โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)

ดัชนี กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)

กระทรวงการต่างประเทศ (Ministry of Foreign Affairs) เป็นหน่วยงานราชการไทยประเภทกระทรวง มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับราชการต่างประเทศและราชการอื่น ตามที่มีกฎหมายกำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของกระทรวงการต่างประเทศ หรือส่วนราชการที่สังกัดกระทรวงการต่างประเท.

41 ความสัมพันธ์: บัวบุษยา มาทแล็งพ.ศ. 2418พ.ศ. 2474พ.ศ. 2476พ.ศ. 2559พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระราชวังสราญรมย์กฎหมายตราสามดวงกรมพิธีการทูตกรมการกงสุลกรมยุโรปกรมสารนิเทศกรมสนธิสัญญาและกฎหมายกรมอาเซียนกรมองค์การระหว่างประเทศกรมอเมริกาและแปซิฟิกใต้กรมเศรษฐกิจระหว่างประเทศกรมเอเชียตะวันออกกรมเอเชียใต้ ตะวันออกกลางและแอฟริกากรมเจ้าท่ากระทรวงกรุงเทพมหานครรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของไทยวัชระวีระศักดิ์ ฟูตระกูลสำนักงานรัฐมนตรีหลวงวิจิตรวาทการ (วิจิตร วิจิตรวาทการ)อาณาจักรรัตนโกสินทร์ (สมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์)อาณาจักรอยุธยาองค์การสนธิสัญญาป้องกันภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ถนนศรีอยุธยาดอน ปรมัตถ์วินัยคณะผู้แทนทางทูตของประเทศไทยคณะผู้แทนทางทูตในประเทศไทยตราแผ่นดินของไทยประเทศไทยเทวดาเขตราชเทวี14 เมษายน9 ธันวาคม

บัว

ืชในภาษาไทยที่มีชื่อสามัญว่า "บัว" พบในสองวงศ์คือ.

ใหม่!!: กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และบัว · ดูเพิ่มเติม »

บุษยา มาทแล็ง

ษยา มาทแล็ง (เกิด 15 ธันวาคม 2502) กรรมการสภาราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ ปลัดกระทรวงการต่างประเทศ กรรมการ ในคณะกรรมการจัดกิจกรรมเฉลิมฉลองครบรอบ 100 ปี การประกาศใช้ธงไตรรงค์เป็นธงชาติไทย ตามคำสั่งนายกรัฐมนตรีที่ 210/2559กรรมการในสำนักงานป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน กรรมการในคณะกรรมการเตรียมการด้านการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์แห่งชาติกรรมการในคณะกรรมการนโยบายป่าไม้แห่งชาติ อดีตเอกอัครราชทูตหลายประเทศและอดีตผู้ช่วยเลขานุการ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเท.

ใหม่!!: กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และบุษยา มาทแล็ง · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2418

ทธศักราช 2418 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1875.

ใหม่!!: กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และพ.ศ. 2418 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2474

ทธศักราช 2474 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1931 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และพ.ศ. 2474 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2476

ทธศักราช 2476 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1933.

ใหม่!!: กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และพ.ศ. 2476 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2559

ทธศักราช 2559 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2016 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ และเป็น.

ใหม่!!: กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และพ.ศ. 2559 · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว  (20 กันยายน พ.ศ. 2396 – 23 ตุลาคม พ.ศ. 2453) เป็นพระมหากษัตริย์สยาม รัชกาลที่ 5 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันอังคาร เดือน 10 แรม 3 ค่ำ ปีฉลู ตรงกับวันที่ 20 กันยายน..

ใหม่!!: กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระราชวังสราญรมย์

ระราชวังสราญรมย์ เป็นวังที่ตั้งอยู่ระหว่างพระบรมมหาราชวัง กับวัดราชประดิษฐสถิตมหาสีมาราม ทางทิศตะวันออกของพระบรมมหาราชวัง สร้างขึ้นในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เคยใช้เป็นที่ทำการของกระทรวงการต่างประเทศ และเป็นบ้านพักรับรองพระราชอาคันตุกะ พระราชวังสราญรมย์ เป็นอาคารก่ออิฐถือปูนสองชั้น ออกแบบโดย เฮนรี อาลาบาศเตอร์ เริ่มก่อสร้างเมื่อ..

ใหม่!!: กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และพระราชวังสราญรมย์ · ดูเพิ่มเติม »

กฎหมายตราสามดวง

กฎหมายตราสามดวง ตราประจำตำแหน่ง 3 ดวงที่ประทับในกฎหมายตราสามดวง กฎหมายตราสามดวง คือ ประมวลกฎหมายในรัชกาลที่ 1 เนื่องจากพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ชำระกฎหมายเก่าที่มีมาแต่ครั้งโบราณ แล้วรวบรวมเป็นประมวลกฎหมายขึ้นเมื่อจุลศักราช 1166 ตรงกับ พ.ศ. 2347 โปรดให้เรียกว่า “กฎหมายตราสามดวง” ให้อาลักษณ์ชุบเส้นหมึกสามชุด แต่ละชุดประทับตรา 3 ดวง คือ ตราพระราชสีห์ (สำหรับตำแหน่งสมุหนายก) 1 ตราพระคชสีห์ (สำหรับตำแหน่งสมุหพระกลาโหม) 1 และตราบัวแก้ว (สำหรับตำแหน่งโกษาธิบดี หมายถึงพระคลัง ซึ่งดูแลรวมทั้งกิจการด้านต่างประเทศ) ไว้ทุกเล่มเก็บไว้ ณ ห้องเครื่องชุดหนึ่ง หอหลวงชุดหนึ่ง และศาลหลวงอีกชุดหนึ่ง กฎหมายตราสามดวงนี้ ได้ใช้อาลักษณ์หลายท่านเขียนขึ้น โดยแยกเป็น “ฉบับหลวง” และ “ฉบับรองทรง” โดยสันนิษฐานว่า สำหรับฉบับหลวง ชุดหนึ่งเป็นสมุดไทย 41 เล่ม เมื่อรวม 3 ชุด จึงมีทั้งสิ้น 123 เล่ม แต่เท่าที่พบ ในปัจจุบันเหลืออยู่เพียง 79 เล่ม โดยเก็บไว้ที่กระทรวงยุติธรรม 37 เล่ม และที่หอสมุดแห่งชาติ 41 เล่ม ส่วนอีก 44 เล่ม ไม่ทราบว่าขาดหายไปด้วยประการใด ส่วน ฉบับรองทรง นั้น ก็คือ กฎหมายตราสามดวงที่อาลักษณ์ชุดเดียวกับที่เขียนฉบับหลวง ได้เขียนขึ้น โดยเขียนในเวลาไล่เลี่ยกัน โดยฉบับหลวง เขียนในปีฉลู..1167 (พ.ศ. 2348) ส่วนฉบับรองทรงเขียนขึ้นในปี..

ใหม่!!: กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และกฎหมายตราสามดวง · ดูเพิ่มเติม »

กรมพิธีการทูต

กรมพิธีการทูต มีภารกิจเกี่ยวกับพิธีการ ระเบียบแบบแผนและประเพณีปฏิบัติทางการทูต การให้การรับรองการเยือนของแขกสำคัญต่างประเทศในทุกระดับและการกำกับ ดูแลเอกสิทธิ์และความคุ้มกันทางการทูตเพื่อเสริมสร้างภาพลัษณ์ที่ดีต่อคนไทย และประเทศไท.

ใหม่!!: กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และกรมพิธีการทูต · ดูเพิ่มเติม »

กรมการกงสุล

กรมการกงสุล มีภารกิจเกี่ยวกับการดำเนินการด้านการกงสุล โดยการเสนอความเห็นเกี่ยวกับนโยบายและแผนงานด้านการกงสุล กำหนดระเบียบด้านการกงสุลประสาน สนับสนุนการทำงานของสถานเอกอัครราบทูต สถานกงสุลใหญ่ และสถานกงสุลกิตติมศักดิ์ของไทยในต่างประเทศ เพื่อปกป้อง คุ้มครอง ดูแลและช่วยเหลือและผลประโยชน์ของคนไทยในต่างประเทศให้ทั่วถึง.

ใหม่!!: กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และกรมการกงสุล · ดูเพิ่มเติม »

กรมยุโรป

กรมยุโรป (Department of European Affairs) กระทรวงการต่างประเทศ มีภารกิจเกี่ยวกับการเสนอแนะนโยบายและดำเนินการเกี่ยวกับความสัมพันธ์ ทวิภาคีและพหุภาคีกับประเทศ กลุ่มประเทศในภูมิภาคยุโรป และ องค์การระหว่างประเทศของภูมิภาคยุโรป โดยการวิเคราะห์และประเมินสถานการณ์ทุกด้านในภูมิภาคยุโรปเพื่อเสริมสร้าง ความร่วมมือทวิภาคีและพหุภาคี และปกป้องรักษาผลประโยชน์แห่งชาต.

ใหม่!!: กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และกรมยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

กรมสารนิเทศ

กรมสารนิเทศ มีภารกิจเกี่ยวกับงานสารนิเทศและการทูตเชิงวัฒนธรรม โดยการประชาสัมพันธ์ สร้างเครือข่ายกับสื่อมวลชนต่างประเทศและระหว่างสื่อมวลชนท้องถิ่นกับสื่อ มวลชนต่างประเทศในไทย และส่งเสริมกิจกรรมทางวัฒนธรรมรวมทั้งแลกเปลี่ยนด้านวัฒนธรรมกับนานาประเทศ เพื่อเผยแพร่ภาพพจน์ที่ดีของประเทศไทยและปกป้องรักษาผลประโยชน์ของชาต.

ใหม่!!: กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และกรมสารนิเทศ · ดูเพิ่มเติม »

กรมสนธิสัญญาและกฎหมาย

กรมสนธิสัญญาและกฎหมาย มีภารกิจเกี่ยวกับปัญหากฎหมายระหว่างประเทศ กฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง สนธิสัญญา และเรื่องเขตแดนของประเทศ รวมทั้งประมวลศึกษา วิจัย ติดตาม วิเคราะห์แนวโน้มและพัฒนาการของกฎหมายระหว่างประเทศในกรอบองค์การสหประชา ชาติ และองค์การระหว่างประเท.

ใหม่!!: กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และกรมสนธิสัญญาและกฎหมาย · ดูเพิ่มเติม »

กรมอาเซียน

กรมอาเซียน (Department of ASEAN Affairs) มีภารกิจเกี่ยวกับการดำเนินงานสมาชิกสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้หรืออาเซียน และการส่งเสริมความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ฐานะสำนักเลขาธิการอาเซียนแห่งชาติ เพื่อดำเนินงานความร่วมมือของอาเซียนให้สำเร็จและบรรลุผลตามมติที่ประชุมสุด และเสริมสร้างความแข็งแกร่งและความสามารถในการแข่งขันของอาเซียนในเวที ระหว่างประเทศ ตลอดจนเพิ่มอำนาจต่อรองของประเทศไทยในกรอบความร่วมมือระหว่างประเท.

ใหม่!!: กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และกรมอาเซียน · ดูเพิ่มเติม »

กรมองค์การระหว่างประเทศ

กรมองค์การระหว่างประเทศ มีภารกิจเกี่ยวกับการดำเนินการให้ความร่วมมือกับ ประชาคมระหว่างประเทศ ในการป้องกันและแก้ไขปัญหาที่จะมีผลกระทบต่อเสถียรภาพความมั่นคงในภูมิภาค และสังคมโลก โดยการมีบทบาทอย่างแข็งขันในเวทีระหว่างประเทศ รักษาพันธกรณีของไทยภายใต้กฎบัตรสหประชาชาติและสนธิสัญญาต่างๆ ที่ไทยเป็นภาคี เพื่อปกป้องผลประโยชน์ของไทยในเวทีระหว่างประเทศ และหาแนวทางในการใช้ประโยชน์จาการเป็นภาคีสนธิสัญญาและอนุสัญญาให้เกิดประโยชน์สูง.

ใหม่!!: กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และกรมองค์การระหว่างประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

กรมอเมริกาและแปซิฟิกใต้

กรมอเมริกาและแปซิฟิกใต้ มีภารกิจเกี่ยวกับการเสนอแนะนโยบายและดำเนินการเกี่ยวกับความสัมพันธ์ ทวิภาคีและพหุภาคีกับประเทศกลุ่มประเทศในภูมิภาคอเมริกาและแปซิฟิกใต้ และองค์การระหว่างประเทศของภูมิภาคอเมริกาและแปซิฟิกใต้ โดยการวิเคราะห์ประเมินสถานการณ์ทุกด้านในภูมิภาคอเมริกาและแปซิฟิกใต้ เพื่อเสริมสร้างความร่วมมือทวิภาคีและ พหุภาคี และปกป้อง รักษาผลประโยชน์แห่งชาต.

ใหม่!!: กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และกรมอเมริกาและแปซิฟิกใต้ · ดูเพิ่มเติม »

กรมเศรษฐกิจระหว่างประเทศ

กรมเศรษฐกิจระหว่างประเทศ มีภารกิจเกี่ยวกับการเสนอแนะแนวทางในการกำหนดและดำเนินนโยบายเศรษฐกิจ ระหว่างประเทศ เพื่อส่งเสริมและรักษาผลประโยชน์ด้านเศรษฐกิจของประเทศเป็นหน่วยประสาน งานกลางของรัฐบาลในการดำเนินความร่วมมือทางเศรษฐกิจกับรัฐบาลต่างประเทศและองค์การระหว่างประเทศ ในกรอบความร่วมมือระดับอนุภูมิภาค ภูมิภาคและพหุภาคี.

ใหม่!!: กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และกรมเศรษฐกิจระหว่างประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

กรมเอเชียตะวันออก

กรมเอเชียตะวันออก มีภารกิจเกี่ยวกับการเสนอแนะนโยบายและยุทธศาสตร์ในการดำเนินความสัมพันธ์ ทวิภาคีและพหุภาคีกับประเทศ กลุ่มประเทศและดินแดนอื่นในภูมิภาคเอเชียตะวันออก และองค์การระหว่างประเทศของภูมิภาคเอเชียตะวันออก ยกเว้นสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยการวิเคราะห์และประเมินสถานการณ์ทุกด้านในภูมิภาคเอเชียตะวันออก เพื่อเสริมสร้างความร่วมมือทวิภาคีและพหุภาคี และปกป้อง รักษาผลประโยชน์แห่งชาต.

ใหม่!!: กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และกรมเอเชียตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

กรมเอเชียใต้ ตะวันออกกลางและแอฟริกา

กรมเอเชียใต้ ตะวันออกกลางและแอฟริกา มีภารกิจเกี่ยวกับการเสนอแนะนโยบายและดำเนินความสัมพันธ์ทวิภาคีและพหุภาคี กับประเทศ กลุ่มประเทศขบวนการทางการเมืองในภูมิภาคเอเชียใต้ ตะวันออกกลางและแอฟริกา และองค์การระหว่างประเทศของภูมิภาคเอเชียใต้ ตะวันออกลางและแอฟริกา โดยการวิเคราะห์และประเมินสถานการณ์ทุกด้าน ในภูมิภาคเอเชียใต้ ตะวันออกกลางและแอฟริกา เพื่อเสริมสร้างความร่วมมือทวิภาคีและพหุภาคี และปกป้อง รักษาผลประโยชน์แห่งชาต.

ใหม่!!: กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และกรมเอเชียใต้ ตะวันออกกลางและแอฟริกา · ดูเพิ่มเติม »

กรมเจ้าท่า

กรมเจ้าท่า (Marine Department; เคยใช้ชื่อ: กรมการขนส่งทางน้ำและพาณิชยนาวี) มีหน้าที่ดูแลพื้นน้ำและการเดินทางทางน้ำ มีสำนักงานตั้งอยู่ที่ 1278 ถนนโยธา แขวงตลาดน้อย เขตสัมพันธวงศ์ กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และกรมเจ้าท่า · ดูเพิ่มเติม »

กระทรวง

กระทรวง คือหน่วยงานของรัฐบาล ทำหน้าที่ในการจัดการและบริหารประเทศ ส่วนราชการหนึ่งในราชการบริหารส่วนกลางในภาครัฐ ซึ่งมีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเป็นหัวหน้.

ใหม่!!: กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และกระทรวง · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.

ใหม่!!: กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของไทย

รายนามเสนาบดีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของไท.

ใหม่!!: กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของไทย · ดูเพิ่มเติม »

วัชระ

วัชระ เป็นอาวุธประจำกายของพระอินทร์ วัชระ แปลว่า สายฟ้า และมีอีกความหมายหนึ่งแปลว่า เพชร ด้วยเหตุนี้พระอินทร์จึงเป็นเทพแห่งสายฟ้า ลักษณะของวัชระเป็นอาวุธทีมีหลายแหลมสองด้าน แต่ละด้านมีเงี่ยงยาวแหลมงองุ้ม 4 แฉก ตรงส่วนกลางใช้สำหรับจับ ในลัทธิวัชรยาน วัชระถูกใช้ประดับติดกับตัวระฆัง เพราะประกอบในงานพิธี หมวดหมู่:อาวุธของประเทศอินเดีย.

ใหม่!!: กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และวัชระ · ดูเพิ่มเติม »

วีระศักดิ์ ฟูตระกูล

นายวีระศักดิ์ ฟูตระกูล เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศและอดีตกรรมการผู้ช่วยรัฐมนตรี กระทรวงต่างประเทศ ในรัฐบาลพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา เป็นนักการทูตชาวไทย อดีตผู้ปฏิบัติงานในกองอำนวยการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉิน (กอฉ.)ตามคำสั่งสำนักนายกรัฐมนตรีที่ 98/2552 ในเหตุการณ์ ความไม่สงบทางการเมืองในประเทศไทย เมษายน พ.ศ. 2552 อดีตปลัดกระทรวงการต่างประเทศ อดีตเอกอัครราชทูตประจำสหรัฐอเมริกา ฝรั่งเศส แคนนาดา และในอีกหลายประเท.

ใหม่!!: กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และวีระศักดิ์ ฟูตระกูล · ดูเพิ่มเติม »

สำนักงานรัฐมนตรี

ำนักงานรัฐมนตรี เป็นส่วนราชการที่มิได้มีฐานะเป็นกรม เพราะไม่มีกฎหมายบัญญัติให้เป็นกรม อยู่ในสังกัดกระทรวงต่างๆ ของประเทศไทย เดิมมีชื่อว่า "สำนักงานเลขานุการรัฐมนตรี" ในอดีตเป็นหน่วยงานที่ทำหน้าที่ทั่วไปซึ่งมิใช่งานของกรมใดกรมหนึ่งในกระทรวง หรือเปรียบเสมือนกับสำนักงานรัฐมนตรี ต่อมาในปี พ.ศ. 2545 ได้มีการปรับปรุงโครงสร้าง กระทรวง ทบวง กรม และมีการจัดตั้งให้สำนักงานเลขานุการรัฐมนตรี ใช้ชื่อว่า "สำนักงานรัฐมนตรี".

ใหม่!!: กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และสำนักงานรัฐมนตรี · ดูเพิ่มเติม »

หลวงวิจิตรวาทการ (วิจิตร วิจิตรวาทการ)

ลตรี หลวงวิจิตรวาทการ (วิจิตร วิจิตรวาทการ, ชื่อเดิม กิมเหลียง วัฒนปฤดา 金良 แต่มิได้มีเชื้อจีนแต่ประการใด) เป็นราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ นักคิด นักพูด นักเขียนคนสำคัญของไทย บุตรนายอิน และนางคล้าย เกิดเมื่อวันที่ 11 สิงหาคม พ.ศ. 2441 ที่จังหวัดอุทัยธานี บิดามารดามีอาชีพค้าขาย อายุ 8 ขวบเข้าเรียนที่โรงเรียนวัดขวิด ตำบลสะแกกรัง เมื่อจบประถมศึกษา บิดาได้นำไปฝากให้บวชสามเณรอยู่กับพระมหาชุ้ย วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร เมื่อท่านอายุ 13 ปี ในปี พ.ศ. 2453 ท่านได้ศึกษานักธรรมและบาลีจนจบนักธรรมเอกและเปรียญ 5 ประโยค โดยสอบได้เปรียญ 5 ประโยคเมื่ออายุ 19 ปีใน..

ใหม่!!: กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และหลวงวิจิตรวาทการ (วิจิตร วิจิตรวาทการ) · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรรัตนโกสินทร์ (สมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์)

ราชอาณาจักรรัตนโกสินทร์ เป็นราชอาณาจักรที่สี่ในยุคประวัติศาสตร์ของไทย เริ่มตั้งแต่การย้ายเมืองหลวงจากฝั่งกรุงธนบุรี มายังกรุงเทพมหานคร ซึ่งตั้งอยู่ทางตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จขึ้นครองราชสมบัติ เมื่อวันที่ 6 เมษายน..

ใหม่!!: กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และอาณาจักรรัตนโกสินทร์ (สมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์) · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรอยุธยา

ำหรับความหมายอื่น ดูที่ อยุธยา ระวังสับสนกับ อโยธยา อาณาจักรอยุธยา เป็นอาณาจักรของชนชาติไทยในลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาในช่วง พ.ศ. 1893 ถึง พ.ศ. 2310 มีกรุงศรีอยุธยาเป็นศูนย์กลางอำนาจหรือราชธานี ทั้งยังมีความสัมพันธ์ทางการค้ากับหลายชาติ จนถือได้ว่าเป็นศูนย์กลางการค้าในระดับนานาชาติ เช่น จีน เวียดนาม อินเดีย ญี่ปุ่น เปอร์เซีย รวมทั้งชาติตะวันตก เช่น โปรตุเกส สเปน เนเธอร์แลนด์ (ฮอลันดา) อังกฤษ และฝรั่งเศส ซึ่งในช่วงเวลาหนึ่งเคยสามารถขยายอาณาเขตประเทศราชถึงรัฐฉานของพม่า อาณาจักรล้านนา มณฑลยูนนาน อาณาจักรล้านช้าง อาณาจักรขอม และคาบสมุทรมลายูในปัจจุบัน.

ใหม่!!: กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และอาณาจักรอยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

องค์การสนธิสัญญาป้องกันภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

องค์การสนธิสัญญาป้องกันภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (สปอ. หรือ ซีโต้) (Southeast Asia Treaty Organization - SEATO) เป็นองค์การที่ก่อตั้งขึ้นตาม สนธิสัญญามะนิลา ลงนามเมื่อวันที่ 8 กันยายน พ.ศ. 2497 ณ กรุงมะนิลา ประเทศฟิลิปปินส์ และมีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2498 ในช่วงสงครามเย็น โดย 8 ประเทศ คือ.

ใหม่!!: กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และองค์การสนธิสัญญาป้องกันภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ · ดูเพิ่มเติม »

ถนนศรีอยุธยา

นนศรีอยุธยาบริเวณหน้าโรงพยาบาลพญาไท 1 สนามเสือป่า โรงเรียนมัธยมวัดเบญจมบพิตร ถนนศรีอยุธยา (Thanon Si Ayutthaya) เป็นถนนสายหนึ่งในกรุงเทพมหานคร มีระยะทางเริ่มตั้งแต่ถนนราชปรารภ เขตราชเทวี ไปทางทิศตะวันตก ตัดกับถนนพญาไท (สี่แยกพญาไท) ถนนพระรามที่ 6 (สี่แยกศรีอยุธยา) ถนนกำแพงเพชร 5 และทางรถไฟสายเหนือ เข้าสู่ท้องที่เขตดุสิต จากนั้นตัดกับถนนสวรรคโลก (สี่แยกเสาวนี) ถนนพระรามที่ 5 (สี่แยกวัดเบญจฯ) ถนนราชดำเนินนอก (สี่แยกหน้าลานพระบรมรูปทรงม้า) ถนนนครราชสีมา (สี่แยกหอประชุมทหารบก) และถนนสามเสน (สี่แยกสี่เสาเทเวศร์) ไปสิ้นสุดที่ริมแม่น้ำเจ้าพร.

ใหม่!!: กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และถนนศรีอยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

ดอน ปรมัตถ์วินัย

นายดอน ปรมัตถ์วินัย (Don Pramudwinai; เกิด: 25 มกราคม พ.ศ. 2493) เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ และเป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ในรัฐบาลพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา เป็นนักการทูตชาวไทย อดีตอธิบดีกรมสารนิเทศและโฆษกกระทรวงการต่างประเทศ อดีตเอกอัครราชทูตประจำสหรัฐอเมริกา สาธารณรัฐประชาชนจีน สหภาพยุโรป และในอีกหลายประเท.

ใหม่!!: กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และดอน ปรมัตถ์วินัย · ดูเพิ่มเติม »

คณะผู้แทนทางทูตของประเทศไทย

ประเทศที่มีคณะผู้แทนทางทูตไทย สถานทูตและสถานกงสุลไทยในต่างแดน.

ใหม่!!: กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และคณะผู้แทนทางทูตของประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

คณะผู้แทนทางทูตในประเทศไทย

ประเทศที่มีคณะผู้แทนทางทูตในประเทศไทย ปัจจุบัน มีสถานเอกอัครราชทูตต่างประเทศ 75 แห่งในกรุงเทพมหานคร และหลายประเทศยังได้ตั้งสถานกงสุลตามจังหวัดต่าง ๆ นอกจากนั้นยังมีสำนักงานตัวแทนขององค์การต่างประเทศต่าง ๆ ในประเทศไทย 32 องค์การ ดังนี้.

ใหม่!!: กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และคณะผู้แทนทางทูตในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินของไทย

ตราแผ่นดินของไทย คือตราพระราชลัญจกรพระครุฑพ่าห์ เทพพาหนะของพระนารายณ์ ใช้เป็นสัญลักษณ์ของพระราชอำนาจแห่งพระมหากษัตริย์ผู้เป็นประมุขของชาติและเป็นองค์อวตารของพระนารายณ์ตามแนวคิดสมมุติเทพ โดยเริ่มใช้มาตั้งแต่รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ตั้งแต่หลัง พ.ศ. 2436 เป็นต้นมา แต่มาใช้อย่างเต็มที่แทนตราแผ่นดินเดิมทั้งหมดเมื่อ พ.ศ. 2453 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าให้ใช้ตราอาร์มเป็นตราแผ่นดินใน พ.ศ. 2416 ต่อมาพระองค์มีพระราชดำริว่า ตราอาร์มที่ใช้เป็นตราแผ่นดินในเวลานั้นเป็นอย่างฝรั่งเกินไป และทรงระลึกได้ว่า พระเจ้าแผ่นดินสมัยกรุงศรีอยุธยาเคยใช้ตราพระครุฑพ่าห์มาก่อน (ตราที่กล่าวถึงคือตราพระราชลัญจกรพระครุฑพ่าห์องค์เดิม) จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ทรงเขียนพระราชลัญจกรพระครุฑพ่าห์ขึ้นเป็นตราแผ่นดินเพื่อใช้แทนตราอาร์ม โดยครั้งแรกทรงเขียนเป็นรูปตราพระนารายณ์ทรงครุฑจับนาค ตรานี้ได้ใช้อยู่ระยะหนึ่งก็โปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ทรงเขียนตราครุฑขึ้นใหม่อีกครั้งเป็นตราวงกลม โดยยกรูปพระนารายณ์และนาคออกเสีย คงเหลือแต่รูปครุฑ ซึ่งเขียนเป็นรูปครุฑรำตามแบบครุฑขอม พื้นเป็นลายเปลวไฟ เมื่อนำขึ้นทูลเกล้าฯ ถวายก็ชอบพระราชหฤทัย และมีพระราชประสงค์ที่จะให้ใช้ตรานี้เป็นตราแผ่นดินถาวรสืบไป จะได้ไม่ต้องสร้างขึ้นใหม่เมื่อเปลี่ยนรัชกาล ไฟล์:Emblem_of_Thailand_(ancient).png|พระราชลัญจกรพระครุฑพ่าห์องค์เดิม ไฟล์:Emblem_of_Thailand_(1893).png|พระราชลัญจกรพระครุฑพ่าห์องค์กลาง ฝีพระหัตถ์สมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ ไฟล์:Garuda Seal of Thailand.svg|พระราชลัญจกรพระครุฑพ่าห์ ฝีพระหัตถ์สมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ ใช้ในสมัยรัชกาลที่ 5 ไฟล์:Seal garuda thailand rama9.jpg|พระราชลัญจกรพระครุฑพ่าห์ รัชกาลที่ 9 จำลองจากพระราชลัญจกรพระครุฑพ่าห์ รัชกาลที่ 5 ไฟล์:Royal Garuda Seal for HM King Vajiralongkorn.jpg|พระราชลัญจกรพระครุฑพ่าห์ รัชกาลที่ 10 อย่างไรก็ตาม เมื่อถึงรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พระเทวาภินิมมิต (ฉาย เทียมศิลปชัย) เป็นผู้เขียนตราครุฑถวายใหม่ โดยยังคงใช้ตราครุฑเดิมแบบสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เพียงแต่เพิ่มพระปรมาภิไธยตามขอบพระราชลัญจกร และเปลี่ยนพระปรมาภิไธยที่ขอบพระราชลัญจกรให้ตรงตามรัชกาล และให้ยึดถือเป็นแบบอย่างต่อมาจนถึงปัจจุบัน โดยพระราชลัญจกรพระครุฑพ่าห์ประจำรัชกาลจะสร้างขึ้นใหม่เมื่อพระมหากษัตริย์ได้รับการบรมราชาภิเษกแล้วเท่านั้น ในสมัยพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล จึงไม่มีการสร้างพระราชลัญจกรพระครุฑพ่าห์ประจำรัชกาลขึ้น เนื่องจากพระองค์มิได้กระทำพระราชพิธีบรมราชาภิเษก คงมีแต่พระราชลัญจกรประจำรัชกาลเท่านั้น และเชิญพระราชลัญจกรพระครุฑพ่าห์สมัยรัชกาลที่ 5 ออกประทับแทน แต่ในรัชสมัยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ปรากฏว่าได้มีการสร้างพระราชลัญจกรพระครุฑพ่าห์ตั้งแต่ยังไม่ได้รับการบรมราชาภิเษก โดยมีพระปรมาภิไธยที่ขอบพระราชลัญจกรตามพระปรมาภิไธยของพระองค์ นับเป็นครั้งแรกที่มีการสร้างพระราชลัญจกรพระครุฑพ่าห์ก่อนการบรมราชาภิเษก.

ใหม่!!: กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และตราแผ่นดินของไทย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ใหม่!!: กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

เทวดา

ระอินทร์ทรงช้างเอราวัณ เทวดา (devatā) หรือ เทพ (deva เทว) ตามคติความเชื่อทางศาสนาต่าง ๆ หมายถึง ชาวสวรรค์ที่เป็นโอปปาติกะ มีกายทิพย์ ตาทิพย์ หูทิพย์ และกินอาหารทิพย์ และเสวยสุขในสรวงสวรรค์ชั้นต่าง ๆ ซึ่งถือว่าเป็นภพภูมิที่ดี เทวดาผู้หญิงเรียกว่า เทวี หรือ "เทพี" หรือ นางฟ้า เทวดาผู้มีมิจฉาทิฐิ เรียกว่า มาร คำว่า เทพเจ้า หมายถึง เทวดาผู้เป็นใหญ่ ตามความเชื่อแบบพหุเทวนิยม ซึ่งเชื่อว่ามีอำนาจควบคุมธรรมชาติบางอย่าง เช่น สุริยเทพ เทพเจ้าแห่งสายฟ้.

ใหม่!!: กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และเทวดา · ดูเพิ่มเติม »

เขตราชเทวี

ตราชเทวี เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพกลาง สภาพโดยทั่วไปเป็นแหล่งการค้า การบริการ และแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก.

ใหม่!!: กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และเขตราชเทวี · ดูเพิ่มเติม »

14 เมษายน

วันที่ 14 เมษายน เป็นวันที่ 104 ของปี (วันที่ 105 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 261 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และ14 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

9 ธันวาคม

วันที่ 9 ธันวาคม เป็นวันที่ 343 ของปี (วันที่ 344 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 22 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และ9 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

กระทรวงการต่างประเทศกระทรวงการต่างประเทศของไทยกระทรวงต่างประเทศ

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »