สารบัญ
28 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 1848พ.ศ. 1860พ.ศ. 1862พ.ศ. 1874พ.ศ. 1876พ.ศ. 1877พ.ศ. 1901มินะโมะโตะ โนะ โยะริโตะโมะมิไดโดะโกะโระรัฐบาลโชกุนอาชิกางะรัฐบาลโชกุนคะมะกุระจักรพรรดิโกะ-มุระกะมิจักรพรรดิโกะ-ไดโงะจักรพรรดิโคงงจักรพรรดิโคเมียวจังหวัดโทจิงิคันโตคามากูระคุซุโนะกิ มะซะชิเงะตระกูลโฮโจนิตตะ โยะชิซะดะโชกุนเกาะคีวชูเกียวโต (นคร)เคียวโตะเซ็ปปุกุ18 สิงหาคม6 มิถุนายน
- ขุนนางญี่ปุ่น
- ซามูไร
- ตระกูลมินาโมโตะ
- ตระกูลอาชิกางะ
- บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 1848
- บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 1901
- บุคคลในยุคคามากูระ
- เกียวโต
พ.ศ. 1848
ทธศักราช 1848 ใกล้เคียงกั.
ดู อะชิกะงะ ทะกะอุจิและพ.ศ. 1848
พ.ศ. 1860
ทธศักราช 1860 ใกล้เคียงกั.
ดู อะชิกะงะ ทะกะอุจิและพ.ศ. 1860
พ.ศ. 1862
ทธศักราช 1862 ใกล้เคียงกั.
ดู อะชิกะงะ ทะกะอุจิและพ.ศ. 1862
พ.ศ. 1874
ทธศักราช 1874 ใกล้เคียงกั.
ดู อะชิกะงะ ทะกะอุจิและพ.ศ. 1874
พ.ศ. 1876
ทธศักราช 1876 ใกล้เคียงกั.
ดู อะชิกะงะ ทะกะอุจิและพ.ศ. 1876
พ.ศ. 1877
ทธศักราช 1877 ใกล้เคียงกั.
ดู อะชิกะงะ ทะกะอุจิและพ.ศ. 1877
พ.ศ. 1901
ทธศักราช 1901 ใกล้เคียงกั.
ดู อะชิกะงะ ทะกะอุจิและพ.ศ. 1901
มินะโมะโตะ โนะ โยะริโตะโมะ
มินะโมะโตะ โนะ โยะริโตะโมะ (みなもと の よりとも Minamoto no Yoritomo หรือ 源 頼朝 Minamoto Yoritomo) หรือ โยะริโตะโมะแห่งมินะโมะโตะ เป็นผู้ก่อตั้งรัฐบาลโชกุนคะมะกุระ และดำรงตำแหน่งโชกุนตั้งแต่ปี..
ดู อะชิกะงะ ทะกะอุจิและมินะโมะโตะ โนะ โยะริโตะโมะ
มิไดโดะโกะโระ
มิไดโดะโกะโระ เป็นตำแหน่งภรรยาเอกของ โชกุน โดยเริ่มมีมาตั้งแต่สมัย คะมะกุระ ซึ่งผู้ที่รับตำแหน่งนี้ เป็นคนแรกคือ โฮโจ มะซะโกะ ภรรยาเอกของ มินะโมะโตะ โนะ โยะริโตะโมะ โชกุนคนแรกของญี่ปุ่น ตำแหน่งมิไดนี้มีมาจนถึงสมัย เอโดะ ก่อนจะถูกยกเลิก ไปหลังจากที่ โทะกุงะวะ โยะชิโนะบุ โชกุนคนสุดท้าย ของญี่ปุ่นถวายคืนพระราชอำนาจแก่ จักรพรรดิเมะจิ หมวดหมู่:ศักดินาญี่ปุ่น.
ดู อะชิกะงะ ทะกะอุจิและมิไดโดะโกะโระ
รัฐบาลโชกุนอาชิกางะ
รัฐบาลโชกุนอาชิกางะ หรือที่มักรู้จักในชื่อ รัฐบาลโชกุนมูโรมาจิ เป็นระบอบการปกครองโดยกลุ่มทหารในญี่ปุ่นระหว่างปี..
ดู อะชิกะงะ ทะกะอุจิและรัฐบาลโชกุนอาชิกางะ
รัฐบาลโชกุนคะมะกุระ
รัฐบาลโชกุนคะมะกุระ (鎌倉幕府 Kamakura bakufu) เป็นระบอบการปกครองโดยทหารในญี่ปุ่น อันมีประมุขของรัฐบาลคือโชกุน ตั้งแต..
ดู อะชิกะงะ ทะกะอุจิและรัฐบาลโชกุนคะมะกุระ
จักรพรรดิโกะ-มุระกะมิ
มเด็จพระจักรพรรดิโกะ-มุระกะมิ (ค.ศ. 1328 - 29 มีนาคม ค.ศ. 1368) ทรงเป็นจักรพรรดิแห่งญี่ปุ่นรัชกาลที่ 97 ตามการสืบราชบัลลังก์ตามแบบแผนดั้งเดิม และทรงเป็นสมาชิกในราชสำนักฝ่ายใต้ระหว่างยุคนันโบะกุ-โช ของราชสำนักฝ่ายเหนือ พระองค์ทรงอยู่ในราชสมบัติตั้งแต่วันที่ 18 กันยายน ค.ศ.
ดู อะชิกะงะ ทะกะอุจิและจักรพรรดิโกะ-มุระกะมิ
จักรพรรดิโกะ-ไดโงะ
ักรพรรดิโกะ-ไดโงะ (Emperor Go-Daigo) จักรพรรดิองค์ที่ 96 แห่ง ราชวงศ์ญี่ปุ่น ตามที่ได้บันทึกไว้ใน รายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น จักรพรรดิโกะ-ไดโงะครองราชย์ระหว่าง พ.ศ.
ดู อะชิกะงะ ทะกะอุจิและจักรพรรดิโกะ-ไดโงะ
จักรพรรดิโคงง
ักรพรรดิโคงง (Emperor Kōgon) จักรพรรดิผู้อ้างสิทธิใน ราชบัลลังก์ดอกเบญจมาศ พระองค์ที่ 1 ตามที่ได้บันทึกไว้ใน รายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น ทรงครองสิริราชสมบัติระหว่างปี ค.ศ.
ดู อะชิกะงะ ทะกะอุจิและจักรพรรดิโคงง
จักรพรรดิโคเมียว
ักรพรรดิโคเมียว (Emperor Kōmyō) จักรพรรดิผู้อ้างสิทธิใน ราชบัลลังก์ดอกเบญจมาศ พระองค์ที่ 2 จาก ราชสำนักเหนือ ตามที่ได้บันทึกไว้ใน รายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น โดยครองสิริราชสมบัติระหว่างปี ค.ศ.
ดู อะชิกะงะ ทะกะอุจิและจักรพรรดิโคเมียว
จังหวัดโทจิงิ
จังหวัดโทจิงิ เป็นจังหวัดหนึ่งในภูมิภาคคันโตบนเกาะฮนชู ประเทศญี่ปุ่น มีเมืองหลักคือ อุตสึโนมิยะ ซึ่งมีชื่อเสียงในด้านร้านขายเกี๊ยวซ่าเลิศรส และยังมีศูนย์การค้าที่ใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่งในภูมิภาคคันโตทางตอนเหนือ มีชื่อว่า เบลล์มอลล์ เมืองนิกโกในจังหวัดโทจิงิ เป็นที่ตั้งของศาลเจ้าและวัดที่องค์การยูเนสโกได้ขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลก เมืองนิกโกนี้ใช้เวลาเดินทางโดยรถไฟจากกรุงโตเกียวเพียง 1 ชั่วโมง แหล่งท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงอื่น ๆ ได้แก่ เมืองนะซุ ซึ่งมีชื่อเสียงในด้านรีสอร์ตน้ำพุร้อน รีสอร์ตสกี และแหล่งผลิตเหล้าสาเก เมืองนี้ยังเป็นที่ตั้งของตำหนักที่ประทับประจำราชวงศ์ มีสถานีรถไฟนะซุ-ชิโอะบะระเป็นสถานีใหญ่ที่รองรับขบวนรถด่วนชินคันเซน รีสอร์ตน้ำพุร้อนที่มีชื่อเสียงอีกแห่งหนึ่งอยู่ที่เมืองคินุงะวะ โทจิงิ.
ดู อะชิกะงะ ทะกะอุจิและจังหวัดโทจิงิ
คันโต
ันโต เป็นภูมิภาคของประเทศญี่ปุ่นบนเกาะฮนชู ในภาคคันโตประกอบด้วย 7 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดกุมมะ, คะนะงะวะ, ชิบะ, ไซตะมะ, โตเกียว, โทะชิงิ และ อิบะระกิ คันโตมีขนาดประมาณ 32,423.85 ตารางกิโลเมตร ลักษณะเป็นที่ราบลุ่มประมาณร้อยละ 40 และที่เหลือมีลักษณะเป็นภูเขา ภาคคันโตมีประชากรประมาณ 41,487,171 คน (วันที่ 1 ตุลาคม..
คามากูระ
"คามากูระ" อาจหมายถึง ยุคคะมะกุระ หรือ รัฐบาลโชกุนคะมะกุระ คามากูระ เป็นเมืองในจังหวัดคะนะงะวะ ประเทศญี่ปุ่น ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ประมาณ 50 กิโลเมตร จากโตเกียว มีขนาดพื้นที่ทั้งสิ้น 39.60 ตารางกิโลเมตร และในปี..
ดู อะชิกะงะ ทะกะอุจิและคามากูระ
คุซุโนะกิ มะซะชิเงะ
ซุโนะกิ มะซะชิเงะ (ค.ศ. 1294 ถึง ค.ศ. 1336) เป็นซะมุไรในช่วงต้นยุคมุโระมะชิ เป็นซะมุไรคนสำคัญซึ่งสู้รบอยู่ในฝ่ายของพระจักรพรรดิโกะ-ไดโงะ อนุสาวรีย์ของคุซุโนะกิ มะซะชิเงะ ในสวนของพระราชวังอิมพีเรียลนครโตเกียว ชีวิตในวัยเยาว์ของคุซุโนะกิ มะซะชิเงะ และความเป็นมาของตระกูลคุซุโนะกิ ไม่ได้รับการบันทึกไว้ คุซุโนะกิ มะซะชิเงะ เป็นซะมุไรระดับล่าง อาศัยอยู่ในแคว้นคะวะชิ (จังหวัดโอซะกะในปัจจุบัน) เมื่อพระจักรพรรดิโกะ-ไดโงะ ทรงประกาศเชื้อเชิญให้บรรดาซะมุไรทั้งหลายที่ไม่พอใจการปกครองของรัฐบาลโชกุนคะมะกุระเข้าร่วมกับกองกำลังของพระองค์ในการล้มล้างรัฐบาลโชกุนฯ ในปีค.ศ.
ดู อะชิกะงะ ทะกะอุจิและคุซุโนะกิ มะซะชิเงะ
ตระกูลโฮโจ
ตระกูลโฮโจ (Hōjō Clan) เป็นตระกูล ซะมุไร ที่ทรงอิทธิพลในยุค คะมะกุระ เพราะผู้นำตระกูลคนแรกคือ โฮโจ โทะคิมะซะ เป็นพ่อตาของ มินะโมะโตะ โนะ โยะริโตะโมะ โชกุนคนแรกของ รัฐบาลโชกุนคะมะกุระ และเป็น ชิกเก็ง หรือ ผู้สำเร็จราชการ ในสมัยของ มินะโมะโตะ โนะ โยะริอิเอะ โชกุนคนที่ 2 ผู้เป็นหลานชายคนโต ตระกูลโฮโจเริ่มมีบทบาทสำคัญเมื่อ โฮโจ โทะกิมะซะ ได้ช่วยชีวิต มินะโมะโตะ โนะ โยะริโตะโมะ จากการถูก ไล่ฆ่าพร้อมกับสนับสนุนโยะริโตะโมะให้ลุกขึ้นสู้กับ ตระกูลไทระ และยกลูกสาวให้แต่งงานด้วย หลังจาก สงครามเก็มเป ปรากฏว่าตระกูลมินะโมะ โตะได้ชัยชนะและทรงอำนาจในแผ่นดินเหนือราชสำนัก จึงทำให้ตระกูลโฮโจมีอำนาจและอิทธิพลตามไปด้วย หลังจาก จักรพรรดิโกะ-ชิระกะวะ เสด็จสวรรคตลง ในปี ค.ศ.
ดู อะชิกะงะ ทะกะอุจิและตระกูลโฮโจ
นิตตะ โยะชิซะดะ
นิตตะ โยะชิซะดะ ( ค.ศ. 1300 ถึง ค.ศ. 1338) ซะมุไรซึ่งมีช่วงชีวิตอยู่ในปลายยุคคะมะกุระและต้นยุคมุโระมะชิ เป็นผู้ล้มล้างรัฐบาลโชกุนคะมะกุระ นิตตะ โยะชิซะดะ นิตตะ โยะชิซะดะ เป็นโกะเกะนิง ( ) หรือซะมุไรผู้ปกครองผืนดินอยู่ที่เมืองนิตตะ (ปัจจุบันอยู่ที่เมืองโอตะ จังหวัดกุมมะ) ในแคว้นโคซุเกะ ตระกูลนิตตะสืบเชื้อสายมาจากตระกูลเซวะเง็งจิ ( ) เฉกเช่นเดียวกับตระกูลอะชิกะงะ ในค.ศ.
ดู อะชิกะงะ ทะกะอุจิและนิตตะ โยะชิซะดะ
โชกุน
กุน เป็นผู้ใช้อำนาจเผด็จการทหารแห่งญี่ปุ่นระหว่าง..
เกาะคีวชู
ีวชู เป็นเกาะที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 3 ของประเทศญี่ปุ่น และตั้งอยู่ในภาคตะวันตกเฉียงใต้ของหมู่เกาะญี่ปุ่น มีเนื้อที่ 35,640 ตารางกิโลเมตร และมีประชากร 14,779,000 คน (ปี 2003) ชื่อคีวชูหมายถึง เก้าแคว้น.
ดู อะชิกะงะ ทะกะอุจิและเกาะคีวชู
เกียวโต (นคร)
แผนที่ ไดไดริ (แบบจำลอง) ของนครเฮอังเกียว เกียวโต, 1891 นักท่องเที่ยวที่วัดคิโยะมิซุ นครเกียวโต (ออกเสียง: เคียวโตะ) เป็นเมืองหลักของจังหวัดเกียวโต และเป็นอดีตเมืองหลวงของประเทศญี่ปุ่น ซึ่งจัดว่าเป็นศูนย์กลางของเกาะฮนชู นอกจากนี้ นครเกียวโตยังเป็นหนึ่งในสมาชิกของ กลุ่มเมืองใหญ่ "เคฮันชิง" และนครเกียวโต ยังจัดว่าเป็นเมืองที่มีประชากรมากเป็นอันดับ 11 ของโลก ในปี..
ดู อะชิกะงะ ทะกะอุจิและเกียวโต (นคร)
เคียวโตะ
ียวโตะ หรือ เกียวโต อาจหมายถึง.
ดู อะชิกะงะ ทะกะอุจิและเคียวโตะ
เซ็ปปุกุ
ีกรรมฮาราคีรี เซ็ปปุกุ หรือ ฮาราคีรี เป็นการฆ่าตัวตายโดยการคว้านท้อง ในยุคซามูไร ของประเทศญี่ปุ่น โดยใช้มีดสั้นแทงที่หน้าท้องใต้เอวขวา แล้วกรีดมาทางซ้ายแล้ว ดึงมีดขึ้นข้างบน ซึ่งเป็นการเปิดเยื่อบุช่องท้องแล้วตัดลำไส้ให้ขาด หลังจากนั้นซามูไรอีกคนหนึ่งจะใช้ดาบซามูไรตัดศีรษะจนขาด การตายด้วยวิธีนี้ เชื่อว่าเป็นการตายอย่างมีเกียรติแล้ว ส่วนใหญ่ผู้ทำเซ็ปปุกุทำตามหลักศาสนาชินโตที่จารึกไว้ในคัมภีร์โคะจิคิ เพราะแสดงความกล้าหาญและพิสูจน์ให้เห็นถึงความสามารถในการบังคับจิตใจของตนเอง การคว้านท้องถูกนำมาใช้โดยสมัครใจที่จะตายกับซามูไรที่มีเกียรติแทนที่จะตกอยู่ในมือของศัตรูของพวกเขา (และน่าจะถูกทรมาน) เป็นรูปแบบของโทษประหารชีวิตสำหรับซามูไรที่มีการกระทำผิดร้ายแรงหรือดำเนินการ เหตุผลอื่น ๆ ที่ได้นำความอัปยศแก่พวกเขา การฆ่าตัวตายโดยการจำยอมจึงถือเป็นพิธีซึ่งโดยปกติจะเป็นส่วนหนึ่งของพิธีกรรมซับซ้อนมากขึ้นและการดำเนินการในฐานะที่ต้องการให้ผู้อื่นเข้าใจในการต้องการในการรักษาเกียรติของพวกเขาจึงควรมีผู้คนมาชมขณะทำเซ็ปปุกุด้วย ในญี่ปุ่น คำว่า "ฮาราคีรี" ถือเป็นคำหยาบและไม่เคารพต่อผู้กระทำเซ็ปปุกุ และการเขียนตัวอักษรคันจิของสองคำนี้เขียนเหมือนกันโดยสลับตัวอักษรหน้าหลัง.
ดู อะชิกะงะ ทะกะอุจิและเซ็ปปุกุ
18 สิงหาคม
วันที่ 18 สิงหาคม เป็นวันที่ 230 ของปี (วันที่ 231 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 135 วันในปีนั้น.
ดู อะชิกะงะ ทะกะอุจิและ18 สิงหาคม
6 มิถุนายน
วันที่ 6 มิถุนายน เป็นวันที่ 157 ของปี (วันที่ 158 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 208 วันในปีนั้น.
ดู อะชิกะงะ ทะกะอุจิและ6 มิถุนายน
ดูเพิ่มเติม
ขุนนางญี่ปุ่น
- จักรพรรดิไดโงะ
- ซามูไร
- ทะกะชินะ โนะ ทะกะโกะ
- ทากาโนะ โนะ นีงาซะ
- ท่านหญิงไซโง
- มินะโมะโตะ โนะ สึเนะโมะโตะ
- ราชสำนักเหนือ
- ราชสำนักใต้
- อี ก็อน
- อี อึน
- อี อู
- เจ้าชายโมะชิฮิโตะ
- โอรสสวรรค์
ซามูไร
- คัตสึ ไคชู
- คาโต โยชิอากิ
- ซามูไร
- นะโอะเอะ คะเนะสึงุ
- บูจินกัน
- บูชิโด
- มินะโมะโตะ โนะ สึเนะโมะโตะ
- ยามางาตะ อาริโตโมะ
- สี่สิบเจ็ดโรนิน
- อิโต ฮิโรบูมิ
- ฮัตโตริ ฮันโซ
- เจ้าชายโมะชิฮิโตะ
- โทกูงาวะ โยชิโนบุ
- โทะกุงะวะ มุเนะตะเกะ
- โทโยโตมิ ฮิเดโยชิ
- โรนิง
- ไซโต ฮะจิเมะ
ตระกูลมินาโมโตะ
ตระกูลอาชิกางะ
บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 1848
บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 1901
บุคคลในยุคคามากูระ
- จักรพรรดิจุนโตกุ
- จักรพรรดิชิโจ
- จักรพรรดิชูเกียว
- จักรพรรดิสึจิมิกาโดะ
- จักรพรรดิโกะ-นิโจ
- ชาวไอนุ
- เบ็งเก
- โฮโจ โทกิมาซะ
- โฮโจ โยชิโตกิ