เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

การพบปะระหว่างพระสันตะปาปาเลโอกับอัตติลา

ดัชนี การพบปะระหว่างพระสันตะปาปาเลโอกับอัตติลา

ูบทความหลักที่ ห้องราฟาเอล การพบปะระหว่างพระสันตะปาปาเลโอกับอัตติลา (ภาษาอังกฤษ: The Meeting of Leo the Great and Attila) เป็นจิตรกรรมฝาผนังที่เขียนโดยราฟาเอลผู้เป็นจิตรกรสมัยเรอเนซองส์ คนสำคัญชาวอิตาลีที่เขียนในปี ค.ศ.

สารบัญ

  1. 16 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2057พระราชวังพระสันตะปาปาการขับเฮลิโอโดรัสจากวัดภาษาอังกฤษราฟาเอลสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาสมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 1สมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 10สมเด็จพระสันตะปาปาจูลิอุสที่ 2ห้องราฟาเอลอัตติลาจิตรกรรมฝาผนังจูลีโอ โรมาโนซีโมนเปโตรนครรัฐวาติกันเปาโลอัครทูต

  2. ห้องราฟาเอล

พ.ศ. 2057

ทธศักราช 2057 ใกล้เคียงกั.

ดู การพบปะระหว่างพระสันตะปาปาเลโอกับอัตติลาและพ.ศ. 2057

พระราชวังพระสันตะปาปา

ระราชวังพระสันตะปาปา (ภาษาอังกฤษ: Apostolic Palace หรือ Papal Palace หรือ Palace of the Vatican) เป็นที่ประทับของพระสันตะปาปาที่ตั้งอยู่ภายในนครรัฐวาติกัน ตัววังเป็นกลุ่มสิ่งก่อสร้างที่ประกอบด้วยห้องชุดของพระสันตะปาปา (Papal Apartments), สำนักงานของผู้บริหารนิกายโรมันคาทอลิก, ชาเปล, พิพิธภัณฑ์วาติกัน และหอสมุดวาติกัน ห้องต่างๆ มีด้วยกันทั้งหมดกว่า 1,000 ห้องโดยมีห้องที่สำคัญที่สุดคือห้องราฟาเอล และชาเปลซิสตินซึ่งมีเพดานจิตรกรรมฝาผนังที่มีชื่อที่เขียนโดยไมเคิล แอนเจโล ที่พำนักอื่นขอวพระสันตะปาปาอยู่ที่วังแลเตอรันและที่ปราสาทกานโดลโฟ (Castel Gandolfo) นอกกรุงโรม วังวาติกันมามีความสำคัญกว่าวังแลเตอรันในคริสต์ศตวรรษที่ 15 แต่ก็มาแพ้แก่วังควิรินัล (Quirinal Palace) อยู่ระยะหนึ่ง ก่อนปี..

ดู การพบปะระหว่างพระสันตะปาปาเลโอกับอัตติลาและพระราชวังพระสันตะปาปา

การขับเฮลิโอโดรัสจากวัด

การขับเฮลิโอโดรัสจากวัด (ภาษาอังกฤษ: The Expulsion of Heliodorus from the Temple) เป็นจิตรกรรมฝาผนังที่เขียนโดยราฟาเอลผู้เป็นจิตรกรสมัยเรอเนซองส์คนสำคัญชาวอิตาลี ที่อาจจะเขียนราวระหว่างปี ค.ศ.

ดู การพบปะระหว่างพระสันตะปาปาเลโอกับอัตติลาและการขับเฮลิโอโดรัสจากวัด

ภาษาอังกฤษ

ษาอังกฤษ หรือ ภาษาอังกฤษใหม่ เป็นภาษาในกลุ่มภาษาเจอร์แมนิกตะวันตกที่ใช้ครั้งแรกในอังกฤษสมัยต้นยุคกลาง และปัจจุบันเป็นภาษาที่ใช้กันแพร่หลายที่สุดในโลก ประชากรส่วนใหญ่ในหลายประเทศ รวมทั้ง สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย ไอร์แลนด์ นิวซีแลนด์ และประเทศในแคริบเบียน พูดภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่หนึ่ง ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่ที่มีผู้พูดมากที่สุดเป็นอันดับสามของโลก รองจากภาษาจีนกลางและภาษาสเปน มักมีผู้เรียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สองอย่างกว้างขวาง และภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการของสหภาพยุโรป หลายประเทศเครือจักรภพแห่งชาติ และสหประชาชาติ ตลอดจนองค์การระดับโลกหลายองค์การ ภาษาอังกฤษเจริญขึ้นในราชอาณาจักรแองโกล-แซ็กซอนอังกฤษ และบริเวณสกอตแลนด์ตะวันออกเฉียงใต้ในปัจจุบัน หลังอิทธิพลอย่างกว้างขวางของบริเตนใหญ่และสหราชอาณาจักรตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 จนถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ผ่านจักรวรรดิอังกฤษ และรวมสหรัฐอเมริกาด้วยตั้งแต่กลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ภาษาอังกฤษได้แพร่หลายทั่วโลก กลายเป็นภาษาชั้นนำของวจนิพนธ์ระหว่างประเทศและเป็นภาษากลางในหลายภูมิภาค ในประวัติศาสตร์ ภาษาอังกฤษกำเนิดจากการรวมภาษาถิ่นหลายภาษาที่สัมพันธ์อย่างใกล้ชิด ซึ่งปัจจุบันเรียกรวมว่า ภาษาอังกฤษเก่า ซึ่งผู้ตั้งนิคมนำมายังฝั่งตะวันออกของบริเตนใหญ่เมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 5 คำในภาษาอังกฤษจำนวนมากสร้างขึ้นบนพื้นฐานรากศัพท์ภาษาละติน เพราะภาษาละตินบางรูปแบบเป็นภาษากลางของคริสตจักรและชีวิตปัญญาชนยุโรปDaniel Weissbort (2006).

ดู การพบปะระหว่างพระสันตะปาปาเลโอกับอัตติลาและภาษาอังกฤษ

ราฟาเอล

วาดตัวเองของราฟาเอล ราฟาเอล (Raphael) หรือ รัฟฟาเอลโล ซานซีโอ ดา อูร์บีโน (Raffaello Sanzio da Urbino; พ.ศ. 2026-2063) เป็นจิตรกรชาวอิตาลีที่มีอาวุโสน้อยที่สุดในบรรดาจิตรกรผู้ยิ่งใหญ่ในสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา โดยมีอายุน้อยกว่าเลโอนาร์โด ดา วินชี 31 ปี และอ่อนกว่ามีเกลันเจโล บัวนาร์โรตี 8 ปี เมื่อ..

ดู การพบปะระหว่างพระสันตะปาปาเลโอกับอัตติลาและราฟาเอล

สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา

รูปสลักเดวิด เมืองฟลอเรนซ์ ประเทศอิตาลี หนึ่งในประติมากรรมชิ้นเอกของยุคนี้ สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา (Renaissance; Rinascimento; แปลว่า เกิดใหม่ หรือคืนชีพ) หรือ เรอแนซ็องส์ เป็นช่วงเวลาที่เกิดการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมในทวีปยุโรป ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของวัฒนธรรมยุคใหม่ สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาเป็นการเคลื่อนไหวทางวัฒนธรรมที่กินเวลาตั้งแต่ราวคริสต์ศตวรรษที่ 14 ถึง 17 ประกอบด้วยการเปลี่ยนแปลงทางวรรณกรรม วิทยาศาสตร์ ศิลปะ ศาสนาและการเมือง การฟื้นฟูการศึกษาโดยอาศัยผลงานคลาสสิก การพัฒนาจิตรกรรม และการปฏิรูปการศึกษาอย่างค่อยเป็นค่อยไป ซึ่งการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวได้อาศัยพลังของนักมนุษยนิยมและปัจเจกชนนิยมเป็นเครื่องจูงใจ เป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปว่า สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาเกิดขึ้นในฟลอเรนซ์ แคว้นทัสกานี ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 14.

ดู การพบปะระหว่างพระสันตะปาปาเลโอกับอัตติลาและสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา

สมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 1

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 1 (Leo I) หรือนักบุญลีโอผู้ยิ่งใหญ่ (Saint Leo the Great) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 440 ถึง ค.ศ.

ดู การพบปะระหว่างพระสันตะปาปาเลโอกับอัตติลาและสมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 1

สมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 10

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 10 (อังกฤษ: Leo X) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1513 ถึง ค.ศ. 1521 เป็นลูกของ ลอเรนโซ เดอ เมดิชิ พระองค์เป็นพระสันตะปาปาที่ทำให้คริสต์ศาสนจักรเกิดความเสื่อมเสีย เนื่องจากพระองค์สนใจทางโลกมากกว่าศาสนา จึงได้เข้าไปมีส่วนร่วมการเมือง และใช้ชีวิตอย่างหรูหราจนเกือบไม่มีกษัตริย์องค์ใดสู้ได้ซึ่งนักบวชไม่ควรดำเนินชีวิตอย่างนั้น นอกจากนั้นพระองค์ได้หาเงินด้วยการค้าใบบุญไถ่บาปเป็นเพราะพระองค์มีความประสงค์ที่จะบูรณะโบสถ์ให้ดูสวยงามที่เต็มไปด้วยศิลปกรรมวิจิตรงดงามซึ่งต้องใช้เงินจำนวนมากในการบูรณะ แต่การค้าใบบุญไถ่บาปของพระองค์นั้นกลับทำให้นักบวชมาร์ติน ลูเทอร์ไม่พอใจและได้ตั้ง "ญัตติ 95 ข้อ" (The 95 Theses) ไปปิดไว้ที่ประตู้หน้าโบสถ์เมืองวิตเทนบูร์ก ซึ่งมีเนื้อหาประณามการขายใบยกโทษบาปของสันตะปาปา ทำให้พระองค์ไม่พอใจมากและได้ขับไล่มาร์ติน ลูเทอร์ออกจากศาสนจักร แต่การขับไล่นั้นกลับทำให้นำไปสู่การปฏิรูปการศาสนา เพราะมาร์ติน ลูเทอร์ได้ก่อตั้งนิกายลูเทอแรนซึ่งได้ถือว่าเป็นการก่อตั้งนิกายโปรเตสแตนต์เพื่อต่อต้านศาสจักรโรมันคาทอลิก แต่พระองค์ไม่ได้สนพระทัยในเรื่องนี้นักและไม่คิดจะปฏิรูปการศาสนาใดๆ จนกระทั่งพระองค์ทรงสิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 1 ธันวาคม..1521 หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ.

ดู การพบปะระหว่างพระสันตะปาปาเลโอกับอัตติลาและสมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 10

สมเด็จพระสันตะปาปาจูลิอุสที่ 2

มเด็จพระสันตะปาปาจูลิอุสที่ 2 (ละติน: Julius II) พระสันตะปาปาจูลิอุสที่ 2 มีพระฉายานามว่า “พระสันตะปาปาผู้เหี้ยมโหด” (Il Papa Terribile) พระนามเมื่อเกิดคือจูเลียโน จูลิอาโน เดลลา โรเวเร ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาระหว่างปี ค.ศ.

ดู การพบปะระหว่างพระสันตะปาปาเลโอกับอัตติลาและสมเด็จพระสันตะปาปาจูลิอุสที่ 2

ห้องราฟาเอล

“อาดัมและอีฟ” จิตรกรรมฝาผนังบนเพดานใน “ห้องเซนยาทูรา” แม้ว่างานส่วนใหญ่ในห้องราฟาเอลจะเชื่อกันว่าเป็นงานเขียนของผู้ช่วยของราฟาเอลแต่เชื่อกันว่าภาพนี้เขียนโดยราฟาเอลเอง “เทพีแห่งความยุติธรรม”จิตรกรรมฝาผนังบนเพดานใน “ห้องเซนยาทูรา” ห้องราฟาเอล (ภาษาอังกฤษ: Raphael Rooms หรือ Stanze di Raffaello) เป็นห้องชุดสี่ห้องภายในห้องชุดที่ประทับของพระสันตะปาปาภายในวังพระสันตะปาปาในนครรัฐวาติกัน เป็นห้องชุดที่มีชื่อเสียงจากจิตรกรรมฝาผนังที่เขียนโดยราฟาเอลและผู้ช่วย จิตรกรรมฝาผนังในห้องราฟาเอลและในชาเปลซิสตินโดยไมเคิล แอนเจโลถือกันว่าเป็นงานชิ้นเอกของศิลปะเรอเนซองส์ในกรุงโรม “ห้อง” (Stanze) ที่ใช้เรียกเดิมตั้งใจจะเป็นห้องที่ประทับของสมเด็จพระสันตะปาปาจูเลียสที่ 2 พระองค์ทรงจ้างราฟาเอลผู้ขณะนั้นยังเป็นจิตรกรที่ยังหนุ่มจากเออร์บิโนและผู้ช่วยระหว่างปี ค.ศ.

ดู การพบปะระหว่างพระสันตะปาปาเลโอกับอัตติลาและห้องราฟาเอล

อัตติลา

อัตติลา หรือที่ใช้อ้างอิงส่วนใหญ่ อัตติลาเดอะฮัน (Attila the Hun) (ค.ศ. 406 – ค.ศ. 453) เป็นจักรพรรดิชาวฮันผู้ครองจักรวรรดิฮัน (Hunnic Empire) ซึ่งประกอบไปด้วยกลุ่มชนเผ่าต่างๆทั้ง ฮัน ออสโตรกอท อลานส์ และเผ่าอนารยชนอื่นๆ ในดินแดนยุโรปกลางและยุโรปตะวันออก ระหว่าง ค.ศ.

ดู การพบปะระหว่างพระสันตะปาปาเลโอกับอัตติลาและอัตติลา

จิตรกรรมฝาผนัง

วาติกัน, โรม ประเทศอิตาลี จิตรกรรมฝาผนังโดยดิโอนิเซียส (Dionisius) เล่าเรื่องนักบุญนิโคลัส จิตรกรรมฝาผนัง จากมหากาพย์ “ไตรภูมิดานเต” ของดานเตโดยโดเมนิโค ดิ มิเคลลิโน (Domenico di Michelino) ที่มหาวิหารฟลอเรนซ์ จิตรกรรมฝาผนังจากบาวาเรียประเทศเยอรมนี “ที่ฝังศพของนักดำน้ำ” พบเมื่อปีค.ศ.

ดู การพบปะระหว่างพระสันตะปาปาเลโอกับอัตติลาและจิตรกรรมฝาผนัง

จูลีโอ โรมาโน

ูลีโอ โรมาโน (Giulio Romano) (ราว ค.ศ. 1499 - 1 พฤศจิกายน ค.ศ. 1546) เป็นจิตรกรและสถาปนิกสมัยเรอเนซองส์ชาวอิตาลีผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนจิตรกรรมฝาผนัง จูลีโอ โรมาโนเป็นลูกศิษย์คนสำคัญของราฟาเอล ลักษณะการเขียนแบบเรอเนซองส์สูงของจูลีโอมีส่วนช่วยในการวางพื้นฐานของงานศิลปะยุคต่อมาในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ที่เรียกว่าแมนเนอริสม์ งานเขียนเส้นของจูลีโอเป็นงานที่เป็นที่นิยมของนักสะสม ซึ่งมาร์คานโตนิโอ ราอิมอนดินำไปแกะพิมพ์เป็นการทำให้เป็นการเผยแพร่งานแบบอิตาลีไปทั่วยุโรป.

ดู การพบปะระหว่างพระสันตะปาปาเลโอกับอัตติลาและจูลีโอ โรมาโน

ซีโมนเปโตร

ซีโมนเปโตร (Σιμων Πέτρος ซีมอน เปโตฺรส) หรืออัครทูตเปโตร (Απόστολος Πέτρος อะโปสโตโลส เปโตฺรส) ชาวคาทอลิกเรียกว่านักบุญเปโตร (Saint Peter) เดิมชื่อซีโมน เป็นชาวประมงคนหนึ่งของตำบลเบทไซดา (ลก.

ดู การพบปะระหว่างพระสันตะปาปาเลโอกับอัตติลาและซีโมนเปโตร

นครรัฐวาติกัน

นครรัฐวาติกัน (State of the Vatican City; Stato della Città del Vaticano) เป็นนครรัฐที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลซึ่งน้อยที่สุดในโลกทั้งในแง่พื้นที่และประชากร ตั้งอยู่ในกรุงโรม ประเทศอิตาลี เป็นที่ประทับของพระสันตะปาปา ซึ่งเป็นประมุขสูงสุดแห่งคริสตจักรโรมันคาทอลิก ศูนย์กลางคือมหาวิหารนักบุญเปโตร ซึ่งออกแบบโดยมีเกลันเจโล การปกครองเป็นแบบอำนาจเบ็ดเสร็จ อำนาจตกอยู่ที่พระสันตะปาปาเพียงผู้เดียว จะหมดวาระก็ต่อเมื่อสิ้นพระชนม์ ปัจจุบัน สมเด็จพระสันตะปาปาฟรานซิส เมื่อวันที่ 15 มีนาคม พ.ศ.

ดู การพบปะระหว่างพระสันตะปาปาเลโอกับอัตติลาและนครรัฐวาติกัน

เปาโลอัครทูต

นักบุญเปาโลอัครทูต (St.) หรือนักบุญเปาโลแห่งทาร์ซัส (St.; San Paolo di Tarso) หรือนักบุญเปาโล มาจาก ภาษากรีก “Šaʾul HaTarsi” หมายถึง “เซาโลแห่งทาร์ซัส” มาจาก “Σαουλ” “Saul” หรือ “Σαῦλος” “Saulos” หรือ “Παῦλος” “Paulos” เป็น “อัครทูตถึงชนต่างชาติ” (Apostle to the Gentiles) พร้อมกับนักบุญเปโตรและนักบุญยากอบผู้ชอบธรรม (James the Just), เป็นมิชชันนารีที่สำคัญที่สุดในศาสนาคริสต์ยุคแรก แต่ไม่เคยพบพระเยซูดังเช่นอัครทูตท่านอื่นๆ ไม่มีหลักฐานใดที่กล่าวว่านักบุญเปาโลเคยพบพระองค์ด้วยตนเองก่อนที่จะถูกตรึงกางเขนตามที่กล่าวใน “กิจการของอัครทูต” นักบุญเปาโลมานับถือศาสนาคริสต์ระหว่างที่เดินทางไป ดามัสกัส จากการที่ได้เห็นพระเยซูผู้ฟื้นคืนพระชนม.

ดู การพบปะระหว่างพระสันตะปาปาเลโอกับอัตติลาและเปาโลอัครทูต

ดูเพิ่มเติม

ห้องราฟาเอล