ที่จะสามารถรองรับและสนับสนุนการทหารของราชวงศ์หมิงอย่างยั่งยืน ทำให้ด้านการทหารในช่วงนั้นราชวงศ์หมิงประสบความสำเร็จมีกองทัพภาคพื้นดินเกินกว่า 1 ล้านคนและกองทัพเรือมีอู่ต่อเรือที่หนานจิงเป็นอู่ต่อเรือที่ใหญ่ที่สุดในโลกในขณะนั้น พระองค์ยังได้ทรงตระหนักถึงการลดทอนอำนาจของเหล่าขันทีในราชสำนักCrawford, Robert.

ใหม่!!: ยุคมุโระมะชิและราชวงศ์หมิง · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์ซ่ง

ราชวงศ์ซ่ง ตามสำเนียงกลาง หรือ ซ้อง ตามสำเนียงฮกเกี้ยน เป็นหนึ่งในราชวงศ์ซึ่งปกครองประเทศจีนอยู่ระหว่างปี พ.ศ. 1503 ถึง ปีพ.ศ. 1822 รัฐบาลซ่งเป็นรัฐบาลแรกในโลกที่ใช้เงินตราแบบกระดาษ เจ้า ควงอิ้น ได้ชื่อว่า พระเจ้าซ่งไท่จู่ ได้พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมขึ้นมาใหม่ แต่กลับตัดทอนอำนาจทางการทหาร ของแม่ทัพ เนื่องจากความระแวง กลัวจะยึดอำนาจ ทำให้การทหารอ่อนแอ อย่างไรก็ดี ในราชวงศ์นี้ ศิลปกรรมและวัฒนธรรมรุ่งเรืองมาก การศึกษาของประชาชนดีขึ้น และเปาบุ้นจิ้น ก็ได้มาเกิดในยุคในสมัยของจักรพรรดิซ่งเหรินจง ซึ่งเป็นยุคที่ฮ่องเต้อ่อนแอ อำนาจอยู่ในมือพวกกังฉิน ท่านตัดสินคดีอย่างยุติธรรม และเด็ดขาด ไม่เกรงหน้าอินทร์หน้าพรหมใดๆ จนเป็นที่เลื่องลือมาถึงปัจจุบัน ในสมัยราชวงศ์ซ่ง จีนถูกรุกรานโดยชนเผ่าต่างๆ คือ พวกเซี่ย พวกชิตัน (เมืองเหลียว) จึงมีศึกอยู่ตลอดมา แถมยังต้องยอมเซ็นสัญญาสงบศึกกับ "คนป่าเถื่อน" ต้องส่งบรรณาการให้ ทำให้การเงินไม่คล่องตัว จนมีนักปฏิรูปชื่อ "หวังอั้นจี่" ออกกฎหมายมาควบคุมการใช้เงิน ของบรรดาเชื้อพระวงศ์ แต่สุดท้าย ก็ต้องยกเลิก เพราะไปขัดผลประโยชน์เจ้าใหญ่นายโต ครั้นต่อมา มีชนเผ่าจินหรือกิม (บรรพบุรุษของแมนจู) เข้ามาตี และเนื่องจากมีขุนนางกังฉิน ไปเข้ากับศัตรู (ดังเช่น ฉินไคว่ กังฉินชื่อดัง ซึ่งใส่ความแม่ทัพงักฮุย และสังหารงักฮุยกับลูกชายเสีย ทำให้ชาวจีนเคียดแค้นชิงชังอย่างยิ่ง) บวกกับการทหารที่อ่อนแออยู่แล้ว (ผสมกับฮ่องเต้ที่ไร้สามารถ หูเบา เชื่อฟังกังฉิน) ทำให้พวกจินสามารถบุกจนถึงเมืองไคฟง (เมืองหลวง) จึงต้องย้ายเมืองหลวง ไปอยู่ทางทิศใต้ มีชื่อเรียกว่า ซ่งใต้ ซึ่งพวกจินก็ยังตามล้างผลาญตลอด แต่ต่อมา ในที่สุด พวกจิน, เซี่ยกับชิตันก็ถูกมองโกล ซึ่งนำโดย เจงกิสข่าน (เตมูจิน) เข้าตี แล้วหันมาตีจีนต่อจนถึงปักกิ่ง หลังจากนั้น กุบไลข่าน หลานปู่ของเจงกิสข่าน ได้โจมตีราชวงศ์ซ่งใต้ โดยได้ความร่วมมือจากขุนนาง และทหารของราชวงศ์ซ่งบางคน ที่กลับลำหันมาช่วยเหลือมองโกล โจมตีพวกของตัวเอง จนสิ้นราชวงศ์ในที่สุด แล้วกุบไลข่านจึงตั้งราชวงศ์หยวนขึ้นมาแทน.

ใหม่!!: ยุคมุโระมะชิและราชวงศ์ซ่ง · ดูเพิ่มเติม »

วัดคิงกะกุ

วัดคิงกะกุ มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า วัดโระกุอง ตั้งอยู่ในเมืองเคียวโตะ จังหวัดเคียวโตะ ประเทศญี่ปุ่น มีศาลาทองเป็นจุดเด่นของวัด แรกเริ่มศาลาทองสร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 1940 เพื่อเป็นที่พักของโชกุนอะชิกะงะ โยะชิมิสึ ต่อมาผู้เป็นบุตรชายได้เปลี่ยนแปลงให้เป็นวัดนิกายเซนสำนักรินไซ วัดถูกเผาทำลายหลายครั้งในระหว่างสงครามโอนิง ศาลาทองแห่งนี้เป็นแรงบันดาลใจให้หลานของโยะชิมิสึสร้างวัดอีกแห่งหนึ่ง ชื่อว่า วัดกิงกะกุ ปี..

ใหม่!!: ยุคมุโระมะชิและวัดคิงกะกุ · ดูเพิ่มเติม »

อะชิกะงะ ทะกะอุจิ

อะชิกะงะ ทะกะอุจิ (Ashikaga Takauji,足利尊氏) เป็น โชกุน คนแรกแห่ง รัฐบาลโชกุนอะชิกะง.

ใหม่!!: ยุคมุโระมะชิและอะชิกะงะ ทะกะอุจิ · ดูเพิ่มเติม »

อะชิกะงะ โยะชิมะซะ

อะชิกะงะ โยะชิมะซะ โชกุนคนที่ 8 แห่ง ตระกูลอะชิกะงะ ดำรงตำแหน่งช่วงระหว่างปี ค.ศ. 1449 ถึง ค.ศ. 1473 ในสมัยของโชกุนโยะชิมะซะได้ชื่อว่าเป็นจุดเริ่มต้นแห่งความเสื่อมถอยของรัฐบาลโชกุนอะชิกะงะจากเหตุการณ์สงครามโอนิง.

ใหม่!!: ยุคมุโระมะชิและอะชิกะงะ โยะชิมะซะ · ดูเพิ่มเติม »

อะชิกะงะ โยะชิอะกิ

รูปวาดของโยะชิอะกิ อะชิกะงะ โยะชิอะกิ (Ashikaga Yoshiaki, 15 ธันวาคม พ.ศ. 2080 – 19 ตุลาคม พ.ศ. 2140) โชกุนลำดับที่ 15 และลำดับสุดท้ายแห่ง รัฐบาลโชกุนอะชิกะงะ ดำรงตำแหน่งระหว่าง..

ใหม่!!: ยุคมุโระมะชิและอะชิกะงะ โยะชิอะกิ · ดูเพิ่มเติม »

อะชิกะงะ โยะชิฮิซะ

อะชิกะงะ โยะชิฮิซะ (Ashikaga Yoshihisa) (11 ธันวาคม ค.ศ. 1465 - 26 เมษายน ค.ศ. 1489, 1473 - 26 เมษายน ค.ศ. 1489) โชกุนลำดับที่ 9 แห่ง รัฐบาลโชกุนอะชิกะงะ ใน ยุคมุโระมะชิ ดำรงตำแหน่งระหว่าง ค.ศ. 1473 - ค.ศ. 1489 เป็นบุตรชายคนเดียวของ อะชิกะงะ โยะชิมะซะ โชกุนลำดับที่ 8 ในปี ค.ศ. 1464 โชกุนโยะชิมะซะได้แต่งตั้ง อะชิกะงะ โยะชิมิ ผู้เป็นน้องชายขึ้นเป็นทายาทแต่ในปีต่อมาคือปี ค.ศ. 1465 โยะชิฮิซะบุตรชายคนเดียวของโยะชิมะซะถือกำเนิดทำให้โยะชิมิไม่พอใจและได้ก่อกบฏที่เรียกว่า สงครามโอนิน อันเป็นจุดกำเนิดของ ยุคเซ็งโงะกุ และในปี ค.ศ. 1469 โชกุนโยะชิมะซะได้แต่งตั้งโยะชิฮิซะในวัยเพียง 4 ปีขึ้นเป็นทายาท.

ใหม่!!: ยุคมุโระมะชิและอะชิกะงะ โยะชิฮิซะ · ดูเพิ่มเติม »

อะชิกะงะ โยะชิตะเนะ

อะชิกะงะ โยะชิตะเนะ (Ashikaga Yoshitane, 9 กันยายน ค.ศ. 1466 - 23 พฤษภาคม ค.ศ. 1523) โชกุนคนที่ 10 แห่ง รัฐบาลโชกุนอะชิกะงะ ดำรงตำแหน่งสมัยที่ 1 ระหว่างปีิ ค.ศ. 1490 - ค.ศ. 1495 และสมัยที่ 2 ระหว่างปี ค.ศ. 1508 - ค.ศ. 1522.

ใหม่!!: ยุคมุโระมะชิและอะชิกะงะ โยะชิตะเนะ · ดูเพิ่มเติม »

อะชิกะงะ โยะชิโมะชิ

อะชิกะงะ โยะชิโมะชิ โชกุนคนที่ 4 แห่ง รัฐบาลโชกุนอะชิกะงะ ดำรงตำแหน่งระหว่าง ค.ศ. 1394 - ค.ศ. 1423.

ใหม่!!: ยุคมุโระมะชิและอะชิกะงะ โยะชิโมะชิ · ดูเพิ่มเติม »

อะชิกะงะ โยะชิโนะริ

อะชิกะงะ โยะชิโนะริ โชกุน ลำดับที่ 6 แห่ง รัฐบาลโชกุนอะชิกะงะ ดำรงตำแหน่งช่วงปี ค.ศ. 1428 ถึง ค.ศ. 1441.

ใหม่!!: ยุคมุโระมะชิและอะชิกะงะ โยะชิโนะริ · ดูเพิ่มเติม »

อาชิกางะ โยชิมิตสึ

อาชิกางะ โยชิมิตสึ เป็นโชกุนคนที่ 3 แห่ง ตระกูลอาชิกางะ โดยในสมัยโชกุนโยชิมิตสึสามารถรวบรวมราชวงศ์เหนือ-ใต้ให้เป็นหนึ่งเดียวได้สำเร็.

ใหม่!!: ยุคมุโระมะชิและอาชิกางะ โยชิมิตสึ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิโกะ-ไดโงะ

ักรพรรดิโกะ-ไดโงะ (Emperor Go-Daigo) จักรพรรดิองค์ที่ 96 แห่ง ราชวงศ์ญี่ปุ่น ตามที่ได้บันทึกไว้ใน รายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น จักรพรรดิโกะ-ไดโงะครองราชย์ระหว่าง พ.ศ. 1861 - พ.ศ. 1882 โดยพระนามของพระองค์นั้นนำมาจากพระนามของ จักรพรรดิไดโงะ ที่ครองราชย์ในช่วง ศตวรรษที่ 9 โดยเมื่อใส่คำว่า โก ที่แปลว่า สอง หรือ ยุคหลัง เข้าไปทำให้พระนามของพระองค์แปลได้ว่า จักรพรรดิไดโงะที่สอง หรือ จักรพรรดิไดโงะยุคหลัง.

ใหม่!!: ยุคมุโระมะชิและจักรพรรดิโกะ-ไดโงะ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิโองิมะชิ

ักรพรรดิโองิมะชิ จักรพรรดิองค์ที่ 106 แห่งราชวงศ์ญี่ปุ่นตามที่ได้จัดเรียงไว้ใน รายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น เมื่อจักรพรรดิโกะ-นะระจักรพรรดิองค์ที่ 105 ผู้เป็นพระราชบิดาเสด็จสวรรคตในวันที่ 5 เดือน 9 ปี โคจิ ที่ 3 ตรงกับวันที่ 27 กันยายน..

ใหม่!!: ยุคมุโระมะชิและจักรพรรดิโองิมะชิ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิโคเมียว

ักรพรรดิโคเมียว (Emperor Kōmyō) จักรพรรดิผู้อ้างสิทธิใน ราชบัลลังก์ดอกเบญจมาศ พระองค์ที่ 2 จาก ราชสำนักเหนือ ตามที่ได้บันทึกไว้ใน รายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น โดยครองสิริราชสมบัติระหว่างปี ค.ศ. 1336 - ค.ศ. 1348.

ใหม่!!: ยุคมุโระมะชิและจักรพรรดิโคเมียว · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิเจี้ยนเหวิน

มเด็จพระจักรพรรดิเจี้ยนเหวิน หรือ เจี้ยนเหวินฮ่องเต้ (เจี้ยนเหวิน) พระนามเดิม จู หยุ่นเหวิน (朱 允炆) คือจักรพรรดิพระองค์ที่ 2 แห่งราชวงศ์หมิงของจีน รวมระยะเวลาที่อยู่ในราชสมบัติ 4 ปีกว.

ใหม่!!: ยุคมุโระมะชิและจักรพรรดิเจี้ยนเหวิน · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดยามางูจิ

ังหวัดยามางูจิ เป็นจังหวัดในประเทศญี่ปุ่นในภูมิภาคชูโกกุบนเกาะฮนชู ยามางูจิเป็นเมืองเอกของจังหวัด แต่เมืองใหญ่ที่สุดคือชิโมโนเซก.

ใหม่!!: ยุคมุโระมะชิและจังหวัดยามางูจิ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดคาโงชิมะ

จังหวัดคาโงชิมะ ตั้งอยู่บนเกาะคีวชูทางภาคตะวันตกเฉียงใต้ของญี่ปุ่น มีคาโงชิมะเป็นเมืองเอก ซึ่งในอดีตนั้นก็เป็นเมืองหลวงของแคว้นซัตสึมะ และเป็นบ้านเกิดของท่านเทนโชอิน ที่นี้นั้นมี มันเทศ หัวไชเท้า ข้าว ถ้วยชามดินเผา เป็นสินค้าขึ้นชื่อ นอกจากนั้นยังมีแหล่งมรดกโลกอีกแห่งหนึ่งที่ตั้งอยู่ในจังหวัดนี้ คือ เกาะยะกุ คาโงชิมะ หมวดหมู่:จังหวัดคาโงชิมะ.

ใหม่!!: ยุคมุโระมะชิและจังหวัดคาโงชิมะ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดนาระ

ังหวัดนาระ เป็นจังหวัดในประเทศญี่ปุ่นตั้งอยู่ในภาคคันไซ มีเมืองหลักจังหวัดในชื่อเดียวกันคือ นาระ ซึ่งในอดีตเป็นเมืองหลวงเก่าของประเทศญี่ปุ่นเมื่อ 1,300 ปีก่อน ในเมืองนาระมีสถานที่สำคัญทางประวัติศาสตร์มากมายอาทิ เช่น พระพุทธรูปไดบุตสึซึ่งเป็นพระพุทธหล่อองค์ใหญ่ที่สุดในโลก ถูกสร้างเมื่อ 1,200 ปีก่อน และยังมีวัดโฮริวจิ สิ่งก่อสร้างซึ่งทำด้วยไม้ที่เก่าแก่ที่สุดในโลก และยังได้รับการบันทึกให้เป็นมรดกโลกเมื่อ..

ใหม่!!: ยุคมุโระมะชิและจังหวัดนาระ · ดูเพิ่มเติม »

จิ้มก้อง

้มก้อง หมายถึง การเจริญทางพระราชไมตรีด้วยการถวายเครื่องราชบรรณาการ จิ้มก้อง เป็นคำจากภาษาจีน จิ้ม แปลว่า ให้, ก้อง แปลว่า ของกำนัล ในการทำการค้ากับจีนในสมัยโบราณ พ่อค้ามักจะนำของกำนัลไปให้เพื่อขอความสะดวกในการทำมาค้าขาย แต่จีนมักถือว่า ผู้ที่มาจิ้มก้อง เป็นผู้ที่มาสวามิภักดิ์ขอเป็นเมืองขึ้น เมื่อมีของกำนัลมาให้ นอกจากจีนจะให้ความสะดวกในการค้าแล้ว พระเจ้ากรุงจีนยังตอบแทนด้วยของกำนัลอย่างมากมายด้วย พ่อค้าไทยจึงนิยมไปจิ้มก้อง ขุนวิจิตรมาตรา ให้ความหมายของจิ้มก้อง หรือ จินก้ง ว่าเป็นคำภาษาจีน บางทีใช้คำว่า ก้อง คำเดียว เป็นความหมายต่างๆ อาทิ ทวงก้อง หมายความว่า ทวงส่วย มาก้อง หมายความว่า มาส่งส่วยฐานเป็นเมืองขึ้น หรือมาขอเป็นเมืองขึ้น เมืองก้อง หมายถึง เมืองขึ้น หรือเมืองส่วย และจิ้มก้อง ก็เรียกว่า ส่งส่วย ภาษาอังกฤษเรียกว่า Tribute.

ใหม่!!: ยุคมุโระมะชิและจิ้มก้อง · ดูเพิ่มเติม »

คันเร

ันเร หรือ คันเรียว คือ ตำแหน่งการเมืองชั้นสูงในญี่ปุ่นสมัยเจ้าขุนมูลนาย มักถือกันว่า เป็นผู้ช่วยของโชกุน และนับแต..

ใหม่!!: ยุคมุโระมะชิและคันเร · ดูเพิ่มเติม »

คามากูระ

"คามากูระ" อาจหมายถึง ยุคคะมะกุระ หรือ รัฐบาลโชกุนคะมะกุระ คามากูระ เป็นเมืองในจังหวัดคะนะงะวะ ประเทศญี่ปุ่น ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ประมาณ 50 กิโลเมตร จากโตเกียว มีขนาดพื้นที่ทั้งสิ้น 39.60 ตารางกิโลเมตร และในปี..

ใหม่!!: ยุคมุโระมะชิและคามากูระ · ดูเพิ่มเติม »

คาโงชิมะ (เมือง)

งชิมะ เป็นเมืองศูนย์กลางและเมืองที่ใหญ่ที่สุดของจังหวัดคาโงชิมะ ประเทศญี่ปุ่น ทางทิศตะวันตกฉียงใต้ของเกาะคิวชู คาโงชิมะมีชื่อเล่นอีกชื่อว่า "เนเปิลส์แห่งตะวันออก" ด้วยลักษณะภูมิศาสตร์ของอ่าวที่มีส่วนคล้ายกัน อากาศที่ร้อน และมีภูเขาไฟซะกุระจิมะตั้งอยู่ใกล้เมือง ในวันที่ 1 มกราคม..

ใหม่!!: ยุคมุโระมะชิและคาโงชิมะ (เมือง) · ดูเพิ่มเติม »

คณะเยสุอิต

ณะเยสุอิต.

ใหม่!!: ยุคมุโระมะชิและคณะเยสุอิต · ดูเพิ่มเติม »

ซะโด

การชงชาแบบญี่ปุ่น ซะโด หรือ ชะโด หรือ ชาโนะยุ หรือพิธีชงชาญี่ปุ่น เป็นเอกลักษณ์ของประเทศญี่ปุ่นว่าด้วยการใช้เวลาอย่างสุนทรีย์ ประกอบด้วยการปรนนิบัติระหว่างการดื่มและการดื่มชาผงสีเขียวหรือมัทชา (matcha) การจัดการพบปะกันในวงสังคมเพื่อดื่มมัทชาได้แพร่หลายในบรรดาชนชั้นสูงนับตั้งแต่ประมาณศตวรรษที่ 14 ต้นฉบับของพิธีชงชา รูปแบบของซะโดซึ่งปฏิบัติกันอยู่ในปัจจุบัน ยุคนาระ โดยมีผู้เชี่ยวชาญด้านชาคือ เซ็น โนะ ริคิว (Sen no Rikyu) ซะโดมีลักษณะที่เป็นแบบแผน ได้พัฒนาภายใต้อิทธิพลของพุทธศาสนานิกายเซ็นซึ่งจุดประสงค์สามารถอธิบายได้ด้วยคำพูดเรียบง่าย คือเพื่อทำวิญญาณให้บริสุทธิ์โดยการเป็นอันหนึ่งอันเดียวกับธรรมชาติหัวใจแท้จริงของพิธีชงชาได้รับการบรรยายโดยคำต่าง ๆ เช่น ความสงบ ความเรียบง่าย ความสง่างาม และ สุนทรียศาสตร์แห่งความเรียบง่ายอันเข้มงวดและความยากจนที่ประณีต ซะโดยังมีบทบาทสำคัญในด้านชีวิตด้านศิลปะของชาวญี่ปุ่น พิธีชงชาจะเกี่ยวข้องกับการชื่นชมห้องที่ประกอบพิธี ส่วนที่ติดอยู่ในห้องนั้น เครื่องใช้ในการชงชา เครื่องประดับบริเวณพิธี เช่น ภาพแขวนหรือการจัดดอกไม้ สถาปัตยกรรมญี่ปุ่น การจัดสวน เครื่องปั้นดินเผาเซรามิก สิ่งต่าง ๆ เหล่านี้ก็ล้วนแต่ได้รับอิทธิพลมาจากพิธีชงชา และความเป็นพิธีการที่ถือปฏิบัติในพิธีชงชาได้มีอิทธิพลต่อการพัฒนามารยาทของชาวญี่ปุ่นในลักษณะที่เป็นพื้นฐาน ภายหลังที่เซ็น โนะ ริคิว ถึงแก่กรรมในปี..

ใหม่!!: ยุคมุโระมะชิและซะโด · ดูเพิ่มเติม »

ปักกิ่ง

ปักกิ่ง หรือ เป่ย์จิง (จีน:, พินอิน: Běijīng) เป็นเมืองหลวงของสาธารณรัฐประชาชนจีน มีชื่อย่อว่า จิง ตั้งอยู่ที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของ ที่ราบหวาเป่ย์ ชื่อเดิมคือ จี่ (冀) สมัยวสันตสารท (春秋)และสมัยรณรัฐ (战国)เป็นเมืองหลวงของแคว้นเยียน สมัยราชวงศ์เหลียว เป็นเมืองหลวงรอง ชื่อ เยียนจิง เป็นเมืองหลวงของจีนตั้งแต่สมัยราชวงศ์จิน หยวน หมิง ชิงจนถึง สาธารณรัฐจีน เคยใช้ชื่อจงตู ต้าตู เป่ย์ผิงและเป่ย์จิง โดยมีชื่อเรียกทั้งหมดกว่า 60 ชื่อ เริ่มตั้งเป็นเมืองตั้งแต่ปี 1928 ปัจจุบัน แบ่งเป็น 16 เขตและ 2 อำเภอ เป็นนครที่ขึ้นตรงต่อส่วนกลาง พื้นที่ทั่วกรุงปักกิ่งมีถึง 16,800 ตารางกิโลเมตร ถึงสิ้นปี..

ใหม่!!: ยุคมุโระมะชิและปักกิ่ง · ดูเพิ่มเติม »

โอดะ โนบูนางะ

อดะ โนบุนางะ เป็นไดเมียว และหนึ่งในสามผู้ยิ่งใหญ่แห่งยุคเซงโงกุ เป็นหนึ่งในสามผู้รวบรวมญี่ปุ่นจากความแตกแยกในยุคเซงโงก.

ใหม่!!: ยุคมุโระมะชิและโอดะ โนบูนางะ · ดูเพิ่มเติม »

โทกูงาวะ อิเอยาซุ

ทกูงาวะ อิเอยาซุ คือผู้สถาปนาบะกุฟุ (รัฐบาลทหาร) ที่เมืองเอะโดะ (โตเกียวในปัจจุบัน) และเป็นโชกุนคนแรกจากตระกูลโทกูงาวะที่ปกครองประเทศญี่ปุ่น ตั้งแต่สิ้นสุด ศึกเซะกิงะฮะระและเริ่มต้นยุคเอะโดะ เมื่อปี..

ใหม่!!: ยุคมุโระมะชิและโทกูงาวะ อิเอยาซุ · ดูเพิ่มเติม »

โทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะชิ

ทโยโตมิ ฮิเดโยชิ (2 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1537 – 18 กันยายน ค.ศ. 1598) เป็นไดเมียวคนสำคัญของญี่ปุ่นในยุคอะซุชิ-โมะโมะยะมะ เนื่องจากได้สร้างวีรกรรมต่อจากโอดะ โนบุนาง.

ใหม่!!: ยุคมุโระมะชิและโทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะชิ · ดูเพิ่มเติม »

เกาะสึชิมะ

ึชิมะ เป็นเกาะหนึ่งของหมู่เกาะญี่ปุ่นที่ตั้งอยู่บริเวณช่องแคบเกาหลี กึ่งกลางระหว่างแผ่นดินญี่ปุ่นกับคาบสมุทรเกาหลี เดิมทีเกาะสึชิมะเป็นเกาะเดี่ยวผืนเดียว แต่ก็ต้องแบ่งออกเป็นสองส่วนจากการขุดคลองโอฟุนะโกะชิเซะโตะในปี..

ใหม่!!: ยุคมุโระมะชิและเกาะสึชิมะ · ดูเพิ่มเติม »

เกาะคีวชู

ีวชู เป็นเกาะที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 3 ของประเทศญี่ปุ่น และตั้งอยู่ในภาคตะวันตกเฉียงใต้ของหมู่เกาะญี่ปุ่น มีเนื้อที่ 35,640 ตารางกิโลเมตร และมีประชากร 14,779,000 คน (ปี 2003) ชื่อคีวชูหมายถึง เก้าแคว้น.

ใหม่!!: ยุคมุโระมะชิและเกาะคีวชู · ดูเพิ่มเติม »

เกียวโต (นคร)

แผนที่ ไดไดริ (แบบจำลอง) ของนครเฮอังเกียว เกียวโต, 1891 นักท่องเที่ยวที่วัดคิโยะมิซุ นครเกียวโต (ออกเสียง: เคียวโตะ) เป็นเมืองหลักของจังหวัดเกียวโต และเป็นอดีตเมืองหลวงของประเทศญี่ปุ่น ซึ่งจัดว่าเป็นศูนย์กลางของเกาะฮนชู นอกจากนี้ นครเกียวโตยังเป็นหนึ่งในสมาชิกของ กลุ่มเมืองใหญ่ "เคฮันชิง" และนครเกียวโต ยังจัดว่าเป็นเมืองที่มีประชากรมากเป็นอันดับ 11 ของโลก ในปี..

ใหม่!!: ยุคมุโระมะชิและเกียวโต (นคร) · ดูเพิ่มเติม »

เคียวโตะ

ียวโตะ หรือ เกียวโต อาจหมายถึง.

ใหม่!!: ยุคมุโระมะชิและเคียวโตะ · ดูเพิ่มเติม »

เซน

ระโพธิธรรม ฝีมือของโยะชิโทะชิ (ค.ศ. 1877) เซน (禅, ぜん; Zen) เป็นนิกายในศาสนาพุทธฝ่ายมหายาน นับถือกันอย่างแพร่หลายในแถบเอเชียตะวันออก (จีน, ญี่ปุ่น, เกาหลี) คำว่า เซน เป็นชื่อภาษาญี่ปุ่นของคำว่า ฉาน (禅, Chán แต้จิ๋วออกเสียงว่า เซี้ยง) ในภาษาจีน ที่มาจากคำว่า ธฺยาน ในภาษาสันสกฤตอีกทอดหนึ่ง (ตรงกับคำว่า ฌาน ในภาษาบาลี) ซึ่งหมายถึง การเพ่งอารมณ์จนใจแน่วแน่เป็นอัปปนาสมาธิ มีจิตที่สงบและประณีต เซน มีต้นกำเนิดจากประเทศอินเดีย พัฒนาที่ประเทศจีน ก่อนที่จะถูกเผยแพร่มาสู่เกาหลีและเข้าสู่ประเทศญี่ปุ่น โดยได้รับอิทธิพลมาจากลัทธิขงจื๊อและลัทธิเต๋า ในช่วงระหว่างที่เผยแผ่มาสู่ญี่ปุ่น การฝึกตนของนิกายเซน เน้นที่การนั่งสมาธิเพื่อการรู้แจ้ง ช่วงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 เซนยังได้เป็นปรัชญาในการดำรงชีวิต และรู้จักกันทั่วโลก โดยแสดงถึงแนวทางการใช้ชีวิต การทำงาน และศิลปะ เซนยึดถือหลักปฏิบัติธรรมตามหลักของพระพุทธเจ้า ตามหลักของการฝึกสติ อริยสัจ 4 และมรรค 8 เซน ได้รับการยอมรับจากบุคคลที่ไม่ใช่พุทธศาสนิกชนโดยเฉพาะอย่างยิ่งบุคคลนอกทวีปเอเชีย ที่สนใจในเซนสามารถศึกษาและปฏิบัติธรรมได้ และได้เกิดนิกายสายย่อยออกมาที่เรียกว่าคริสเตียนเซน วัฒนธรรมของชาวญี่ปุ่นที่ชาวต่างชาติรู้จักกันดี ได้แฝงเอาพุทธปรัชญา แบบเซนไว้อย่างแนบแน่น เช่น พิธีชงชา อิเคบานะ (การจัดดอกไม้แบบญี่ปุ่น) วิถีซามุไร คิวโด(การยิงธนูแบบญี่ปุ่น) แม้แต่แนวทางการเล่นโกะหรือหมากล้อมแบบญี่ปุ่น เป็นต้น.

ใหม่!!: ยุคมุโระมะชิและเซน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

ยุคมุโรมะจิยุคมุโระมะจิยุคมุโระมาจิสมัยมุโรมาจิ

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »