โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทย

ดัชนี รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทย

รายพระนาม รายนาม ผู้บัญชาการทหารบก แห่งกองทัพบกไท.

136 ความสัมพันธ์: ชวลิต ยงใจยุทธชัยสิทธิ์ ชินวัตรบุญชัย บำรุงพงศ์พ.ศ. 2430พ.ศ. 2433พ.ศ. 2435พ.ศ. 2439พ.ศ. 2442พ.ศ. 2444พ.ศ. 2453พ.ศ. 2456พ.ศ. 2457พ.ศ. 2464พ.ศ. 2465พ.ศ. 2469พ.ศ. 2471พ.ศ. 2474พ.ศ. 2475พ.ศ. 2476พ.ศ. 2481พ.ศ. 2487พ.ศ. 2489พ.ศ. 2490พ.ศ. 2491พ.ศ. 2497พ.ศ. 2506พ.ศ. 2507พ.ศ. 2516พ.ศ. 2518พ.ศ. 2519พ.ศ. 2521พ.ศ. 2524พ.ศ. 2525พ.ศ. 2529พ.ศ. 2533พ.ศ. 2535พ.ศ. 2538พ.ศ. 2539พ.ศ. 2541พ.ศ. 2545พ.ศ. 2546พ.ศ. 2547พ.ศ. 2548พ.ศ. 2550พ.ศ. 2553พ.ศ. 2557พ.ศ. 2558พ.ศ. 2559พระมหากษัตริย์ไทยพระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน)...พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดชพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวุฒิไชยเฉลิมลาภ กรมหลวงสิงหวิกรมเกรียงไกรพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรประวัติวรเดช กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดชกฤษณ์ สีวะรากองทัพบกไทยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยรายชื่อผู้บัญชาการทหารสูงสุดของไทยรายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทยรายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยรายนามผู้บัญชาการทหารอากาศไทยรายนามผู้บัญชาการทหารเรือไทยรายนามแม่ทัพภาคที่ 1รายนามแม่ทัพภาคที่ 2รายนามแม่ทัพภาคที่ 3รายนามแม่ทัพภาคที่ 4วิมล วงศ์วานิชสมทัต อัตตะนันทน์สมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดชสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิตสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์สฤษดิ์ ธนะรัชต์สุรยุทธ์ จุลานนท์สุจินดา คราประยูรสนธิ บุญยรัตกลินหลวงเกรียงศักดิ์พิชิต (พิชิต เกรียงศักดิ์พิชิต)อาทิตย์ กำลังเอกอิสระพงศ์ หนุนภักดีอุดมเดช สีตบุตรอดุล อดุลเดชจรัสอนุพงษ์ เผ่าจินดาผิน ชุณหะวัณธีรชัย นาควานิชถนอม กิตติขจรประภาส จารุเสถียรประมณฑ์ ผลาสินธุ์ประยุทธ จารุมณีประยุทธ์ จันทร์โอชาประวิตร วงษ์สุวรรณแปลก พิบูลสงครามเชษฐา ฐานะจาโรเมษายนเสริม ณ นครเจ้าพระยาบดินทรเดชานุชิต (หม่อมราชวงศ์อรุณ ฉัตรกุล)เจ้าพระยาบดินทรเดชานุชิต (แย้ม ณ นคร)เจ้าพระยาสุรศักดิ์มนตรี (เจิม แสง-ชูโต)เฉลิมชัย สิทธิสาทเปรม ติณสูลานนท์1 สิงหาคม1 ตุลาคม1 เมษายน11 ธันวาคม15 พฤษภาคม15 เมษายน16 มิถุนายน16 มีนาคม18 มิถุนายน23 มิถุนายน24 มิถุนายน24 สิงหาคม25 พฤศจิกายน25 สิงหาคม25 ตุลาคม26 มิถุนายน26 สิงหาคม27 พฤษภาคม27 มีนาคม28 พฤษภาคม28 มิถุนายน28 มีนาคม29 มีนาคม3 สิงหาคม30 กันยายน31 กรกฎาคม31 มีนาคม4 กุมภาพันธ์4 มกราคม5 สิงหาคม6 สิงหาคม6 เมษายน7 เมษายน8 พฤศจิกายน8 สิงหาคม8 ธันวาคม8 เมษายน9 พฤศจิกายน ขยายดัชนี (86 มากกว่า) »

ชวลิต ยงใจยุทธ

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก ชวลิต ยงใจยุทธ (15 พฤษภาคม พ.ศ. 2475 —) เป็นนายกรัฐมนตรีของประเทศไทย คนที่ 22 อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม อดีตผู้บัญชาการทหารบกและอดีดรักษาการผู้บัญชาการทหารสูงสุด เป็นเจ้าของสมญา "ขงเบ้งแห่งกองทัพบก" เคยได้รับการแต่งตั้งให้เป็น สมาชิกวุฒิสภา ขณะดำรงตำแหน่งทางทหาร เป็นผู้ก่อตั้ง และหัวหน้า พรรคความหวังใหม่ คนแรก และเป็นอดีต..หลายสมัย มีคะแนนเสียงหนาแน่นในจังหวัดนครพนม สื่อมวลชนและประชาชนทั่วไป เรียก พล.อ.ชวลิต ว่า "บิ๊กจิ๋ว" และในพื้นที่ภาคอีสาน เรียก พล.อ.ชวลิต ว่า "พ่อใหญ่จิ๋ว" นอกจากนี้แล้วยังมีอีกฉายาหนึ่งว่า "จิ๋วหวานเจี๊ยบ" จากการมีบุคลิกพูดจาอ่อนนิ่ม นุ่มนวล.

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและชวลิต ยงใจยุทธ · ดูเพิ่มเติม »

ชัยสิทธิ์ ชินวัตร

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก ชัยสิทธิ์ ชินวัตร (25 มิถุนายน พ.ศ. 2488 —) เป็นอดีตผู้บัญชาการทหารสูงสุด, อดีตผู้บัญชาการทหารบก และอดีตนายกสมาคมฟันดาบแห่งประเทศไทย ปัจจุบันเป็นประธานกรรมการบม.

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและชัยสิทธิ์ ชินวัตร · ดูเพิ่มเติม »

บุญชัย บำรุงพงศ์

ลเอก บุญชัย บำรุงพงศ์ (8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2458 - 12 กันยายน พ.ศ. 2538) เป็นอดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตผู้บัญชาการทหารบก ลำดับที่ 20 ระหว่าง 1 ตุลาคม พ.ศ. 2518 - 30 กันยายน 2519 เป็นบุตรนายยัง และนางแพ บำรุงพงศ์ สมรสกับคุณหญิงจรัสลักษณ์ บำรุงพงศ์ บุญชัยสำเร็จการศึกษาจาก โรงเรียนนายร้อยทหารบก เมื่อ..

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและบุญชัย บำรุงพงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2430

ทธศักราช 2430 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1887 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและพ.ศ. 2430 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2433

ทธศักราช 2433 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1890 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและพ.ศ. 2433 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2435

ทธศักราช 2435 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1892 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและพ.ศ. 2435 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2439

ทธศักราช 2439 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1896 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและพ.ศ. 2439 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2442

ทธศักราช 2442 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1899 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและพ.ศ. 2442 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2444

ทธศักราช 2444 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1901 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและพ.ศ. 2444 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2453

ทธศักราช 2453 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1910 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและพ.ศ. 2453 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2456

ทธศักราช 2456 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1913 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและพ.ศ. 2456 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2457

ทธศักราช 2457 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1914 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและพ.ศ. 2457 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2464

ทธศักราช 2464 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1921 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและพ.ศ. 2464 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2465

ทธศักราช 2465 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1922 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและพ.ศ. 2465 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2469

ทธศักราช 2469 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1926 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและพ.ศ. 2469 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2471

ทธศักราช 2471 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1928 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและพ.ศ. 2471 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2474

ทธศักราช 2474 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1931 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและพ.ศ. 2474 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2475

ทธศักราช 2475 ตรงกั.

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและพ.ศ. 2475 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2476

ทธศักราช 2476 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1933.

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและพ.ศ. 2476 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2481

ทธศักราช 2481 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1938.

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและพ.ศ. 2481 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2487

ทธศักราช 2487 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1944 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและพ.ศ. 2487 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2489

ทธศักราช 2489 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1946 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและพ.ศ. 2489 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2490

ทธศักราช 2490 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1947.

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและพ.ศ. 2490 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2491

ทธศักราช 2491 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1948.

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและพ.ศ. 2491 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2497

ทธศักราช 2497 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1954.

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและพ.ศ. 2497 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2506

ทธศักราช 2506 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1963 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและพ.ศ. 2506 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2507

ทธศักราช 2507 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1964 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและพ.ศ. 2507 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2516

ทธศักราช 2516 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1973 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและพ.ศ. 2516 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2518

ทธศักราช 2518 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1975 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและพ.ศ. 2518 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2519

ทธศักราช 2519 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1976 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและพ.ศ. 2519 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2521

ทธศักราช 2521 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1978 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและพ.ศ. 2521 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2524

ทธศักราช 2524 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1981 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและพ.ศ. 2524 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2525

ทธศักราช 2525 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1982 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปี สมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ 200 ปี.

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและพ.ศ. 2525 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2529

ทธศักราช 2529 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1986 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและพ.ศ. 2529 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2533

ทธศักราช 2533 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1990 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและพ.ศ. 2533 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2535

ทธศักราช 2535 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1992 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและพ.ศ. 2535 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2538

ทธศักราช 2538 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1995 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและพ.ศ. 2538 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2539

ทธศักราช 2539 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1996 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและพ.ศ. 2539 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2541

ทธศักราช 2541 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1998 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและพ.ศ. 2541 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2545

ทธศักราช 2545 V 2002 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2002 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและพ.ศ. 2545 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2546

ทธศักราช 2546 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2003 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน และกำหนดให้เป็น.

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและพ.ศ. 2546 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2547

ทธศักราช 2547 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2004 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน เป็นปีอธิกมาส ปกติวาร ตามปฏิทินไทยจันทรคติ และกำหนดให้เป็น.

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและพ.ศ. 2547 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2548

ทธศักราช 2548 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2005 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรโกเรียน และเป็น.

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและพ.ศ. 2548 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2550

ทธศักราช 2550 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2007 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2553

ทธศักราช 2553 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2010 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีแรกในคริสต์ทศวรรษที่ 2010.

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและพ.ศ. 2553 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2557

ทธศักราช 2557 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2014 วันแรกของปีตรงกับวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน นับเป็นปีที่ 2014 ตามกำหนดสากลศักราช และปีที่ 2557 ตามกำหนดพุทธศักร.

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและพ.ศ. 2557 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2558

ทธศักราช 2558 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2015 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน นับเป็นปีที่ 2015 ตามกำหนดสากลศักร.

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและพ.ศ. 2558 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2559

ทธศักราช 2559 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2016 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ และเป็น.

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและพ.ศ. 2559 · ดูเพิ่มเติม »

พระมหากษัตริย์ไทย

ระมหากษัตริย์ไทย เป็นประมุขของประเทศไทยตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันตามระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์และประชาธิปไตย ถึงแม้ว่าพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์จะลดลงหลังจากการปฏิวัติเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 และถูกจำกัดโดยรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แต่สถาบันพระมหากษัตริย์ก็ยังคงได้รับความเคารพนับถือจากประชาชนชาวไทยส่วนใหญ่ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม พุทธศักราช 2475 กับทั้งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยทุกฉบับว่า พระมหากษัตริย์ "ทรงดำรงอยู่ในฐานะอันเป็นที่เคารพสักการะ ผู้ใดจะละเมิดมิได้" นอกจากนั้น พระมหากษัตริย์ยังทรงได้รับความคุ้มครองด้วยกฎหมายอาญา ทำให้การวิพากษ์วิจารณ์พระองค์เป็นความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขแห่งรัฐ ทรงใช้อำนาจอธิปไตยผ่านคณะรัฐมนตรี รัฐสภา และศาล ทรงเป็นจอมทัพไทย พุทธมามกะ และอัครศาสนูปถัมภก มีพระราชอำนาจสถาปนาและพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์กับฐานันดรศักดิ์ พระราชทานอภัยโทษ ประกาศสงครามและสงบศึก รวมตลอดถึงพระราชอำนาจอื่น ๆ ซึ่งจะทรงใช้ได้ก็แต่โดยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กฎหมายกำหนดไว้ ยกเว้นพระราชอำนาจบางประการที่ทรงใช้ได้ตามพระราชอัธยาศัย คือ ตั้งและถอดองคมนตรีกับบรรดาข้าราชการในพระองค์ พระมหากษัตริย์ไทยแห่งราชวงศ์จักรี และเป็นประมุขราชวงศ์จักรี มีที่ประทับอย่างเป็นทางการคือพระบรมมหาราชวัง กรุงเทพมหานคร พระมหากษัตริย์องค์ปัจจุบันคือ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร โดยทรงรับตำแหน่งเมื่อวันที่ 1 ธันวาคม..

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและพระมหากษัตริย์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน)

ระยาพหลพลพยุหเสนา (แถวหน้าซ้ายมือ) นำคณะรัฐมนตรีของไทยเข้าเยือนประเทศญี่ปุ่น และพบกับ ฮิเดกิ โตโจ (แถวหน้าตรงกลาง) นายกรัฐมนตรีญี่ปุ่น เมื่อปี พ.ศ. 2485 ช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง พลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา เดิมชื่อว่า "พจน์ พหลโยธิน" เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 2 เกิดวันที่ 29 มีนาคม..

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและพระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน) · ดูเพิ่มเติม »

พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช

ลเอก นายพลเสือป่า พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช (2 เมษายน พ.ศ. 2420 - 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2496) อดีตเสนาบดีกระทรวงกลาโหม เป็นผู้นำกบฏบวรเดชพยายามยึดอำนาจจากรัฐบาลคณะราษฎร เมื่อ..

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวุฒิไชยเฉลิมลาภ กรมหลวงสิงหวิกรมเกรียงไกร

ลเอก พลเรือเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวุฒิไชยเฉลิมลาภ กรมหลวงสิงหวิกรมเกรียงไกร (ประสูติ: 5 ธันวาคม พ.ศ. 2426 — สิ้นพระชนม์: 18 ตุลาคม พ.ศ. 2490) เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาทับทิม เป็นต้นราชสกุลวุฒิชัย ณ อยุธยา พระองค์เจ้าวุฒิไชยเฉลิมลาภ เสด็จเข้ารับการศึกษาในยุโรป ในคราวที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จประพาสยุโรปครั้งแรก เมื่อ..

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวุฒิไชยเฉลิมลาภ กรมหลวงสิงหวิกรมเกรียงไกร · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรประวัติวรเดช กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดช

อมพล พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรประวัติวรเดช กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดช หรือพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรประวัติวรเดช กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดชเป็นพระราชโอรสองค์ที่ ๑๗ ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่ เจ้าจอมมารดาทับทิม โดยเป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวกลุ่มแรกที่ทรงไปศึกษาต่อในทวีปยุโรป เมื่อกลับมาประเทศไทยทรงเข้ารับราชการในกองทัพบกและกระทรวงกลาโหมในตำแหน่งต่างๆ และทรงเป็นจอมพลพระองค์ที่ 2 ของกองทัพบกสยาม พระองค์ทรงเป็นต้นราชสกุล "จิรประวัติ".

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรประวัติวรเดช กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดช · ดูเพิ่มเติม »

กฤษณ์ สีวะรา

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก กฤษณ์ สีวะรา อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม ผู้บัญชาการทหารบกคนที่ 19 ของไทย อดีตแม่ทัพภาคที่ 1 ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในเหตุการณ์ 14 ตุลา ในฐานะ ผู้อำนวยการรักษาความสงบ ภายหลังการลาออกจากทุกตำแหน่งและเดินทางออกนอกประเทศ ของจอมพล ถนอม กิตติขจร จอมพลประภาส จารุเสถียร พันเอกณรงค์ กิตติขจร.

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและกฤษณ์ สีวะรา · ดูเพิ่มเติม »

กองทัพบกไทย

กองทัพบกไทย (คำย่อ: ทบ.; Royal Thai Army) เป็นเหล่าทัพที่มีประวัติความเป็นมายาวนานที่สุดและมีขนาดใหญ่ที่สุดของกองทัพไทย ก่อตั้งเป็นกองทัพสมัยใหม่ขี้นในปี พ.ศ. 2417.

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและกองทัพบกไทย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทย

ัญชีดังต่อไปนี่แสดงรายพระนาม รายนาม เสนาบดีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมแห่งราชอาณาจักรไท.

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อผู้บัญชาการทหารสูงสุดของไทย

ผู้บัญชาการทหารสูงสุด เป็นชื่อตำแหน่งผู้บัญคับบัญชาระดับบนสุดของกองทัพไทยและกองบัญชาการกองทัพไทย ตั้งแต..

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและรายชื่อผู้บัญชาการทหารสูงสุดของไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทย

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและรายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทย

รายพระนาม รายนาม ผู้บัญชาการทหารบก แห่งกองทัพบกไท.

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและรายนามผู้บัญชาการทหารบกไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายนามผู้บัญชาการทหารอากาศไทย

รายนามผู้บัญชาการทหารอากาศไทย ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน.

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและรายนามผู้บัญชาการทหารอากาศไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายนามผู้บัญชาการทหารเรือไทย

รายพระนาม รายนาม ผู้บัญชาการทหารเรือ แห่งกองทัพเรือไท.

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและรายนามผู้บัญชาการทหารเรือไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายนามแม่ทัพภาคที่ 1

กองทัพภาคที่ 1 (ทภ.1) ของกองทัพบกไทย รับผิดชอบพื้นที่ภาคกลาง ภาคตะวันออก และภาคตะวันตก ตั้งกองบัญชาการที่กรุงเทพมหานคร หน่วยขึ้นตรง คือ.

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและรายนามแม่ทัพภาคที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

รายนามแม่ทัพภาคที่ 2

กองทัพภาคที่ 2 (ทภ.2) ของกองทัพบกไทย รับผิดชอบพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือทั้งหมด ตั้งกองบัญชาการที่ค่ายสุรนารี จังหวัดนครราชสีมา หน่วยรบที่สำคัญ คือ.

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและรายนามแม่ทัพภาคที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

รายนามแม่ทัพภาคที่ 3

กองทัพภาคที่ 3 (ทภ.3) ของกองทัพบกไทย รับผิดชอบพื้นที่ภาคเหนือทั้งหมด ตั้งกองบัญชาการที่จังหวัดพิษณุโลก หน่วยรบที่สำคัญ คือ.

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและรายนามแม่ทัพภาคที่ 3 · ดูเพิ่มเติม »

รายนามแม่ทัพภาคที่ 4

กองทัพภาคที่ 4 (ทภ.4) ของกองทัพบกไทย รับผิดชอบพื้นที่ภาคใต้ทั้งหมด ตั้งกองบัญชาการที่ค่ายวชิราวุธ ตำบลปากพูน อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช และมีศูนย์บัญชาการส่วนหน้าอยู่ที่ค่ายอิงคยุทธบริหาร ตำบลบ่อทอง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี เพื่อดูแลความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยโดยเฉ.

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและรายนามแม่ทัพภาคที่ 4 · ดูเพิ่มเติม »

วิมล วงศ์วานิช

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก วิมล วงศ์วานิช (1 มีนาคม 2477 -) เป็นผู้บัญชาการทหารบกลำดับที่ 28 ระหว่าง 1 ตุลาคม พ.ศ. 2535 - 30 กันยายน 2538 เป็นบุตร นายศิริ และ นางเอื้อน วงศ์วานิช ภริยาชื่อ พันตรีหญิง คุณหญิง มาลี วงศ์วาน.

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและวิมล วงศ์วานิช · ดูเพิ่มเติม »

สมทัต อัตตะนันทน์

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก สมทัต อัตตะนันทน์ (5 พฤษภาคม พ.ศ. 2487 —) อดีตผู้บัญชาการทหารสูงสุด ผู้บัญชาการทหารบก และแม่ทัพภาคที่ 1.

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและสมทัต อัตตะนันทน์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช

อมพล จอมพลเรือ สมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช (11 มกราคม พ.ศ. 2402 - 13 มิถุนายน พ.ศ. 2471) เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี ประสูติเมื่อวันที่ 11 มกราคม พ.ศ. 2402 เป็นพระราชโอรสลำดับสุดท้ายในพระบรมราชชนนี เมื่อพระบรมราชชนนีสวรรคตสมเด็จเจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ พระชันษาเพียง 2 ปี สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช ชาววังมักเอ่ยพระนามอย่างลำลองว่า "สมเด็จพระราชปิตุลาฯ" ส่วนชาวบ้านมักออกพระนามว่า "สมเด็จวังบูรพา" เพราะทรงมีวังชื่อว่า "วังบูรพาภิรมย์" ซึ่งก็คือตำแหน่งที่เป็นย่านวังบูรพาในปัจจุบัน และทรงเป็น "ตา" ของพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธ์ยุคล พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมพลฑิฆัมพร และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการ ตามพระประวัตินั้น ทรงเป็นจอมพลในรัชกาลที่ 7 ที่ทหารรักมาก เล่ากันมาว่าพวกทหารมักจะแบกพระองค์ท่านขึ้นบนบ่าแห่แหนในวาระที่มีการฉลองต่างๆ เช่น ฉลองคล้ายวันประสูติ เป็นต้น ทรงเป็นผู้ให้กำเนิดกิจการไปรษณีย์ไทย ครั้งถึงร.7 ในพิธีบรมราชาภิเศก ทรงโปรดเกล้าฯ เฉลิมพระเกียรติยศสมเด็จพระปิตุลา(อา)แท้ๆที่เหลืออยู่พระองค์เดียวนี้เป็นสมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช ศักดินา 100,000 เป็นพิเศษ เทียบเท่า ศักดินา ตำแหน่ง พระบรมโอรสาธิราช, พระบรมราชินี, พระบรมราชเทวี ท่านจึงทรงเป็นผู้มีบุญพิเศษ ที่เป็นเจ้าฟ้าชั้นโทจากแรกประสูติ แล้วได้เฉลิมพระเกิยรติยศขึ้นเป็นเจ้าฟ้าชั้นพิเศษที่มีศักดินาสูงเช่นนี้ เมื่อสิ้นพระชนม์ จึงใช้คำว่า "ทิวงคต" ท่านได้เสด็จทิวงคต เมื่อวันที่ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2471 ทรงเป็นต้นราชสกุลภาณุพัน.

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและสมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ

นายพลเอก มหาอำมาตย์เอก สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ (21 มิถุนายน พ.ศ. 2405 - 1 ธันวาคม พ.ศ. 2486) เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่ 57 ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาชุ่ม พระองค์ยังทรงเป็นต้นราชสกุลดิศกุล.

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต

อมพล จอมพลเรือ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต (29 มิถุนายน พ.ศ. 2424 — 18 มกราคม พ.ศ. 2487) ชาววังออกพระนามโดยลำลองว่า ทูลกระหม่อมชาย หรือ ทูลกระหม่อมบริพัตร ทรงดำรงตำแหน่งที่สำคัญทางการทหาร ตำแหน่งเสนาธิการทหารบก ผู้บัญชาการกรมทหารเรือ เสนาบดีกระทรวงทหารเรือ เสนาธิการทหารบก เสนาบดีกระทรวงกลาโหม เสนาบดีกระทรวงมหาดไทย และผู้สำเร็จราชการรักษาพระนคร ทรงดำรงตำแหน่งองคมนตรีในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวและพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว นอกจากนี้ยังทรงพระปรีชาสามารถในงานดนตรี ทรงได้รับการขนานพระนามเป็น "พระบิดาแห่งเพลงไทยเดิม" ทรงพระนิพนธ์เพลงไทย เพลงฝรั่งและเพลงไทยเดิมไว้มากมาย ทรงนิพนธ์เพลง วอทซ์ปลื้มจิต, วอทซ์ชุมพล, สุดเสนาะ, เพลงมหาฤกษ์, เพลงพญาโศก.

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์

ลเอก มหาอำมาตย์เอก สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ มีพระนามเดิมว่าพระองค์เจ้าจิตรเจริญ เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวที่ประสูติแต่พระสัมพันธวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพรรณร.

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

สฤษดิ์ ธนะรัชต์

อมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ (16 มิถุนายน พ.ศ. 2451 — 8 ธันวาคม พ.ศ. 2506) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 11, รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม, ผู้บัญชาการทหารบกและอธิบดีกรมตำรวจ เป็นผู้ริเริ่มการจัดทำแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เป็นผู้ก่อตั้งสำนักงบประมาณ เป็นผู้ก่อตั้งธนาคารทหารไทย และบริษัท ทิพยประกันภัย จำกัด เจ้าของคำพูดที่ว่า "พบกันใหม่เมื่อชาติต้องการ" และ "ข้าพเจ้าขอรับผิดชอบแต่เพียงผู้เดียว" พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ เป็นผู้รักษาพระนครฝ่ายทหาร ใน วันที่ 16 กันยายน..

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและสฤษดิ์ ธนะรัชต์ · ดูเพิ่มเติม »

สุรยุทธ์ จุลานนท์

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก สุรยุทธ์ จุลานนท์ (เกิด 28 สิงหาคม พ.ศ. 2486) องคมนตรี นายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 24 จากการแต่งตั้งโดยคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (คปค.) ภายหลังเหตุการณ์รัฐประหาร 19 กันยายน พ.ศ. 2549 ก่อนเข้าดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี พล.อ.สุรยุทธ์เคยดำรงตำแหน่ง ผู้บัญชาการทหารบก ผู้บัญชาการทหารสูงสุด และองคมนตรี ในปลายเดือนกันยายน พ.ศ. 2550 นายอารีย์ วงศ์อารยะ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ได้ลาออกจากตำแหน่ง พล.อ.สุรยุทธ์ ได้เข้าดำรงตำแหน่ง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย แทนนายอารีย์อีกตำแหน่งหนึ่งด้วย 8 เมษายน พ.ศ. 2551 พล.อ.สุรยุทธ์ ได้รับพระมหากรุณาโปรดเกล้าฯ จาก พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ให้กลับดำรงตำแหน่ง องคมนตรี เป็นครั้งที่สอง พล.อ.สุรยุทธ์ จุลานนท์ มีฉายาว่า "บิ๊กแอ้ด" วันที่ 9 ธันวาคม..

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและสุรยุทธ์ จุลานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

สุจินดา คราประยูร

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก สุจินดา คราประยูร (เกิด 6 สิงหาคม พ.ศ. 2476) เป็นอดีตนายกรัฐมนตรีของประเทศไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ผู้บัญชาการทหารบก และ ผู้บัญชาการทหารสูง.

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและสุจินดา คราประยูร · ดูเพิ่มเติม »

สนธิ บุญยรัตกลิน

ลเอก สนธิ บุญยรัตกลิน (เกิด 2 ตุลาคม พ.ศ. 2489) อดีตรองนายกรัฐมนตรี ผู้บัญชาการทหารบกของไทยและก็เป็น ผู้บัญชาการทหารบกของไทยคนแรกที่มาจากชาวไทยมุสลิม และอดีตหัวหน้าคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ในเหตุการณ์ รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549 อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ และหัวหน้าพรรคมาตุภูมิ อดีตรองผู้อำนวยการเสริมสร้างสันติสุข จังหวัดชายแดนภาคใต้.

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและสนธิ บุญยรัตกลิน · ดูเพิ่มเติม »

หลวงเกรียงศักดิ์พิชิต (พิชิต เกรียงศักดิ์พิชิต)

ลโท พลเรือโท พลอากาศโท หลวงเกรียงศักดิ์พิชิต (20 กรกฎาคม พ.ศ. 2439 - 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2507) อดีตแม่ทัพกองทัพภาคอีสานในสงครามไทย-อินโดจีน, อดีตผู้บัญชาการทหารบก, อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม, อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข, อดีตสมาชิกคณะราษฎร และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรประเภทที่ 2 (ส.ส.ประเภทที่ 2) ในปี..

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและหลวงเกรียงศักดิ์พิชิต (พิชิต เกรียงศักดิ์พิชิต) · ดูเพิ่มเติม »

อาทิตย์ กำลังเอก

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก อาทิตย์ กำลังเอก (31 สิงหาคม พ.ศ. 2468 - 19 มกราคม พ.ศ. 2558) อดีตผู้บัญชาการทหารบก อดีตผู้บัญชาการทหารสูงสุดของไทย อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเลย และอดีตสมาชิกวุฒิสภา จังหวัดเล.

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและอาทิตย์ กำลังเอก · ดูเพิ่มเติม »

อิสระพงศ์ หนุนภักดี

ลเอก พลตำรวจเอก อิสระพงศ์ หนุนภักดี หรือที่รู้จักกันดีในชื่อ บิ๊กตุ๋ย (20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 – 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560) อดีตผู้บัญชาการทหารบกและอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไท.

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและอิสระพงศ์ หนุนภักดี · ดูเพิ่มเติม »

อุดมเดช สีตบุตร

ลเอก อุดมเดช สีตบุตร ราชองครักษ์พิเศษ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม กรรมการในคณะกรรมการต่อต้านการทุจริตแห่งชาติ ในคณะรัฐบาลของพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา, สมาชิกคณะรักษาความสงบแห่งชาติ อุปนายกสภาทหารผ่านศึกคนที่หนึ่ง เป็นอดีตเลขาธิการคณะรักษาความสงบแห่งชาติ,อดีตผู้บัญชาการทหารบก คนที่ 38, อดีตประธานสโมสรฟุตบอลอาร์มี่ ยูไนเต็ด ประธานกรรมการ มูลนิธิอุทยานราชภักดิ์ ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร, อดีตประธานคณะกรรมการบริหารกิจการโทรทัศน์กองทัพบก, หัวหน้าศูนย์ติดตามสถานการณ์คณะรักษาความสงบแห่งชาต.

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและอุดมเดช สีตบุตร · ดูเพิ่มเติม »

อดุล อดุลเดชจรัส

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก พลตำรวจเอก อดุล อดุลเดชจรัส หรือ หลวงอดุลเดชจรัส (28 มิถุนายน พ.ศ. 2437 - 17 ธันวาคม พ.ศ. 2512) นามเดิม บัตร พึ่งพระคุณ อดีตองคมนตรี รองนายกรัฐมนตรี อธิบดีกรมตำรวจ ผู้บัญชาการทหารบก มีสมญานามว่า "นายพลตาดุ" เป็นหนึ่งในคณะราษฎร ผู้มีส่วนร่วมในการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 โดยขณะนั้นหลวงอดุลเดชจรัส มียศเป็น ร้อยโท (ร.ท.) ประจำกรมทหารปืนใหญ่ นครราชสีมา และได้หนีราชการมาพระนครด้วยรถไฟเพื่อร่วมในการเปลี่ยนแปลงการปกครอง จนถูกหมายจับจากทางต้นสังกัด ซึ่งตัวของหลวงอดุลเดชจรัสก็ได้อาศัยบ้านของพรรคพวกหลบซ่อนสลับกันไป โดยเฉพาะบ้านของหลวงพิบูลสงคราม ซึ่งเป็นเพื่อนสนิท หรือ จอมพล ป. พิบูลสงคราม ในเวลาต่อมา เป็นรองนายกรัฐมนตรีและผู้สั่งราชการแทนนายกรัฐมนตรี จอมพล ป. พิบูลสงคราม ในระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง เป็นรองหัวหน้าขบวนการเสรีไทยในประเทศไทย ในช่วงปลายสงคราม หลังจากมีการผลัดเปลี่ยนรัฐบาล ซึ่งมีส่วนอย่างมากที่ทำให้การดำเนินงานเสรีไทยเป็นไปโดยราบรื่น ทั้งที่เป็นอธิบดีกรมตำรวจภายใต้รัฐบาลที่เป็นพันธมิตรกับกองทัพจักรวรรดิญี่ปุ่น และเป็นหนึ่งในอภิรัฐมนตรีทำหน้าที่ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์และองคมนตรี หลังจากสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่สองแล้ว หลวงอดุลเดชจรัส ยังได้ร่วมกับนักการเมืองกลุ่มหนึ่ง ก่อตั้งพรรคสหชีพขึ้น โดยมีแนวทางสนับสนุนนายปรีดี พนมยงค์ ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง และหัวหน้าขบวนการเสรีไทย โดยหลวงอดุลเดชจรัส เป็นหัวหน้าพรรค และ นายเดือน บุนนาค เป็นเลขาธิการพรร.

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและอดุล อดุลเดชจรัส · ดูเพิ่มเติม »

อนุพงษ์ เผ่าจินดา

ลเอก อนุพงษ์ เผ่าจินดา (ชื่อเล่น: ป็อก, เกิด 10 ตุลาคม 2492) สมาชิกคณะรักษาความสงบแห่งชาติ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยคนปัจจุบัน และรองประธานคณะที่ปรึกษาคณะรักษาความสงบแห่งชาติ กรรมการในคณะกรรมการบริหารราชการแผ่นดินตามกรอบการปฏิรูปประเทศยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคีปรองดอง ประธานกรรมการคณะกรรมการกำกับการทวงถามหนี้ ประธานกรรมการในคณะกรรมการส่งเสริมกิจการฮัจย์แห่งประเทศไทยhttp://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2559/A/104/1.PDF ผู้บัญชาการกองอาสารักษาดินแดน ประธานการประชุมคณะกรรมการศูนย์อำนวยการความปลอดภัยทางถนน สภานายกพิเศษแห่งสภาวิศวกร และอดีตผู้บัญชาการทหารบก.

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและอนุพงษ์ เผ่าจินดา · ดูเพิ่มเติม »

ผิน ชุณหะวัณ

อมพลผิน ชุณหะวัณ (14 ตุลาคม พ.ศ. 2434 - 26 มกราคม พ.ศ. 2516) เป็นบิดาของพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ เกิดที่ตำบลบางนกแขวก อำเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม เป็นบุตรของนายไข่ และ นางพลับ ชุณหะวัณ ชาวสวนและแพทย์แผนโบราณ มีพี่น้องร่วมบิดามารดาเดียวกัน 8 คน จอมพลผิน ชุณหะวัณ ถึงแก่อสัญกรรมในวันศุกร์ที่ 26 มกราคม..

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและผิน ชุณหะวัณ · ดูเพิ่มเติม »

ธีรชัย นาควานิช

ลเอก ธีรชัย นาควานิช (ชื่อเล่น: หมู, เกิด 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2498) อดีตองคมนตรี ราชองครักษ์พิเศษตุลาการศาลทหารสูงสุด ประธานกรรมการ การประปาส่วนภูมิภาค กรรมการการไฟฟ้านครหลวง และสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ อดีตผู้บัญชาการทหารบก, อดีตเลขาธิการคณะรักษาความสงบแห่งชาติ,นายทหารพิเศษประจำ หน่วยทหารรักษาพระองค์ กรมทหารราบที่ 31 รักษาพระองค์ ประธานสโมสรฟุตบอลอาร์มี่ ยูไนเต็ด กรรมการ ธนาคารทหารไท.

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและธีรชัย นาควานิช · ดูเพิ่มเติม »

ถนอม กิตติขจร

อมพล จอมพลเรือ จอมพลอากาศ ถนอม กิตติขจร (11 สิงหาคม พ.ศ. 2454—16 มีนาคม พ.ศ. 2547) เป็น อดีตนายกรัฐมนตรีคนที่ 10 ของประเทศไทย ผู้บัญชาการทหารบก รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม และ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ผู้ซึ่งเป็นหัวหน้าคณะรัฐบาลในเหตุการณ์ 14 ตุลา ปี 2516 ซึ่งเป็นเหตุการณ์การประท้วงของ นิสิต นักศึกษา และประชาชน โดยในเหตุการณ์ ทหารได้ใช้อาวุธสงครามเข้าปราบปรามนักศึกษาประชาชนที่ชุมนุมเรียกร้องรัฐธรรมนูญ จนทำให้มีผู้เสียชีวิตเป็นจำนวนมาก เป็นผลให้ จอมพล ถนอม กิตติขจร ต้องประกาศลาออกจากตำแหน่ง และเดินทางออกจากประเทศ พร้อมกับ จอมพล ประภาส จารุเสถียร และ พ.อ.ณรงค์ กิตติขจร ภายหลังเหตุการณ์ จอมพล ถนอม กิตติขจร ก็ได้เดินทางกลับ แล้วบวชเป็นพระสามเณร เป็นชนวนไปสู่การ ขับไล่ ของนักศึกษาธรรมศาสตร์ จนโยงไปสู่เหตุการณ์ 6 ตุลา ปี 2519 ทำให้มีผู้บาดเจ็บ เสียชีวิต และสูญหายจำนวนมาก จอมพล ถนอม กิตติขจร เคยดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีถึง 4 สมัย เป็นระยะเวลาถึง 10 ปี 6 เดือนเศษ และนับจากการเปลี่ยนการปกครอง พ.ศ. 2475 เป็นต้นมา นายทหารที่มาจากคนธรรมดาสามัญที่ครองยศจอมพลสายทหารบก มีด้วยกัน 7 คน จอมพลถนอมเป็นคนที่ 6 จอมพลประภาส จารุเสถียรเป็นคนที่ 7 แต่ผู้ที่มีอายุยืนที่สุด คือจอมพลถนอม จึงกลายเป็น "จอมพลคนสุดท้าย" จอมพลถนอมถึงแก่อสัญกรรมด้วยโรคเส้นเลือดในสมองแตกเมื่อกลางดึก เมื่อวันที่ 16 มิถุนายน..

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและถนอม กิตติขจร · ดูเพิ่มเติม »

ประภาส จารุเสถียร

อมพล จอมพลเรือ จอมพลอากาศ พลตำรวจเอก ประภาส จารุเสถียร (5 ธันวาคม พ.ศ. 2455 — 18 สิงหาคม พ.ศ. 2540) อดีตรองนายกรัฐมนตรี, อดีตผู้บัญชาการทหารบก, อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย, อดีตอธิบดีกรมตำรวจ และอดีตอธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั.

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและประภาส จารุเสถียร · ดูเพิ่มเติม »

ประมณฑ์ ผลาสินธุ์

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก ประมณฑ์ ผลาสินธุ์ (8 ตุลาคม 2478 -) เป็นผู้บัญชาการทหารบกลำดับที่ 29 ระหว่าง 1 ตุลาคม พ.ศ. 2538 - 30 กันยายน 2539 เป็นบุตรนายกมลกับนางวรรณะ ผลาสินธุ์ ภริยาชื่อพลตรีหญิง คุณหญิงพวงเพ็ญ ผลาสิน.

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและประมณฑ์ ผลาสินธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

ประยุทธ จารุมณี

ลเอก ประยุทธ จารุมณี (22 มิถุนายน 2465 -) เป็นผู้บัญชาการทหารบกลำดับที่ 23 ระหว่าง 26 สิงหาคม พ.ศ. 2524 - 30 กันยายน พ.ศ. 2525.

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและประยุทธ จารุมณี · ดูเพิ่มเติม »

ประยุทธ์ จันทร์โอชา

ลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา (ชื่อเล่น: ตู่, เกิด 21 มีนาคม พ.ศ. 2497) เป็นนายทหารเกษียณอายุราชการชาวไทย ปัจจุบันเป็นหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ คณะทหารผู้ยึดอำนาจการปกครองในรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557 และนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 29 ตั้งแต่ปีนั้น ประยุทธ์เป็นนักเรียนเตรียมทหารรุ่นที่ 12 นักเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้ารุ่นที่ 23 และเป็นศิษย์เก่าวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร เข้ารับราชการครั้งแรกที่กรมทหารราบที่ 21 รักษาพระองค์ จากนั้นได้รับราชการในสังกัดกองพลทหารราบที่ 2 รักษาพระองค์ตามลำดับ นอกจากนั้นเขายังอยู่ในกลุ่มทหารบูรพาพยัคฆ์และทหารเสือราชินี เขาเป็นอดีตผู้บัญชาการทหารบกซึ่งดำรงตำแหน่งระหว่างเดือนตุลาคม 2553 ถึงตุลาคม 2557 ระหว่างวิกฤตการณ์การเมืองซึ่งเริ่มในเดือนพฤศจิกายน 2556 และเกี่ยวข้องกับการประท้วงต่อรัฐบาลรักษาการยิ่งลักษณ์ พลเอกประยุทธ์อ้างว่ากองทัพเป็นกลาง และจะไม่รัฐประหาร ทว่า เมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 พลเอกประยุทธ์รัฐประหารต่อรัฐบาลและควบคุมประเทศในฐานะหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาตินับแต่นั้น และในวันที่ 21 สิงหาคม 2557 สภานิติบัญญัติแห่งชาติมีมติเอกฉันท์เลือกพลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชาเป็นนายกรัฐมนตรี ซึ่งสมาชิกสภานั้นถูกเลือกมา และส่วนใหญ่เป็นนายทหาร.

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและประยุทธ์ จันทร์โอชา · ดูเพิ่มเติม »

ประวิตร วงษ์สุวรรณ

ลเอก ประวิตร วงษ์สุวรรณ (เกิด 11 สิงหาคม พ.ศ. 2488) เป็นรองนายกรัฐมนตรีฝ่ายความมั่นคงและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมตั้งแต่ปี 2557 รองหัวหน้าและประธานคณะที่ปรึกษาคณะรักษาความสงบแห่งชาติ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ในรัฐบาลนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ และอดีตผู้บัญชาการทหารบก.

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและประวิตร วงษ์สุวรรณ · ดูเพิ่มเติม »

แปลก พิบูลสงคราม

งครามอินโดจีน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เมื่อครั้งผนวชทรงรับบาตรจากจอมพล ป. นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น จอมพล จอมพลเรือ จอมพลอากาศ แปลก พิบูลสงคราม (14 กรกฎาคม พ.ศ. 2440 – 11 มิถุนายน พ.ศ. 2507) หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า "จอมพล ป.พิบูลสงคราม" เป็นนายกรัฐมนตรีไทยที่ดำรงตำแหน่งนานที่สุด คือ 14 ปี 11 เดือน 18 วัน รวม 8 สมัย และเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย มีนโยบายที่สำคัญคือ การมุ่งมั่นพัฒนาประเทศไทย ให้มีความเจริญรุ่งเรืองทัดเทียมนานาอารยประเทศ มีการปลุกระดมให้คนไทยรู้สึกรักชาติ โดยออกประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วย "รัฐนิยม" หลายอย่าง ซึ่งบางอย่างได้ประกาศเป็นกฎหมายในภายหลัง หลายอย่างกลายเป็นวัฒนธรรมของชาติ เช่น การรำวง, ก๋วยเตี๋ยวผัดไทย เป็นผู้เปลี่ยนชื่อ "ประเทศสยาม" เป็น "ประเทศไทย" และเป็นผู้เปลี่ยน "เพลงชาติไทย" มาเป็นเพลงที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบัน คำขวัญที่รู้จักกันดีของนายกรัฐมนตรีผู้นี้คือ "เชื่อผู้นำชาติพ้นภัย" หรือ "ท่านผู้นำไปไหนฉันไปด้วย" และ "ไทยอยู่คู่ฟ้า" ในสายตานักวิชาการประวัติศาสตร์การเมืองไทยส่วนหนึ่งเห็นว่า จอมพล ป. พิบูลสงคราม เป็นเผด็จการทางทหารที่มีบทบาททางการเมืองสูง และให้ความสนใจกับความคิดที่ส่อไปในทางเชื้อชาตินิยม จอมพล ป. พิบูลสงคราม ถึงแก่อสัญกรรม เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2507 ในเวลาประมาณ 20.30 น. ณ บ้านพักส่วนตัว ชานกรุงโตเกียว สิริอายุได้ 67 ปี.

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและแปลก พิบูลสงคราม · ดูเพิ่มเติม »

เชษฐา ฐานะจาโร

ลเอกเชษฐา ฐานะจาโร (23 สิงหาคม พ.ศ. 2481 —) ประธานที่ปรึกษาพรรคเพื่อไทย อดีตหัวหน้าพรรครวมใจไทยชาติพัฒนา อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม อดีตผู้บัญชาการทหารบก และอดีตแม่ทัพภาคที่ 1.

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและเชษฐา ฐานะจาโร · ดูเพิ่มเติม »

เมษายน

มษายน เป็นเดือนที่ 4 ของปี ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นหนึ่งในเดือน 4 เดือนที่มี 30 วัน (เขียนย่อ เม.ย. ภาษาปากเรียก เมษา หรือเดือนเมษา) ตามหลักโหราศาสตร์ เดือนเมษายนเริ่มต้นขึ้นเมื่อดวงอาทิตย์ยกเข้าสู่ราศีเมษ และสิ้นสุดเมื่อยกเข้าสู่ราศีพฤษภ แต่ในทางดาราศาสตร์ ต้นเดือนเมษายนดวงอาทิตย์อยู่ในกลุ่มดาวปลาและปลายเดือนไปอยู่ในกลุ่มดาวแกะ ชื่อในภาษาอังกฤษ "April" มีรากศัพท์มาจากภาษาละติน แอปปรีริส ("aprilis") และ แอปเปรีเร ("aperire") หมายถึง "กางออก" ซึ่งอาจหมายถึงการเริ่มต้นของฤดูใบไม้ผลิ หรืออาจมาจาก Apru ชื่อเทพีแห่งความรักในภาษาของชาวอิทรูเรีย ส่วนในประเทศไทยเริ่มใช้ชื่อเดือนเมษายนใน พ.ศ. 2432 ตรงกับสมัยรัชกาลที่ 5 โดยสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาเทววงศ์วโรปการ เป็นผู้เสนอให้ใช้ราศีกำหนดชื่อเดือน ตามปฏิทินโรมันดั้งเดิม กำหนดให้เดือนเมษายนเป็นเดือนที่ 2 ของปี และมี 29 วัน จากนั้นจูเลียส ซีซาร์ได้ปฏิรูประบบปฏิทินใหม่ เมื่อ 45 ปีก่อนคริสตกาล กำหนดให้เดือนมกราคมเป็นเดือนแรก ทำให้เดือนเมษายนขยับไปเป็นเดือนที่ 4 ของปี และมี 30 วัน.

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและเมษายน · ดูเพิ่มเติม »

เสริม ณ นคร

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก เสริม ณ นคร อดีตผู้บัญชาการทหารบก, ผู้บัญชาการทหารสูงสุดและอดีตรองนายกรัฐมนตรี เจ้าของฉายา "นายพลแก้มแดง".

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและเสริม ณ นคร · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยาบดินทรเดชานุชิต (หม่อมราชวงศ์อรุณ ฉัตรกุล)

อมพล เจ้าพระยาบดินทรเดชานุชิต (หม่อมราชวงศ์อรุณ ฉัตรกุล) (14 เมษายน พ.ศ. 2399 - 25 สิงหาคม พ.ศ. 2464) ผู้บัญชาการกรมยุทธนาธิการ ระหว่างวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2457 - 25 สิงหาคม พ.ศ. 2464 เป็นพระโอรสในหม่อมเจ้านิล ฉัตรกุล (พระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าฉัตร กรมหมื่นสุรินทรรักษ์) กับหม่อมราชวงศ์ สุ่น ปาลกะวงศ์ (นัดดาในพระสัมพันธวงศ์เธอ พระองค์เจ้าปาน กรมหมื่นนราเทเวศร์).

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและเจ้าพระยาบดินทรเดชานุชิต (หม่อมราชวงศ์อรุณ ฉัตรกุล) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยาบดินทรเดชานุชิต (แย้ม ณ นคร)

ลเอก เจ้าพระยาบดินทรเดชานุชิต (แย้ม ณ นคร) (21 เมษายน พ.ศ. 2410 - 1 มีนาคม พ.ศ. 2504) อดีตเสนาบดีกระทรวงกลาโหม ระหว่าง 1 เมษายน..

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและเจ้าพระยาบดินทรเดชานุชิต (แย้ม ณ นคร) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยาสุรศักดิ์มนตรี (เจิม แสง-ชูโต)

อมพล มหาอำมาตย์เอก เจ้าพระยาสุรศักดิ์มนตรี (เจิม แสง-ชูโต) (28 มีนาคม พ.ศ. 2394 - 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2474) อดีตเสนาบดีกระทรวงเกษตรพาณิชการ และผู้บัญชาการกรมทหารบก จอมพลฉแรม ทับพุ่ม เป็นหลานปราบกฎบทเมืองอ่างทองโดยคนเมืองอินทบุรี.

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและเจ้าพระยาสุรศักดิ์มนตรี (เจิม แสง-ชูโต) · ดูเพิ่มเติม »

เฉลิมชัย สิทธิสาท

ลเอก เฉลิมชัย สิทธิสาท (ชื่อเล่น: เจี๊ยบ หรือ บิ๊กเจี๊ยบ, เกิด 20 ตุลาคม พ.ศ. 2500) เป็นผู้บัญชาการทหารบก คนที่ 40 เลขาธิการคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ตุลาการศาลทหารสูงสุด สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ และผู้อำนวยการกองอำนวยการร่วมรักษาความสงบเรียบร้อย กรรมการในคณะกรรมการต่อต้านการทุจริตแห่งชาติ ตามคำสั่งคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ 6/2559กรรมการในคณะกรรมการบริหารการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก กรรมการในคณะกรรมการนโยบายการบริหารจัดการการทำงานของคนต่างด้าว กรรมการในคณะกรรมการเพื่อเตรียมการเพื่อสร้างความสามัคคีปรองดอง รัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา กรรมการในคณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติ กรรมการ ธนาคารทหารไทย ราชองครักษ์เวรกรรมการ ในคณะกรรมการจัดกิจกรรมเฉลิมฉลองครบรอบ 100 ปี การประกาศใช้ธงไตรรงค์เป็นธงชาติไทย ตามคำสั่งนายกรัฐมนตรีที่ 210/2559 กรรมการในคณะกรรมการเตรียมการด้านการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์แห่งชาติ คณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติ กรรมการบริหาร มูลนิธิราชประชานุเคราะห์ ในพระบรมราชูปถัมภ์และ กรรมการในคณะกรรมการมูลนิธิโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราช อดีตรองเลขาธิการคณะรักษาความสงบแห่งชาต.

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและเฉลิมชัย สิทธิสาท · ดูเพิ่มเติม »

เปรม ติณสูลานนท์

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก เปรม ติณสูลานนท์ ประธานองคมนตรี รัฐบุรุษ อดีตผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร และนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 16 ดำรงตำแหน่ง 3 สมัย ระหว่างปี..

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและเปรม ติณสูลานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

1 สิงหาคม

วันที่ 1 สิงหาคม เป็นวันที่ 213 ของปี (วันที่ 214 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 152 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและ1 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

1 ตุลาคม

วันที่ 1 ตุลาคม เป็นวันที่ 274 ของปี (วันที่ 275 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 91 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและ1 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

1 เมษายน

วันที่ 1 เมษายน เป็นวันที่ 91 ของปี (วันที่ 92 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 274 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและ1 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

11 ธันวาคม

วันที่ 11 ธันวาคม เป็นวันที่ 345 ของปี (วันที่ 346 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 20 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและ11 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

15 พฤษภาคม

วันที่ 15 พฤษภาคม เป็นวันที่ 135 ของปี (วันที่ 136 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 230 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและ15 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

15 เมษายน

วันที่ 15 เมษายน เป็นวันที่ 105 ของปี (วันที่ 106 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 260 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและ15 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

16 มิถุนายน

วันที่ 16 มิถุนายน เป็นวันที่ 167 ของปี (วันที่ 168 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 198 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและ16 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

16 มีนาคม

วันที่ 16 มีนาคม เป็นวันที่ 75 ของปี (วันที่ 76 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 290 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและ16 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

18 มิถุนายน

วันที่ 18 มิถุนายน เป็นวันที่ 169 ของปี (วันที่ 170 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 196 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและ18 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

23 มิถุนายน

วันที่ 23 มิถุนายน เป็นวันที่ 174 ของปี (วันที่ 175 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 191 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและ23 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

24 มิถุนายน

วันที่ 24 มิถุนายน เป็นวันที่ 175 ของปี (วันที่ 176 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 190 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและ24 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

24 สิงหาคม

วันที่ 24 สิงหาคม เป็นวันที่ 236 ของปี (วันที่ 237 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 129 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและ24 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

25 พฤศจิกายน

วันที่ 25 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 329 ของปี (วันที่ 330 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 36 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและ25 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

25 สิงหาคม

วันที่ 25 สิงหาคม เป็นวันที่ 237 ของปี (วันที่ 238 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 128 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและ25 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

25 ตุลาคม

วันที่ 25 ตุลาคม เป็นวันที่ 298 ของปี (วันที่ 299 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 67 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและ25 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

26 มิถุนายน

วันที่ 26 มิถุนายน เป็นวันที่ 177 ของปี (วันที่ 178 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 188 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและ26 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

26 สิงหาคม

วันที่ 26 สิงหาคม เป็นวันที่ 238 ของปี (วันที่ 239 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 127 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและ26 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

27 พฤษภาคม

วันที่ 27 พฤษภาคม เป็นวันที่ 147 ของปี (วันที่ 148 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 218 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและ27 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

27 มีนาคม

วันที่ 27 มีนาคม เป็นวันที่ 86 ของปี (วันที่ 87 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 279 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและ27 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

28 พฤษภาคม

วันที่ 28 พฤษภาคม เป็นวันที่ 148 ของปี (วันที่ 149 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 217 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและ28 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

28 มิถุนายน

วันที่ 28 มิถุนายน เป็นวันที่ 179 ของปี (วันที่ 180 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 186 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและ28 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

28 มีนาคม

วันที่ 28 มีนาคม เป็นวันที่ 87 ของปี (วันที่ 88 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 278 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและ28 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

29 มีนาคม

วันที่ 29 มีนาคม เป็นวันที่ 88 ของปี (วันที่ 89 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 277 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและ29 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

3 สิงหาคม

วันที่ 3 สิงหาคม เป็นวันที่ 215 ของปี (วันที่ 216 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 150 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและ3 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

30 กันยายน

วันที่ 30 กันยายน เป็นวันที่ 273 ของปี (วันที่ 274 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 92 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและ30 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

31 กรกฎาคม

วันที่ 31 กรกฎาคม เป็นวันที่ 212 ของปี (วันที่ 213 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 153 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและ31 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

31 มีนาคม

วันที่ 31 มีนาคม เป็นวันที่ 90 ของปี (วันที่ 91 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 275 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและ31 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

4 กุมภาพันธ์

วันที่ 4 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 35 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 330 วันในปีนั้น (331 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและ4 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

4 มกราคม

วันที่ 4 มกราคม เป็นวันที่ 4 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 361 วันในปีนั้น (362 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและ4 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

5 สิงหาคม

วันที่ 5 สิงหาคม เป็นวันที่ 217 ของปี (วันที่ 218 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 148 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและ5 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

6 สิงหาคม

วันที่ 6 สิงหาคม เป็นวันที่ 218 ของปี (วันที่ 219 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 147 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและ6 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

6 เมษายน

วันที่ 6 เมษายน เป็นวันที่ 96 ของปี (วันที่ 97 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 269 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและ6 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

7 เมษายน

วันที่ 7 เมษายน เป็นวันที่ 97 ของปี (วันที่ 98 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 268 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและ7 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

8 พฤศจิกายน

วันที่ 8 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 312 ของปี (วันที่ 313 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 53 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและ8 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

8 สิงหาคม

วันที่ 8 สิงหาคม เป็นวันที่ 220 ของปี (วันที่ 221 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 145 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและ8 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

8 ธันวาคม

วันที่ 8 ธันวาคม เป็นวันที่ 342 ของปี (วันที่ 343 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 23 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและ8 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

8 เมษายน

วันที่ 8 เมษายน เป็นวันที่ 98 ของปี (วันที่ 99 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 267 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและ8 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

9 พฤศจิกายน

วันที่ 9 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 313 ของปี (วันที่ 314 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 52 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและ9 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

รายพระนามและนามผู้บัญชาการทหารบกรายนามผู้บัญชาการทหารบกผู้บัญชาการทหารบกผบ.ทบ.

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »