เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

การขับเฮลิโอโดรัสจากวัดและการพบปะระหว่างพระสันตะปาปาเลโอกับอัตติลา

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง การขับเฮลิโอโดรัสจากวัดและการพบปะระหว่างพระสันตะปาปาเลโอกับอัตติลา

การขับเฮลิโอโดรัสจากวัด vs. การพบปะระหว่างพระสันตะปาปาเลโอกับอัตติลา

การขับเฮลิโอโดรัสจากวัด (ภาษาอังกฤษ: The Expulsion of Heliodorus from the Temple) เป็นจิตรกรรมฝาผนังที่เขียนโดยราฟาเอลผู้เป็นจิตรกรสมัยเรอเนซองส์คนสำคัญชาวอิตาลี ที่อาจจะเขียนราวระหว่างปี ค.ศ. 1511 ถึงปี ค.ศ. 1512 ภาพนี้เป็นส่วนหนึ่งของสัญญาการจิตรกรรมฝาผนังตกแต่งภายในวังพระสันตะปาปาในนครรัฐวาติกัน ที่ปัจจุบันเรียกกันว่า “ห้องราฟาเอล” ภาพ “การขับเฮลิโอโดรัสจากวัด” ตั้งอยู่ภายใน“ห้องเฮลิโอโดรัส” (Stanza di Eliodoro) ซึ่งเป็นชื่อที่ภาพได้รับ การขับเฮลิโอโดรัสจากวัดเป็นภาพจาก 2 มัคคาบี (3:21-28) จากพันธสัญญาเดิม เมื่อ พระเจ้าเซลิวคัสที่ 4 ฟิโลพาทอร์แห่งซีเรีย (Seleucus IV Philopator) มีพระราชโองการให้เฮลิโอโดรัส (Heliodorus) ให้ยึดทรัพย์สมบัติของวัดแห่งเยรุซาเล็ม แต่ถูกขับออกจากวัดโดยพระเจ้าที่ทรงส่งนายอาชาและผู้ช่วยสองคนมาขับไล่ออกจากวั. ูบทความหลักที่ ห้องราฟาเอล การพบปะระหว่างพระสันตะปาปาเลโอกับอัตติลา (ภาษาอังกฤษ: The Meeting of Leo the Great and Attila) เป็นจิตรกรรมฝาผนังที่เขียนโดยราฟาเอลผู้เป็นจิตรกรสมัยเรอเนซองส์ คนสำคัญชาวอิตาลีที่เขียนในปี ค.ศ. 1514 เป็นภาพหนึ่งในชุดภาพที่ราฟาเอลได้รับสัญญาให้วาดสำหรับวังพระสันตะปาปาในนครรัฐวาติกัน ซึ่งเป็นงานจิตรกรรมสำหรับตกแต่งห้องชุดที่ปัจจุบันเรียกว่า “ห้องราฟาเอล” ราฟาเอลเขียนภาพนี้โดยมีจุยลิโอ โรมาโนเป็นผู้ช่วย ภาพนี้ตั้งอยู่ภายใน “ห้องเอลิโอโดโร” (Stanza di Eliodoro) ที่ตั้งชื่อตามภาพ “การขับเฮลิโอโดรัสจากวัด” “การพบปะระหว่างพระสันตะปาปาเลโอกับอัตติลา” ตั้งอยู่ภายใน“ห้องคอนแสตนติน” (Sala di Costantino) เป็นภาพที่แสดงการพบปะระหว่างสมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 1 และอัตติลา โดยมีนักบุญปีเตอร์และนักบุญพอลแห่งทาซัสปรากฏอยู่บนท้องฟ้าถือดาบ ในตอนแรกราฟาเอลใช้ใบหน้าของสมเด็จพระสันตะปาปาจูเลียสที่ 2 เป็นแบบสำหรับพระสันตะปาปาเลโอ แต่เมื่อพระสันตะปาปาจูเลียสสิ้นพระชนม์ ราฟาเอลก็เปลี่ยนใบหน้าเป็นพระสันตะปาปาองค์ใหม่--สมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 10.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง การขับเฮลิโอโดรัสจากวัดและการพบปะระหว่างพระสันตะปาปาเลโอกับอัตติลา

การขับเฮลิโอโดรัสจากวัดและการพบปะระหว่างพระสันตะปาปาเลโอกับอัตติลา มี 7 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พระราชวังพระสันตะปาปาภาษาอังกฤษราฟาเอลสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาห้องราฟาเอลจิตรกรรมฝาผนังนครรัฐวาติกัน

พระราชวังพระสันตะปาปา

ระราชวังพระสันตะปาปา (ภาษาอังกฤษ: Apostolic Palace หรือ Papal Palace หรือ Palace of the Vatican) เป็นที่ประทับของพระสันตะปาปาที่ตั้งอยู่ภายในนครรัฐวาติกัน ตัววังเป็นกลุ่มสิ่งก่อสร้างที่ประกอบด้วยห้องชุดของพระสันตะปาปา (Papal Apartments), สำนักงานของผู้บริหารนิกายโรมันคาทอลิก, ชาเปล, พิพิธภัณฑ์วาติกัน และหอสมุดวาติกัน ห้องต่างๆ มีด้วยกันทั้งหมดกว่า 1,000 ห้องโดยมีห้องที่สำคัญที่สุดคือห้องราฟาเอล และชาเปลซิสตินซึ่งมีเพดานจิตรกรรมฝาผนังที่มีชื่อที่เขียนโดยไมเคิล แอนเจโล ที่พำนักอื่นขอวพระสันตะปาปาอยู่ที่วังแลเตอรันและที่ปราสาทกานโดลโฟ (Castel Gandolfo) นอกกรุงโรม วังวาติกันมามีความสำคัญกว่าวังแลเตอรันในคริสต์ศตวรรษที่ 15 แต่ก็มาแพ้แก่วังควิรินัล (Quirinal Palace) อยู่ระยะหนึ่ง ก่อนปี..

การขับเฮลิโอโดรัสจากวัดและพระราชวังพระสันตะปาปา · การพบปะระหว่างพระสันตะปาปาเลโอกับอัตติลาและพระราชวังพระสันตะปาปา · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอังกฤษ

ษาอังกฤษ หรือ ภาษาอังกฤษใหม่ เป็นภาษาในกลุ่มภาษาเจอร์แมนิกตะวันตกที่ใช้ครั้งแรกในอังกฤษสมัยต้นยุคกลาง และปัจจุบันเป็นภาษาที่ใช้กันแพร่หลายที่สุดในโลก ประชากรส่วนใหญ่ในหลายประเทศ รวมทั้ง สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย ไอร์แลนด์ นิวซีแลนด์ และประเทศในแคริบเบียน พูดภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่หนึ่ง ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่ที่มีผู้พูดมากที่สุดเป็นอันดับสามของโลก รองจากภาษาจีนกลางและภาษาสเปน มักมีผู้เรียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สองอย่างกว้างขวาง และภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการของสหภาพยุโรป หลายประเทศเครือจักรภพแห่งชาติ และสหประชาชาติ ตลอดจนองค์การระดับโลกหลายองค์การ ภาษาอังกฤษเจริญขึ้นในราชอาณาจักรแองโกล-แซ็กซอนอังกฤษ และบริเวณสกอตแลนด์ตะวันออกเฉียงใต้ในปัจจุบัน หลังอิทธิพลอย่างกว้างขวางของบริเตนใหญ่และสหราชอาณาจักรตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 จนถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ผ่านจักรวรรดิอังกฤษ และรวมสหรัฐอเมริกาด้วยตั้งแต่กลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ภาษาอังกฤษได้แพร่หลายทั่วโลก กลายเป็นภาษาชั้นนำของวจนิพนธ์ระหว่างประเทศและเป็นภาษากลางในหลายภูมิภาค ในประวัติศาสตร์ ภาษาอังกฤษกำเนิดจากการรวมภาษาถิ่นหลายภาษาที่สัมพันธ์อย่างใกล้ชิด ซึ่งปัจจุบันเรียกรวมว่า ภาษาอังกฤษเก่า ซึ่งผู้ตั้งนิคมนำมายังฝั่งตะวันออกของบริเตนใหญ่เมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 5 คำในภาษาอังกฤษจำนวนมากสร้างขึ้นบนพื้นฐานรากศัพท์ภาษาละติน เพราะภาษาละตินบางรูปแบบเป็นภาษากลางของคริสตจักรและชีวิตปัญญาชนยุโรปDaniel Weissbort (2006).

การขับเฮลิโอโดรัสจากวัดและภาษาอังกฤษ · การพบปะระหว่างพระสันตะปาปาเลโอกับอัตติลาและภาษาอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

ราฟาเอล

วาดตัวเองของราฟาเอล ราฟาเอล (Raphael) หรือ รัฟฟาเอลโล ซานซีโอ ดา อูร์บีโน (Raffaello Sanzio da Urbino; พ.ศ. 2026-2063) เป็นจิตรกรชาวอิตาลีที่มีอาวุโสน้อยที่สุดในบรรดาจิตรกรผู้ยิ่งใหญ่ในสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา โดยมีอายุน้อยกว่าเลโอนาร์โด ดา วินชี 31 ปี และอ่อนกว่ามีเกลันเจโล บัวนาร์โรตี 8 ปี เมื่อ..

การขับเฮลิโอโดรัสจากวัดและราฟาเอล · การพบปะระหว่างพระสันตะปาปาเลโอกับอัตติลาและราฟาเอล · ดูเพิ่มเติม »

สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา

รูปสลักเดวิด เมืองฟลอเรนซ์ ประเทศอิตาลี หนึ่งในประติมากรรมชิ้นเอกของยุคนี้ สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา (Renaissance; Rinascimento; แปลว่า เกิดใหม่ หรือคืนชีพ) หรือ เรอแนซ็องส์ เป็นช่วงเวลาที่เกิดการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมในทวีปยุโรป ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของวัฒนธรรมยุคใหม่ สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาเป็นการเคลื่อนไหวทางวัฒนธรรมที่กินเวลาตั้งแต่ราวคริสต์ศตวรรษที่ 14 ถึง 17 ประกอบด้วยการเปลี่ยนแปลงทางวรรณกรรม วิทยาศาสตร์ ศิลปะ ศาสนาและการเมือง การฟื้นฟูการศึกษาโดยอาศัยผลงานคลาสสิก การพัฒนาจิตรกรรม และการปฏิรูปการศึกษาอย่างค่อยเป็นค่อยไป ซึ่งการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวได้อาศัยพลังของนักมนุษยนิยมและปัจเจกชนนิยมเป็นเครื่องจูงใจ เป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปว่า สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาเกิดขึ้นในฟลอเรนซ์ แคว้นทัสกานี ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 14.

การขับเฮลิโอโดรัสจากวัดและสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา · การพบปะระหว่างพระสันตะปาปาเลโอกับอัตติลาและสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา · ดูเพิ่มเติม »

ห้องราฟาเอล

“อาดัมและอีฟ” จิตรกรรมฝาผนังบนเพดานใน “ห้องเซนยาทูรา” แม้ว่างานส่วนใหญ่ในห้องราฟาเอลจะเชื่อกันว่าเป็นงานเขียนของผู้ช่วยของราฟาเอลแต่เชื่อกันว่าภาพนี้เขียนโดยราฟาเอลเอง “เทพีแห่งความยุติธรรม”จิตรกรรมฝาผนังบนเพดานใน “ห้องเซนยาทูรา” ห้องราฟาเอล (ภาษาอังกฤษ: Raphael Rooms หรือ Stanze di Raffaello) เป็นห้องชุดสี่ห้องภายในห้องชุดที่ประทับของพระสันตะปาปาภายในวังพระสันตะปาปาในนครรัฐวาติกัน เป็นห้องชุดที่มีชื่อเสียงจากจิตรกรรมฝาผนังที่เขียนโดยราฟาเอลและผู้ช่วย จิตรกรรมฝาผนังในห้องราฟาเอลและในชาเปลซิสตินโดยไมเคิล แอนเจโลถือกันว่าเป็นงานชิ้นเอกของศิลปะเรอเนซองส์ในกรุงโรม “ห้อง” (Stanze) ที่ใช้เรียกเดิมตั้งใจจะเป็นห้องที่ประทับของสมเด็จพระสันตะปาปาจูเลียสที่ 2 พระองค์ทรงจ้างราฟาเอลผู้ขณะนั้นยังเป็นจิตรกรที่ยังหนุ่มจากเออร์บิโนและผู้ช่วยระหว่างปี ค.ศ. 1508 - ค.ศ. 1509 ให้ตกแต่งภายในห้องชุดใหม่ทั้งหมด ซึ่งอาจจะทรงประสงค์ที่จะทำให้ดีกว่าพระสันตะปาปาองค์ก่อนสมเด็จพระสันตะปาปาอเล็กซานเดอร์ที่ 6 ผู้ทรงเป็นปรปักษ์ เพราะห้องเหล่านี้อยู่เหนือห้องบอร์เจีย (Borgia Apartment) ของพระสันตะปาปาอเล็กซานเดอร์โดยตรงพอดี ห้องชุดราฟาเอลอยู่บนชั้นสามที่มีทิวทัศน์ทางด้านใต้ของลานเบลเวเดียร์ (Cortile del Belvedere) ที่ตั้งของห้องสี่ห้องตั้งจากตะวันออกไปตะวันตกซึ่งทำให้การชมภาพจะไม่ต่อเนื่องตามหัวเรื่องที่เขียนไว้ ห้องชุดสี่ชุดได้แก่ หลังจากการสิ้นพระชนม์ของพระสันตะปาปาจูเลียสในปี ค.ศ. 1513 หลังจากที่ตกแต่งห้องสองห้องเสร็จแล้ว สมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 10 ก็ทรงดำเนินโครงการต่อ และหลังจากการเสียชีวิตของราฟาเอลในปี ค.ศ. 1520 จานฟรานเชสโค เพ็นนิ, จุยลิโอ โรมาโน และราฟาเอลลิโน เดล โคลเลผู้ช่วยของราฟาเอลก็เขียนภาพในห้อง “ห้องคอนแสตนติน” ต่อจนเสร็.

การขับเฮลิโอโดรัสจากวัดและห้องราฟาเอล · การพบปะระหว่างพระสันตะปาปาเลโอกับอัตติลาและห้องราฟาเอล · ดูเพิ่มเติม »

จิตรกรรมฝาผนัง

วาติกัน, โรม ประเทศอิตาลี จิตรกรรมฝาผนังโดยดิโอนิเซียส (Dionisius) เล่าเรื่องนักบุญนิโคลัส จิตรกรรมฝาผนัง จากมหากาพย์ “ไตรภูมิดานเต” ของดานเตโดยโดเมนิโค ดิ มิเคลลิโน (Domenico di Michelino) ที่มหาวิหารฟลอเรนซ์ จิตรกรรมฝาผนังจากบาวาเรียประเทศเยอรมนี “ที่ฝังศพของนักดำน้ำ” พบเมื่อปีค.ศ. 1968 (470 ปีก่อนคริสต์ศักราช) จิตรกรรมฝาผนังจากอจันตา (Ajanta) คริสต์ศตวรรษที่ 6 จิตรกรรมฝาผนังโคลาของนักรำที่ Brihadisvara Temple ประมาณ ค.ศ. 1100 จิตรกรรมฝาผนัง (ภาษาอังกฤษ: Mural painting) คือภาพเขียนหลายชนิดที่เขียนบนปูนบนผนังหรือเพดาน เทคนิคที่นิยมกัน คือ การวาดภาพบนผนังปูนปลาสเตอร์เปียก (fresco) โดยที่คำว่า “fresco” มาจากภาษาอิตาลี “affresco” ซึ่งมาจากคำว่า “fresco” หรือ “สด” รากศัพท์มาจากภาษาเยอรมัน.

การขับเฮลิโอโดรัสจากวัดและจิตรกรรมฝาผนัง · การพบปะระหว่างพระสันตะปาปาเลโอกับอัตติลาและจิตรกรรมฝาผนัง · ดูเพิ่มเติม »

นครรัฐวาติกัน

นครรัฐวาติกัน (State of the Vatican City; Stato della Città del Vaticano) เป็นนครรัฐที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลซึ่งน้อยที่สุดในโลกทั้งในแง่พื้นที่และประชากร ตั้งอยู่ในกรุงโรม ประเทศอิตาลี เป็นที่ประทับของพระสันตะปาปา ซึ่งเป็นประมุขสูงสุดแห่งคริสตจักรโรมันคาทอลิก ศูนย์กลางคือมหาวิหารนักบุญเปโตร ซึ่งออกแบบโดยมีเกลันเจโล การปกครองเป็นแบบอำนาจเบ็ดเสร็จ อำนาจตกอยู่ที่พระสันตะปาปาเพียงผู้เดียว จะหมดวาระก็ต่อเมื่อสิ้นพระชนม์ ปัจจุบัน สมเด็จพระสันตะปาปาฟรานซิส เมื่อวันที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2556.

การขับเฮลิโอโดรัสจากวัดและนครรัฐวาติกัน · การพบปะระหว่างพระสันตะปาปาเลโอกับอัตติลาและนครรัฐวาติกัน · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง การขับเฮลิโอโดรัสจากวัดและการพบปะระหว่างพระสันตะปาปาเลโอกับอัตติลา

การขับเฮลิโอโดรัสจากวัด มี 11 ความสัมพันธ์ขณะที่ การพบปะระหว่างพระสันตะปาปาเลโอกับอัตติลา มี 16 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 7, ดัชนี Jaccard คือ 25.93% = 7 / (11 + 16)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง การขับเฮลิโอโดรัสจากวัดและการพบปะระหว่างพระสันตะปาปาเลโอกับอัตติลา หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: