โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พ.ศ. 2456

ดัชนี พ.ศ. 2456

ทธศักราช 2456 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1913 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

349 ความสัมพันธ์: บัวเขียว รังคสิริชื่อบุคคลไทยบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2549บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2552บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2553บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2554บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2556บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2557บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2558บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2559บุคคลแห่งปีของนิตยสารไทม์ชนิด สายประดิษฐ์ฟองจันทร์ ศิริวัติฟุตบอลทีมชาติจีนไทเปพ.ศ. 2400พ.ศ. 2533พ.ศ. 2534พ.ศ. 2537พ.ศ. 2539พ.ศ. 2541พ.ศ. 2546พ.ศ. 2548พ.ศ. 2549พ.ศ. 2550พ.ศ. 2552พ.ศ. 2553พ.ศ. 2554พ.ศ. 2556พ.ศ. 2557พ.ศ. 2558พรรคประชาธิปัตย์พระยาวาสุเทพ (กุสตาฟ เชา)พระยาสุรเสนา (หม่อมราชวงศ์ชิต กำภู)พระยาอนุกิจวิธูร (สันทัด เทพหัสดิน ณ อยุธยา)พระยาจุฬาราชมนตรี (สัน อหะหมัดจุฬา)พระยาโบราณราชธานินทร์ (พร เดชะคุปต์)พระราชสังวราภิมณฑ์ (โต๊ะ อินฺทสุวณฺโณ)พระราชสันตติวงศ์ในพระเจ้าคริสเตียนที่ 9 แห่งเดนมาร์กพระราชสันตติวงศ์ในซาร์นีโคไลที่ 1 แห่งรัสเซียพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอลงกฏ กรมหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์พระอริยเวที (เขียน ฐิตสีโล)พระจุฬาราชมนตรี (สอน อหะหมัดจุฬา)พระครูสังวรสมณกิจ (ทิม อตฺตสนฺโต)พระครูอดุลธรรมกิตติ์ (หลวงพ่อกลั่น อคฺคธมฺโม)พระครูจ้อย จนฺทสุวณฺโณพระครูนิสิตคุณากร (กัน คงฺครตโน)พระครูโพธิสารประสาธน์ (บุญมี อคฺคปุญฺโญ)พระตำหนักจิตรลดารโหฐานพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าชุมสาย กรมขุนราชสีหวิกรม...พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพชรอัครโยธินพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภัทรายุวดีพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีนาคสวาดิพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศุขสวัสดี กรมหลวงอดิศรอุดมเดชพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรประวัติวรเดช กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดชพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสณบัณฑิต กรมขุนพิทยลาภพฤฒิธาดาพระเจ้าฟุอาดที่ 1 แห่งอียิปต์พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเสรฐวงษ์วราวัตร กรมหมื่นอนุพงษ์จักรพรรดิ์พระเจ้าจอร์จที่ 1 แห่งกรีซพระเจ้าคอนสแตนตินที่ 1 แห่งกรีซพระเขมสารโสภณ (ธรรมนูญ ธุวสีโล)พอล แอร์ดิชพิมพ์ รัตนคุณสาสน์พิธีบูชายัญในฤดูใบไม้ผลิกระจ่าง ตุลารักษ์กองพันทหารช่างที่ 1 รักษาพระองค์กองทัพอากาศเวเนซุเอลากีฬาตะวันออกไกลกีฬาตะวันออกไกล 1913ภีมราว รามชี อามเพฑกรมหาวิทยาลัยแอเครินมัวริส วิลค์สมาลีเอตัว ตานุมาฟิลิที่ 2มูลนิธิร็อกเกอะเฟลเลอร์รพินทรนาถ ฐากุรรัฐบาลเอโดะราชกรีฑาสโมสรราชสหพันธ์ฟุตบอลสเปนราชสันตติวงศ์ในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียราชอาณาจักรบัลแกเรียรายชื่อมหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่สุดที่ยังเปิดสอนรายชื่อรัฐวิสาหกิจไทยรายชื่อโรงเรียนประจำจังหวัดในประเทศไทยรายพระนามพระมหากษัตริย์กรีซรายพระนามพระมหากษัตริย์โปรตุเกสรายพระนามผู้ปกครองบาวาเรียรายพระนามจักรพรรดิเวียดนามรายพระนามคู่อภิเษกสมรสในราชวงศ์มูฮัมหมัดอาลีรายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ร.ว.รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน น.ร.รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานปฐมจุลจอมเกล้ารายการเครื่องราชอิสริยาภรณ์ต่างประเทศของพระราชวงศ์ไทยแยกตามประเทศรายนามรองประธานาธิบดีสหรัฐรายนามสมุหราชองครักษ์ของไทยรายนามสุภาพสตรีหมายเลขหนึ่งสหรัฐรายนามอธิบดีกรมที่ดินรายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทยรายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยรายนามคู่สมรสและคู่ครองประธานาธิบดีฝรั่งเศสรายนามประธานาธิบดีสหรัฐรายนามประธานาธิบดีสาธารณรัฐฝรั่งเศสรายนามประธานาธิบดีสาธารณรัฐจีนรายนามนายกรัฐมนตรีญี่ปุ่นรายนามนายกรัฐมนตรีฝรั่งเศสรายนามนายกรัฐมนตรีเดนมาร์กรางวัลพูลิตเซอร์รางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์รางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์รางวัลโนเบลสาขาเคมีริชาร์ด นิกสันรูดอล์ฟ ดีเซลรถไฟฟ้าปารีส สาย 8รถไฟใต้ดินบัวโนสไอเรสลอน นอลลูกชายและคนรักวัดหนองกระธาตุวัดหนองโพธิ์ (จังหวัดสระบุรี)วัดท้ายตลาด (จังหวัดอุตรดิตถ์)วัดดุลยารามวัดคุ้งยางใหญ่วัดน้ำริดใต้วิกตอเรีย ยูจีนีแห่งบัทเทนแบร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งสเปนวิลเลียม ฮาวเวิร์ด แทฟต์วิลเฮล์ม คอนราด เรินต์เกนวิทยุกระจายเสียงในประเทศไทยวูดโรว์ วิลสันวีนีซีอุช จี โมไรช์ว็อล์ฟกัง เพาล์ศาสนาพุทธในประเทศไทยสภาสูงสมโรจน์ สวัสดิกุล ณ อยุธยาสมเด็จพระพุฒาจารย์ (เขียว จนฺทสิริ)สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช (เจริญ สุวฑฺฒโน)สมเด็จพระราชาธิบดีคอลิด บิน อับดัลอะซีซ อาล ซะอูดสมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดชสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (ปุ่น ปุณฺณสิริ)สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าอาภรณ์สรรเสริญพระบารมีสริ ยงยุทธสัญญา ธรรมศักดิ์สายเบเคอร์ลูสารานุกรมคาทอลิกสโมสรฟุตบอลอาร์เซนอลสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ดหม่อมราชวงศ์จักรทอง ทองใหญ่หม่อมหลวงเติบ ชุมสายหม่อมหลวงเนื่อง นิลรัตน์หม่อมเจ้าบันลุศิริศานต์ ดิศกุลหม่อมเจ้าสนิทประยูรศักดิ์ รังสิตหม่อมเจ้าอาชวดิศ ดิศกุลหม่อมเจ้าปิยะรังสิต รังสิตหม่อมเจ้านิวัทธวงศ์ เกษมสันต์หม่อมเจ้านิสากร ศรีธวัชหม่อมเจ้าไตรทิพเทพสุต เทวกุลหลวงอิศรางกูรเสนีย์ (หม่อมหลวงแช่ม อิศรางกูร)หลวงปู่ผินะ ปิยธโรอัมพร จินตกานนท์อัลเบน บาร์กเลย์อารีย์ ลีวีระอาร์เอ็มเอส ไททานิกอาร์เธอร์ อีแวนส์อาร์เซนอลสเตเดียมอาลแบร์ กามูว์อำเภอกันตังอำเภอยางตลาดอำเภอวารินชำราบอำเภออรัญประเทศอำเภอเมืองยโสธรอำเภอเมืองนครปฐมอิกอร์ สตราวินสกีอิลราชคำฉันท์อุเทน เตชะไพบูลย์อีริกเซ็นต์ เย ลอสันองค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพฮอลลีวูดผล พระประแดงผักตบชวาจอห์น ฟอน นอยมันน์จอห์น ซิงเกอร์ ซาร์เจนท์จักรพรรดิบ๋าว ดั่ยจักรพรรดิขาย ดิ่ญจักรพรรดินีหลงยฺวี่ พระพันปีหลวงจักรพรรดิเมจิจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีจังหวัดกาฬสินธุ์จังหวัดมหาสารคามจังหวัดร้อยเอ็ดจำนง รังสิกุลจู้อินธรรมนูญ เทียนเงินธงชาติสาธารณรัฐจีนธนาคารออมสินทวิช เสนีย์วงศ์ ณ อยุธยาทางรถไฟสายสงขลาที่สุดในประเทศไทยดมบูริด้วงกว่างเฮอร์คิวลีสคลื่นสึนามิคีตาญชลีคณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยคณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยตำรวจดับเพลิงตึก 40 วอลล์ สตรีทตึกวูลเวิร์ธตึกเมโทรโพลิแทน ไลฟ์ อินชัวเรนซ์ตุนกู อับดุล ระฮ์มันซูลูปฏิทินไทยประมาณ อดิเรกสารประเสริฐ ทรัพย์สุนทรประเทศบัลแกเรียใน ค.ศ. 1913ประเทศฟินแลนด์ใน ค.ศ. 1913ประเทศกรีซใน ค.ศ. 1913ประเทศกาตาร์ใน ค.ศ. 1913ประเทศกาตาร์ใน ค.ศ. 1949ประเทศมอลตาใน ค.ศ. 1913ประเทศสวีเดนประเทศสิงคโปร์ประเทศออสเตรเลียใน ค.ศ. 1913ประเทศอิตาลีใน ค.ศ. 1913ประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 1913ประเทศจีนใน ค.ศ. 1913ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1913ประเทศโครเอเชียใน ค.ศ. 1913ประเทศไทยใน พ.ศ. 2456ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016ประเทศเม็กซิโกประเทศเลโซโทใน ค.ศ. 1913ประเทศเวียดนามประเทศเดนมาร์กใน ค.ศ. 1913ปลากระเบนโมโตโร่ปลาหมอแคระอพิสโตแกรมมาปลาอินซีเน็ตดำปลาผีตุ่นปลาฉลามเสือดาวปลาแขยงทองปาร์มากัลโช 1913ปูนซิเมนต์ไทยปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธนกกีวีสีน้ำตาลนอร์มัน ร็อกเวลล์นามสกุลนามสกุลพระราชทานนีลส์ บอร์แฟรงกลิน ดี. โรสเวลต์แฟร์ดิน็อง เดอ โซซูร์แกรนด์ดัชเชสมาเรีย อเล็กซานดรอฟนาแห่งรัสเซียแรมง ปวงกาเรแหวนนพรัตน์แอสตันมาร์ตินแอนดรูว์ คาร์เนกีโบรุสซีอาดอร์ทมุนท์โรงเรียนพรหมานุสรณ์จังหวัดเพชรบุรีโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัยโรงเรียนกาฬสินธุ์พิทยาสรรพ์โรงเรียนมัญจาศึกษาโรงเรียนราชสีมาวิทยาลัยโรงเรียนร้อยเอ็ดวิทยาลัยโรงเรียนสมุทรสาครบูรณะโรงเรียนสารคามพิทยาคมโรงเรียนคณะราษฎรบำรุง จังหวัดยะลาโรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์โรงเรียนเบญจมราชาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์โรงเรียนเบญจมราชูทิศโรเบิร์ต อี. ลีโอสถ โกศินโทกูงาวะ โยชิโนบุโซชีเอตาสปอร์ตีวาลาซีโอไทม์สแควร์ไตรภูมิพระร่วงเบิร์ต แลนแคสเตอร์เกรียงไกร อัตตะนันทน์เกออร์กี ฟลิโอรอฟเภสัชกรรมไทยเมนาเฮม เบกินเลขอะตอมเลขา อภัยวงศ์เส้นเวลาของคณิตศาสตร์เอเชียนเกมส์เจ. อาร์. อาร์. โทลคีนเจ้าชายอัลเฟรด ดยุกแห่งซัคเซิน-โคบูร์กและโกทาเจ้าชายเมอร์เซียแห่งโรมาเนียเจ้าบุษบง ณ ลำปางเจ้าพระยาบดินทรเดชานุชิต (หม่อมราชวงศ์อรุณ ฉัตรกุล)เจ้าพระยาพระเสด็จสุเรนทราธิบดี (หม่อมราชวงศ์เปีย มาลากุล)เจ้าพระยาภาณุวงศ์มหาโกษาธิบดี (ท้วม บุนนาค)เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา)เจ้าหญิงวิกตอเรีย พระราชกุมารีเจ้าหญิงอเล็กซานดรา ดัชเชสที่ 2 แห่งไฟฟ์เจ้าหญิงอเล็กซานดราแห่งซัคเซิน-โคบูร์กและโกทาเจ้าหญิงแคทเธอรีนแห่งกรีซและเดนมาร์กเจ้าหญิงโซเฟียแห่งปรัสเซียเจ้าหญิงไอรีนแห่งเฮ็สเซินและไรน์เจ้าหญิงเบียทริซแห่งซัคเซิน-โคบูร์กและโกทาเจ้าอุตรการโกศล (ศุขเกษม ณ เชียงใหม่)เจ้าผู้ครองนครพะเยา (ยุคฟื้นฟู)เจ้าจอมมารดาเที่ยง ในรัชกาลที่ 4เจ้าจักรคำขจรศักดิ์เจ้าไชยสุริวงศ์ ณ เชียงใหม่เจ้าเครือแก้ว ณ เชียงใหม่เทศบาลนครนครศรีธรรมราชเขื่อนเจ้าพระยาเขี้ยวนรกดับตะวันเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นโบราณมงคลนพรัตนราชวราภรณ์เงาะป่า (วรรณคดี)เต่าเหลืองเฉิด สุดารา1 มิถุนายน1 ตุลาคม1 เมษายน10 กรกฎาคม10 สิงหาคม11 พฤษภาคม11 ตุลาคม12 สิงหาคม13 พฤศจิกายน14 กรกฎาคม14 ธันวาคม18 มีนาคม20 กันยายน20 มีนาคม20 สิงหาคม21 ธันวาคม22 กุมภาพันธ์22 มีนาคม22 เมษายน24 ตุลาคม26 พฤษภาคม26 มิถุนายน26 เมษายน27 กรกฎาคม27 มีนาคม28 กันยายน28 มกราคม28 สิงหาคม29 มกราคม29 เมษายน3 ตุลาคม30 กันยายน30 มกราคม31 สิงหาคม4 กุมภาพันธ์5 พฤศจิกายน5 มกราคม6 เมษายน7 กรกฎาคม9 กรกฎาคม ขยายดัชนี (299 มากกว่า) »

บัวเขียว รังคสิริ

ณหญิงบัวเขียว รังคสิริ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดแพร่ 2 สมั.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และบัวเขียว รังคสิริ · ดูเพิ่มเติม »

ชื่อบุคคลไทย

ื่อบุคคลไทย มีลักษณะชื่อนำหน้านามสกุล ตามแบบอินเดียและตะวันตก ซึ่งแตกต่างจากลักษณะของชื่อบุคคลในเอเชียตะวันออก ที่จะใช้นามสกุลนำหน้าชื่อ ในอดีตคนไทยไม่มีนามสกุล ใช้เพียงชื่อเรียกอย่างเดียวเท่านั้น ประเทศไทยเริ่มมีการใช้นามสกุลครั้งแรกเมื่อ 22 มีนาคมพ.ศ. 2455 และมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2456 และมีการพระราชทานนามสกุลให้แก่หลายครอบครัวที่เรียกว่า นามสกุลพระราชทาน จำนวนที่บันทึกในสมุดทะเบียนลงลำดับที่นามสกุลที่ได้พระราชทาน 6,432 นามสกุล โดยนามสกุลลำดับที่ 1 ของประเทศไทย คือ สุขุม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และชื่อบุคคลไทย · ดูเพิ่มเติม »

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2549

้านล่างนี้เป็นบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2549.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550

้านล่างนี้เป็นบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2552

้านล่างนี้เป็นบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2552.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2552 · ดูเพิ่มเติม »

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2553

้านล่างนี้เป็นบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2553.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2553 · ดูเพิ่มเติม »

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2554

้านล่างนี้เป็นบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2554.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2556

้านล่างนี้เป็นบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2556.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2556 · ดูเพิ่มเติม »

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2557

้านล่างนี้เป็นบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2557.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2557 · ดูเพิ่มเติม »

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2558

้านล่างนี้เป็นบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2558.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2558 · ดูเพิ่มเติม »

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2559

้านล่างนี้เป็นบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2559 เดวิด โบอี ทฤษฎี สหวงษ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2559 · ดูเพิ่มเติม »

บุคคลแห่งปีของนิตยสารไทม์

ลแห่งปี (Person of the Year หรือเดิม Man of the Year) เป็นฉบับประจำปีของนิตยสารข่าวไทม์ของสหรัฐอเมริกา ซึ่งเสนอและพรรณนาถึงบุคคล กลุ่ม แนวคิดหรือวัตถุซึ่ง "ไม่ว่าจะเกิดอะไรก็ตาม...ได้มีอิทธิพลมากที่สุดต่อเหตุการณ์ในปีนั้น".

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และบุคคลแห่งปีของนิตยสารไทม์ · ดูเพิ่มเติม »

ชนิด สายประดิษฐ์

นิด สายประดิษฐ์ (15 มกราคม พ.ศ. 2456 - 15 มิถุนายน พ.ศ. 2553) เป็นนักเขียน นักแปล เจ้าของนามปากกา จูเลียต และเป็นภรรยาของ กุหลาบ สายประดิษฐ์ ได้รับการเชิดชูเกียรติ รางวัลนราธิป ประจำปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และชนิด สายประดิษฐ์ · ดูเพิ่มเติม »

ฟองจันทร์ ศิริวัติ

ฟองจันทร์ ศิริวัติ มีชื่อเดิมว่า หม่อมฟองจันทร์ ยุคล ณ อยุธยา มีชื่อเมื่อแรกเกิดว่า เจ้าฟองจันทร์ อินทขัติย์ (5 พฤษภาคม พ.ศ. 2456—15 ตุลาคม พ.ศ. 2540) เป็นลูกหลานในตระกูลเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ มีชื่อเสียงจากการเป็นนางสาวเชียงใหม่ประจำปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และฟองจันทร์ ศิริวัติ · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลทีมชาติจีนไทเป

ฟุตบอลทีมชาติจีนไทเป (Chinese Taipei national football team) เป็นตัวแทนของสาธารณรัฐจีนในการแข่งขันฟุตบอลระหว่างประเทศ อยู่ภายใต้การบริหารของสมาคมฟุตบอลจีนไทเป โดยทีมมีประวัติความสำเร็จในระดับเอเชียคือคว้าอันดับ 3 เอเชียนคัพ ปี 1960 และคว้าเหรียญทองในการแข่งขันเอเชียนเกมส์ เมื่อปี 1954 และ 1958 ในปี พ.ศ. 2470 ประเทศจีนเกิดสงครามกลางเมือง ทำให้ทีมชาติไต้หวันได้สิทธิ์แข่งขันฟุตบอลระหว่างประเทศแทนทีมชาติจีน และแยกออกจากกันในปี พ.ศ. 2508 ซึ่งทีมชาติจีนถูกก่อตั้งขึ้นมาอีกครั้ง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และฟุตบอลทีมชาติจีนไทเป · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2400

ทธศักราช 2400 ตรงกั.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และพ.ศ. 2400 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2533

ทธศักราช 2533 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1990 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และพ.ศ. 2533 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2534

ทธศักราช 2534 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1991 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และพ.ศ. 2534 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2537

ทธศักราช 2537 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1994 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และพ.ศ. 2537 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2539

ทธศักราช 2539 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1996 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และพ.ศ. 2539 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2541

ทธศักราช 2541 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1998 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และพ.ศ. 2541 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2546

ทธศักราช 2546 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2003 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน และกำหนดให้เป็น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และพ.ศ. 2546 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2548

ทธศักราช 2548 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2005 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรโกเรียน และเป็น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และพ.ศ. 2548 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2549

ทธศักราช 2549 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2006 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และพ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2550

ทธศักราช 2550 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2007 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2552

ทธศักราช 2552 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2009 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีสุดท้ายในคริสต์ทศวรรษ 2000.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และพ.ศ. 2552 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2553

ทธศักราช 2553 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2010 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีแรกในคริสต์ทศวรรษที่ 2010.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และพ.ศ. 2553 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2554

ทธศักราช 2554 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2011 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และพ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2556

ทธศักราช 2556 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2013 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และพ.ศ. 2556 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2557

ทธศักราช 2557 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2014 วันแรกของปีตรงกับวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน นับเป็นปีที่ 2014 ตามกำหนดสากลศักราช และปีที่ 2557 ตามกำหนดพุทธศักร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และพ.ศ. 2557 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2558

ทธศักราช 2558 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2015 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน นับเป็นปีที่ 2015 ตามกำหนดสากลศักร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และพ.ศ. 2558 · ดูเพิ่มเติม »

พรรคประชาธิปัตย์

รรคประชาธิปัตย์ (Democrat Party - DP, ย่อ: ปชป.) ก่อตั้งเมื่อวันที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2489 เป็นพรรคการเมืองจดทะเบียนที่เก่าแก่ที่สุดของไทยที่ยังดำเนินการอยู่ พรรคมีสมาชิกที่ได้แจ้งต่อนายทะเบียนพรรคการเมืองไว้ จำนวน 2,895,933 คน นับเป็นพรรคการเมืองที่มีสมาชิกมากที่สุดในประเทศไทย และมีสาขาพรรคจำนวน 175.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และพรรคประชาธิปัตย์ · ดูเพิ่มเติม »

พระยาวาสุเทพ (กุสตาฟ เชา)

ลตรี พระยาวาสุเทพ (กุสตาฟ เชา) (Gustave Schau; พ.ศ. 2402-พ.ศ. 2462) เป็นอธิบดีกรมตำรวจภูธรคนที่ 5.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และพระยาวาสุเทพ (กุสตาฟ เชา) · ดูเพิ่มเติม »

พระยาสุรเสนา (หม่อมราชวงศ์ชิต กำภู)

ลตรี พระยาสุรเสนา (หม่อมราชวงศ์ชิต กำภู) เกิดเมื่อวันที่ 18 ธันวาคม พ.ศ. 2427 เป็นบุตรของพันเอก หม่อมเจ้าชื่น กำภู กับหม่อมพุ่ม กำภู เข้าศึกษาเป็นนักเรียนนายร้อยทหารบกเมื่อปี พ.ศ. 2442 สำเร็จการศึกษาเมื่อปี พ.ศ. 2445 จากนั้นจึงเข้ารับราชการเป็นผู้บังคับกองร้อยพิเศษ โรงเรียนนายร้อยทหารบก ต่อมาในปี พ.ศ. 2452 เป็นปลัดกรมบัญชาการโรงเรียนนายร้อยทหารบก ต่อมาเป็นเสนาธิการทหารบก พ.ศ. 2456 มีหน้าที่เป็นราชองครักษ์เวร พ.ศ. 2459 เป็นเลขาธิการในคณะกรรมการอำนวยการสภากาชาดไทย พ.ศ. 2467 โปรดเกล้าฯ แต่งตั้งให้เป็นองคมนตรี หลังเกษียณราชการ พระยาสุรเสนาประกอบอาชีพส่วนตัวด้วยการก่อตั้งบริษัท สุรเสนา จำกัด ดำเนินการก่อสร้าง เนื่องจากท่านมีความสนใจทางด้านสถาปัตยกรรม ท่านสมรสกับคุณหญิงผอบ สุรเสนา มีบุตรธิดา 12 คน คือ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และพระยาสุรเสนา (หม่อมราชวงศ์ชิต กำภู) · ดูเพิ่มเติม »

พระยาอนุกิจวิธูร (สันทัด เทพหัสดิน ณ อยุธยา)

มหาอำมาตย์ตรี พระยาอนุกิจวิธูร (สันทัด เทพหัสดิน ณ อยุธยา) (12 มีนาคม พ.ศ. 2423 – 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2491) นักการศึกษา ผู้บัญชาการ (อธิการบดี) คนแรกของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (6 เมษายน พ.ศ. 2460 - 31 มีนาคม พ.ศ. 2468) และผู้ช่วยปลัดทูลฉลองกระทรวงธรรมการ ผู้แต่งหนังสือเรียนสมัยรัชกาลที่ 5 รวมทั้งหนังสือชุดธรรมจริยาเล่ม 1 และ 2.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และพระยาอนุกิจวิธูร (สันทัด เทพหัสดิน ณ อยุธยา) · ดูเพิ่มเติม »

พระยาจุฬาราชมนตรี (สัน อหะหมัดจุฬา)

ระยาจุฬาราชมนตรี นามเดิม สัน เป็นบุตรพระยาจุฬาราชมนตรี (สิน อหะหมัดจุฬา) มีชื่อทางศาสนาว่า มิซซา อาลีระชา เกิดเมื่อ พ.ศ. 2411 เริ่มรับราชการเป็นมหาดเล็กในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้เป็นปลัดกรมท่าขวามีบรรดาศักดิ์เป็นหลวงราชาเศรษฐี เมื่อ พ.ศ. 2432 แล้วเลื่อนเป็นพระราชเศรษฐี ตามลำดับ ต่อมาย้ายไปรับราชการกระทรวงยุติธรรมฝ่ายการเงินแล้วเลื่อนขึ้นเป็นจ่าศาลต่างประเทศ จนวันที่ 12 มกราคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และพระยาจุฬาราชมนตรี (สัน อหะหมัดจุฬา) · ดูเพิ่มเติม »

พระยาโบราณราชธานินทร์ (พร เดชะคุปต์)

ระยาโบราณราชธานินทร์ (พร เดชะคุปต์) (28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2414 — 30 เมษายน พ.ศ. 2479) เป็นอดีตข้าราชการไทยสังกัดกระทรวงมหาดไทย ผู้ดำรงตำแหน่งเป็นสมุหเทศาภิบาลมณฑลกรุงเก่า มีชื่อเสียงจากความรอบรู้ในประวัติศาสตร์ไทยสมัยกรุงศรีอยุธยา และการเป็นผู้บุกเบิกการค้นคว้าทางโบราณคดีที่เกี่ยวข้องกับประวัติศาสตร์กรุงศรีอ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และพระยาโบราณราชธานินทร์ (พร เดชะคุปต์) · ดูเพิ่มเติม »

พระราชสังวราภิมณฑ์ (โต๊ะ อินฺทสุวณฺโณ)

หรียญรูปเหมือนหลวงปู่โต๊ะ วัดประดู่ฉิมพลี พระราชสังวราภิมณฑ์ (โต๊ะ อินฺทสุวณฺโณ) (27 มีนาคม พ.ศ. 2430 – 5 มีนาคม พ.ศ. 2524) เป็นอดีตเจ้าอาวาสวัดประดู่ฉิมพลี เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพมหานคร หรือจังหวัดธนบุรีในอดีต เป็นพระคณาจารย์ที่รู้จักกันดี ด้วยวัตรอันปฏิบัติอันงดงามเป็นที่เคราพศรัทธาของชาวพุทธทุกชนชั้น ท่านถึงพร้อมด้วยบุญบารมีและอิทธิบารมี พระเครื่องของท่านมีปาฏิหาริย์ศักดิ์สิทธิ์ มีประสบการณ์เล่าขานมากมายจกเหนือจดใต้ทั่วประเทศไทย จนกลายเป็นพระหลักยอดนิยมของเมืองไทย ท่านได้ดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาสวัดประดู่ฉิมพลีเมื่อวันที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2456 - 5 มีนาคม พ.ศ. 2524 จนกระทั่งมรณภาพ รวมระยะเวลานานถึง 68 ปี ขณะนี้ พระครูวินัยธรเพลิน ดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาสมาตั้งแต่วันที่ 19 พฤศจิกายน 2555 จนถึงปัจจุบัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และพระราชสังวราภิมณฑ์ (โต๊ะ อินฺทสุวณฺโณ) · ดูเพิ่มเติม »

พระราชสันตติวงศ์ในพระเจ้าคริสเตียนที่ 9 แห่งเดนมาร์ก

มเด็จพระราชาธิบดีคริสเตียนที่ 9 เจ้าหญิงหลุยส์แห่งเฮสส์-คาสเซิล ราชสันตติวงศ์ในสมเด็จพระราชาธิบดีคริสเตียนที่ 9 (Descendants of King Christian IX) เป็นเรื่องราวของการสืบสายพระโลหิตของพระราชโอรสและธิดาทั้งหมด 6 พระองค์ในสมเด็จพระราชาธิบดีคริสเตียนที่ 9 แห่งเดนมาร์ก (8 เมษายน พ.ศ. 2361 - 29 มกราคม พ.ศ. 2449 เสวยราชสมบัติ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2406) โดยมีพระราชนัดดา 39 พระองค์ และพระราชปนัดดา (เหลน) 84 พระองค์ แต่ละพระองค์จึงเป็นทั้งพี่น้องกันหรือพระญาติชั้นที่หนึ่งซึ่งกันและกัน (first cousin) และด้วยการอภิเษกสมรสเข้าไปยังราชสำนักต่างๆ ของทวีปยุโรป พระองค์จึงทรงมีผลกระทบต่อโชคชะตาของราชวงศ์ยุโรปอย่างมาก โดยทรงเกี่ยวข้องทางสายพระโลหิตและการอภิเษกสมรสกับราชวงศ์อังกฤษ นอร์เวย์ เบลเยียม กรีซ โรมาเนีย ยูโกสลาเวีย สเปน และรัสเซีย จึงทำให้ทรงได้รับพระราชสมัญญาว่า พระสัสสุระแห่งยุโรป (Father-in-Law of Europe) สมเด็จพระราชาธิบดีคริสเตียนที่ 9 ทรงครองราชบัลลังก์แห่งเดนมาร์กเป็นเวลานานเกือบ 50 ปี ในระหว่างปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และพระราชสันตติวงศ์ในพระเจ้าคริสเตียนที่ 9 แห่งเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

พระราชสันตติวงศ์ในซาร์นีโคไลที่ 1 แห่งรัสเซีย

ระจักรพรรดินิโคลาสที่ 1 แห่งรัสเซีย เจ้าฟ้าหญิงชาร์ล็อตแห่งปรัสเซีย พระราชสันตติวงศ์ในสมเด็จพระจักรพรรดินิโคลาสที่ 1 (Descendants of Emperor Nicholas I) เป็นเรื่องราวของการสืบสายพระโลหิต เริ่มจากการอภิเษกสมรสของสมเด็จพระจักรพรรดินิโคลาสที่ 1 แห่งรัสเซีย (6 กรกฎาคม พ.ศ. 2339 - 2 มีนาคม พ.ศ. 2398 เสวยราชสมบัติ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2368 สืบต่อจากสมเด็จพระจักรพรรดิอเล็กซานเดอร์ที่ 1 พระบรมเชษฐาธิราช) พระราชโอรสลำดับที่ 9 ในสมเด็จพระจักรพรรดิพอลที่ 1 แห่งรัสเซีย (พระราชโอรสในสมเด็จพระจักรพรรดินีแคเธอรีนที่ 2 แห่งรัสเซีย หรือ แคเธอรีนมหาราชินี) กับ สมเด็จพระจักรพรรดินีมารี เฟโอโดรอฟนาแห่งรัสเซีย (พระอิสริยยศเดิม เจ้าหญิงโซฟี-โดโรเธียแห่งเวือร์ทเท็มแบร์ก) ในวันที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2360 ณ พระราชวังฤดูหนาว กรุงเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก กับ เจ้าฟ้าหญิงชาร์ล็อตแห่งปรัสเซีย (ฟรีเดริเค หลุยซา ชาร์ล็อต วิลเฮลมินา; 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2341 - 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2403 ซึ่งทรงเปลี่ยนพระนามเป็น แกรนด์ดัชเชสอเล็กซานดรา เฟโอโดรอฟนาแห่งรัสเซีย หลังจากการเข้ารีตในนิกายออร์โธด็อกซ์รัสเซีย เมื่อวันที่ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2460) และมีพระราชโอรสธิดาทั้งหมด 7 พระองค์ พระราชนัดดา 31 พระองค์ และพระราชปนัดดาจำนวนหลายพระองค์ แต่ละพระองค์จึงเป็นพี่น้องกันหรือพระญาติชั้นที่หนึ่งซึ่งกันและกัน (first cousin) พระราชโอรสและพระราชธิดาที่สำคัญคือ สมเด็จพระจักรพรรดิอเล็กซานเดอร์ที่ 2 แห่งรัสเซีย แกรนด์ดัชเชสโอลกา นิโคไลเยฟนาแห่งรัสเซีย (สมเด็จพระราชินีแห่งเวือร์ทเท็มแบร์ก) ส่วนพระราชนัดดาที่สำคัญคือ สมเด็จพระจักรพรรดิอเล็กซานเดอร์ที่ 3 แห่งรัสเซีย แกรนด์ดัชเชสโอลกา คอนสแตนตินอฟนาแห่งรัสเซีย (ต่อมา สมเด็จพระราชินีแห่งกรีซ) และแกรนด์ดัชเชสอนาสตาเซีย มิคาอิลอฟนาแห่งรัสเซีย (ต่อมาคือ แกรนด์ดัชเชสแห่งเม็คเล็นบูร์ก-ชเวริน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และพระราชสันตติวงศ์ในซาร์นีโคไลที่ 1 แห่งรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอลงกฏ กรมหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์

ลเอก พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอลงกฎ กรมหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์ พลเอก พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอลงกฎ กรมหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์ (24 ตุลาคม พุทธศักราช 2423 - 19 ธันวาคม พุทธศักราช 2495) อดีตรองเสนาบดีกระทรวงกลาโหมและอดีตประธานองคมนตรี ประสูติ ณ วังท้ายวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม เมื่อวันอาทิตย์ แรม 6 ค่ำ เดือน 11 ปีมะโรง จุลศักราช 1242 ตรงกับวันที่ 24 ตุลาคม พุทธศักราช 2423 เมื่อประสูติทรงเป็นหม่อมเจ้าลำดับที่ 5 ของจำนวนพระโอรสและพระธิดาทั้งสิ้น 37 พระองค์ ใน พลโท พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศุขสวัสดี กรมหลวงอดิศรอุดมเดช และเป็นลำดับที่ 3 ในจำนวน 3 พระองค์ของหม่อมมารดา คือ หม่อมขาบ พุทธศักราช 2473 ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้า ฯ ให้สถาปนาพระอิสริยยศเป็น พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า โดยมีคำนำพระนามตามจารึกในพระสุพรรณบัฏว่า พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอลงกฎ ครุฑนาม ทรงศักดินา 3000 ตามพระราชกำหนดอย่างพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า พุทธศักราช 2495 ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้า ฯ ให้เฉลิมพระยศเป็นพระองค์เจ้าต่างกรม มีพระนามตามจารึกในพระสุพรรณบัฏว่า พระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์ ครุฑนาม ทรงศักดินา 11000 ตามอย่างธรรมเนียม พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าต่างกรมทั้งปวง และให้ทรงตั้งเจ้ากรมเป็นหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์ ถือศักดินา 500 ปลัดกรมเป็นพันบริรักษ์ภูเบศร ถือศักดินา 300 สมุห์บัญชีเป็นพันวิเศษพลขันธ์ ถือศักดินา 200 พลเอก พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอลงกฎ กรมหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์ ประชวรด้วยพระโรคไข้ไทฟอยด์ โดยมีพระอาการหนักจนถึงสิ้นพระชนม์ ณ โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า ในวันที่ 19 ธันวาคม พุทธศักราช 2495 สิริรวมพระชันษา 72 ปี 1 เดือน 26 วัน ประกอบพิธีพระราชทานเพลิงพระศพออกเมรุ ณ วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม วันที่ 14 มิถุนายน พุทธศักราช 2496 ในระหว่างพระชนม์ชีพ พลเอก พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอลงกฎ กรมหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์ ได้ทรงปฏิบัติหน้าที่ราชการสนองคุณมาตั้งแต่แผ่นดินพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยเสด็จออกไปจัดระเบียบกองทหารสำหรับประจำรักษาหัวเมืองในมณฑลภาคพายัพ ตามพระบรมราโชบายเพื่อรักษาความปลอดภัยแห่งพระราชอาณาเขต อันเป็นผลสืบเนื่องมาจากการก่อความไม่สงบของพวกเงี้ยวในภาคเหนือ จนได้ดำรงพระยศและพระตำแหน่งเป็นนายพลตรีผู้บัญชาการกองพลที่ 7 มณฑลพิษณุโลก ต่อมาในแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในรัชกาลที่ 6 ได้ทรงเป็นแม่ทัพกองที่ 2 และนายพลโทแม่ทัพกองทัพน้อยทหารบกที่ 2 ครั้นถึงรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในรัชกาลที่ 7 ได้รับพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้า ฯ ให้ย้ายกลับเข้ามาในพระนครเพื่อให้ทรงเป็น จเรทหารบก เสนาธิการทหารบก และรองเสนาบดีกระทรวงกลาโหม จนกระทั่งพ้นจากหน้าที่ราชการเมื่อคณะราษฎรได้เปลี่ยนแปลงการปกครองแผ่นดิน ดำรงพระฐานะเป็น "นายทหารนอกราชการ" และ "นายทหารพ้นราชการ" อยู่นานถึงประมาณ 15 ปี จนกระทั่ง ปีพุทธศักราช 2490ในรัชกาลของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช จึงทรงได้รับพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้า ฯ ให้กลับมารับพระราชทานสนองพระราชภาระงานฝ่ายพระมหากษัตริย์ให้ทรงดำรงตำแหน่งต่าง ๆ คือ อภิรัฐมนตรี คณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ องคมนตรี และประธานองคมนตรี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอลงกฏ กรมหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

พระอริยเวที (เขียน ฐิตสีโล)

หลวงปู่เขียน ฐิตสีโล (29 ตุลาคม พ.ศ. 2456 - 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2547) เป็นพระภิกษุสังกัดคณะสงฆ์ธรรมยุตินิกาย ชาวจังหวัดกาฬสินธุ์ เป็นพระราชาคณะชั้นสามัญ ในราชทินนามตามสัญญาบัตรว่า พระอริยเวที อดีตเจ้าอาวาสวัดสุทธจินดา อดีตเจ้าอาวาสวัดรังสีปาลิวัน และอดีตเจ้าคณะจังหวัดนครราชสีมา เป็นพระเถราจารย์ผู้ปฏิบัติตามพระธรรมวินัยอย่างเคร่งครัด เป็นที่น่าเคารพสักการบูชาของบรรดาศิษยานุศิษย์ ซึ่งเป็นที่ประจักษ์แก่พุทธศาสนิกชนทุกหมู่เหล่า รวมทั้ง เป็นเพื่อนสหธรรมิกกับสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก และพระธรรมวิสุทธิมงคล (บัว ญาณสมฺปนฺโน) ตั้งแต่ครั้งสมัยที่ท่านทั้งสามยังมีอายุพรรษาไม่มากนัก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และพระอริยเวที (เขียน ฐิตสีโล) · ดูเพิ่มเติม »

พระจุฬาราชมนตรี (สอน อหะหมัดจุฬา)

ระจุฬาราชมนตรี (สอน อหะหมัดจุฬา) เป็นบุตรพระยาจุฬาราชมนตรี (สัน อหะหมัดจุฬา) กับคุณหญิงถนอม เกิดเมื่อวันที่ 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2437 เข้ารับราชการในกรมท่าขวา ได้เป็นหลวงราชเศรษฐีเมื่อ พ.ศ. 2456 ได้รับการแต่งตั้งเป็นจุฬาราชมนตรีเมื่อ พ.ศ. 2473 ถือเป็นจุฬาราชมนตรีคนสุดท้ายในสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ถึงแก่กรรมเมื่อ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2493 รวมอายุได้ 56 ปี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และพระจุฬาราชมนตรี (สอน อหะหมัดจุฬา) · ดูเพิ่มเติม »

พระครูสังวรสมณกิจ (ทิม อตฺตสนฺโต)

หลวงปู่ทิม อตฺตสนฺโต (10 มีนาคม พ.ศ. 2456 - 22 มีนาคม พ.ศ. 2552) ท่านเป็นอดีตเจ้าอาวาสวัดพระขาว อำเภอบางบาล จังหวัดพระนครศรีอ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และพระครูสังวรสมณกิจ (ทิม อตฺตสนฺโต) · ดูเพิ่มเติม »

พระครูอดุลธรรมกิตติ์ (หลวงพ่อกลั่น อคฺคธมฺโม)

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และพระครูอดุลธรรมกิตติ์ (หลวงพ่อกลั่น อคฺคธมฺโม) · ดูเพิ่มเติม »

พระครูจ้อย จนฺทสุวณฺโณ

หลวงพ่อจ้อย จนฺทสุวณฺโณ (8 เมษายน พ.ศ. 2456 — 16 เมษายน พ.ศ. 2550) เทพเจ้าแห่งเมืองปากน้ำโพ อดีตเจ้าอาวาส วัดศรีอุทุมพร เป็นพระผู้เปี่ยมไปด้วยเมตตากรุณา เป็นพระนักพัฒนา ที่ชาวจังหวัดนครสวรรค์ และเขตติดต่อ ให้ความเคารพนับถือ ผู้บุกเบิกสร้างวัดและหมู่บ้าน แต่เดิมโยมท่านและตัวท่านมีภูมิลำเนาถิ่นฐานอยู่บ้านดอนหวาย ตำบลพรวงสองนาง อำเภอทัพทัน จังหวัดอุทัยธานี โยมชายหญิงของท่านเห็นว่าที่ทำกินมันชักจะแคบเข้าทุกที ทำนาไม่เพียงพอลูกที่มีเพิ่มขึ้นชีวิตในโลกนี้คือการดิ้นรน คนส่วนมากของประเทศโดยเฉพาะชาวไร่ชาวนาดิ้นรนเพียงเพื่อมีชีวิตอยู่ทุ่มเทชีวิตเรี่ยวแรงหยาดเหงื่อทุกหยด เพื่อความมีชีวิตของตน สมัยนั้นมีดินป่าไม้ยังรกร้างว่างเปล่า ไม่ต้องยื้อแย่งกรรมสิทธิ์อะไรกัน ผู้คนพลเมืองยังมีน้อย “ดินดีเพราะป่าปก ป่ารกเพราะเสือยัง” มีอยู่มากมายใครมีกำลังเรี่ยวแรงเท่าไรก็มาหักล้างถางพงให้เป็นไร่เป็นนาเอาตามความสามารถของตน พอทำกินเลี้ยงลูกเมียแล้วก็พอใจ มิได้กำเริบใจจะเป็นนายทุนเจ้าของที่ดินเป็นหมื่นเป็นพันไร่อย่างในปัจจุบันนี้เมื่อทราบว่าทางบ้านวังเดื่อ ตำบลหนองกรด จังหวัดนครสวรรค์ ยังมีที่ดินว่างเปล่าอยู่มาก จึงไปปรึกษาชักชวนกันอพยพจากถิ่นเดิม เอาพริก เอาเกลือ เอาข้าวใส่โคเทียมเกวียนมา จอบเสียมเครื่องมือทำกินก็เอามาพร้อมเดินทางรอนแรม ค่ำไหนนอนนั่นมาหลายวันหลายคืนผ่านมาทางหนองขุย ห้วยอีด่าง ลักเข้าหนองกล้ำเข้าดอนเพชร โนนแดง ข้ามแม่น้ำแควตากแดด ขึ้นบ้านวังหินดาร หนองกระทุ่ม เรื่อยมา ทางรถเรียบรถยนต์วิ่งได้สบายบรื๋อ อย่างเดียวนี้หามีไม่ เกวียนมีสิทธิ์ที่จะใช้ทางเกวียนอย่างเต็มที่ ก็ทางเกวียนนี่แหละ ที่เป็นเครื่องวัดนิสัยใจคอของคนไทยแต่ไรมา เมืองไทยอากาศมันร้อน จะเดินทางไปไหนก็ลดเลี้ยวเลี่ยงไปเดินตามร่มเงา หรือที่ไหนรกทึบด้วยแมกไม้ ยากเกินไปที่จะบุกป่าฝ่าหนาม ก็เลี่ยงเดินเสียที่มันเตียนไม่ต้องออกแรง ทางที่เริ่มขึ้นเป็นทางเดินเท้าต่อมาก็ขยายกว้างเป็นทางเกวียน โคกระบือเทียมเกวียนจึงพาเกวียนเลี้ยวลดไปตามทางที่มีอยู่ ที่จะลัดตัดตรงนั้นไม่มี โบราณว่าเกวียนหนีทางไม่ได้ กว่าจะพาครอบครัวอพยพถึงวังเดื่อได้ก็หลายวันเต็มที ครอบครัวของหลวงพ่อจ้อย นับว่าเป็นผู้บุกเบิกดินแดนถิ่นนี้เป็นครั้งแรก ตั้งหน้าหักร้างถางป่า อีกหลายปีจึงมีที่ดินทำไร่ไถนาได้พอเลี้ยงกัน จากนั้นก็ไปชักชวนเพื่อนพวกพี่น้องในถิ่นเดิม ให้มาบุกเบิกทำกินกันตามกำลัง “ดินดีเพราะป่าปก ป่ารกเพราะเสือยัง” เหลืออยู่อีกมากมาย ไม่หวงแหนกีดกันเอาเป็นของตนแต่ผู้เดียวเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่กันตามประสาไทย ใครมีแรงมากเอาให้มาก มีแรงน้อยก็เอาแต่พอแรงของตน บ้านวังเดื่อที่เคยเป็นป่า บักนี้ก็ค่อยๆกลายเป็นแหล่งชุมชนของหมู่บ้านและที่เราเรียกกันว่า “บ้านวังเดื่อ” เพราะว่าได้มีต้นมะเดื่อขนาดสูงใหญ่ขึ้นอยู่ที่ริมคลองหลังวัด และในปัจจุบันนี้ก็ยังคงเหลือเพียงแต่ตอของต้นมะเดื่อที่จมอยู่ในคลองของด้านหลังวัด และเราจะสามารถเห็นตอนี้ได้ก็ต่อเมื่อน้ำในคลองได้ลดลง ต่อมาโยมพ่อโยมแม่และญาติโยมชาวบ้านวังเดื่อได้พร้อมใจกันยกที่ให้หลวงพ่อได้ทำการสร้างเป็นที่พักสงค์ เพื่อจะเอาไว้เป็น ที่สาธารณประโยชน์ในการบำเพ็ญกุศล แล้วจึงได้นิมนต์พระภิกษุสงค์มาจำพรรษาอยู่ที่สำนักสงค์แห่งนี้ ต่อมาทางคณะสงค์ได้จัด ตั้งวัดขึ้นให้เป็นวัดที่สมบูรณ์แบบถูกต้องตามกฎหมาย ชื่อว่า “วัดศรีอุทุมพร” เพราะว่าตามหลักภาษาบาลี “ไม้มะเดื่อ” นั้นแปลว่า “ไม้อุทุมพร” พอเติมคำว่า “ศรี” เข้าไปก็เป็น “วัดศรีอุทุมพร” คือวัดที่เป็นสิริงดงาม จึงเป็นมงคลนาม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และพระครูจ้อย จนฺทสุวณฺโณ · ดูเพิ่มเติม »

พระครูนิสิตคุณากร (กัน คงฺครตโน)

ระครูนิสิตคุณากร(กัน คงฺครตโน) (11 เมษายน พ.ศ. 2435 - 17 ตุลาคม พ.ศ. 2513) เป็นพระเถระชั้นผู้ใหญ่อีกท่านหนึ่งในจังหวัดนครสวรรค์ เป็นเจ้าอาวาสวัดเขาแก้ว, อดีตเจ้าคณะตำบลพยุหะ และเป็น 1 ใน 3 พระเกจิที่มีชื่อเสียงของอำเภอพยุหะคีรี ร่วมกับ หลวงพ่อเทศกับหลวงพ่อเดิม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และพระครูนิสิตคุณากร (กัน คงฺครตโน) · ดูเพิ่มเติม »

พระครูโพธิสารประสาธน์ (บุญมี อคฺคปุญฺโญ)

ระครูโพธิสารประสาธน์ (หลวงพ่อบุญมี อคฺคปุญฺโญ) อดีตเจ้าอาวาสวัดโพธิสัมพันธ์องค์แรก ท่านเป็นผู้สร้างวัดโพธิสัมพันธ์ และริเริ่มสร้างโรงเรียนประถมภายในวัดคือ โรงเรียนวัดโพธิสัมพันธ์ (ปัจจุบันชื่อ โรงเรียนเมืองพัทยา 9 (วัดโพธิสัมพันธ์) และโรงเรียนมัธยมคือ โรงเรียนโพธิสัมพันธ์พิทยาคาร และริเริ่มสร้างถนนซอยโพธิสารในปัจจุบัน ท่านเชี่ยวชาญด้านยาสมุนไพรพื้นบ้าน (พระหมอ) และเชี่ยวชาญด้านการดูของหาย ด้านการนั่งสมาธิท่านเก่งมาก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และพระครูโพธิสารประสาธน์ (บุญมี อคฺคปุญฺโญ) · ดูเพิ่มเติม »

พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน

ระตำหนักจิตรลดารโหฐาน สวนจิตรลดา พระราชวังดุสิต พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน เป็นพระตำหนักในพระราชวังดุสิต ตั้งอยู่ที่แขวงสวนจิตรลดา เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร ปัจจุบันเป็นที่ประทับของ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ในรัชกาลที่9.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และพระตำหนักจิตรลดารโหฐาน · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าชุมสาย กรมขุนราชสีหวิกรม

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าชุมสาย กรมขุนราชสีหวิกรม เป็นพระราชโอรสลำดับที่ 21 ในพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวและเจ้าจอมมารดาเอมใหญ่ ประสูติเมื่อวันพุธ ขึ้น 10 ค่ำ เดือน 4 ปีชวด ตรงกับวันที่ 12 มีนาคม พ.ศ. 2359 พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าฯ ทรงสถาปนาเป็นกรมหมื่นราชสีหวิกรม แล้วต่อมาทรงเลื่อนเป็นกรมขุนราชสีหวิกรม โปรดเกล้าฯให้ทรงกำกับกรมช่างศิลาในกรมช่างสิบหมู่ สิ้นพระชนม์ในรัชกาลที่ 4 เมื่อวันศุกร์ ขึ้น 9 ค่ำ เดือน 11 ปีมะโรง ตรงกับ พ.ศ. 2411 พระชันษา 53 ปี พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าชุมสาย กรมขุนราชสีหวิกรม ทรงเป็นต้นราชสกุล ชุมสาย ทรงมีหม่อม 1 ท่านคือหม่อมน้อย อดีตหม่อมในกรมหมื่นมาตยาพิทักษ์ พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามสกุลแก่ หลวงสฤษดิ์สุทธิวิจารณ (หม่อมราชวงศ์ผัด) ผู้ขอเมื่อวันที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2456 เป็นสกุลอันดับที่ 365 ตามประกาศวันที่ 12 กันยายน พ.ศ. 2456.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าชุมสาย กรมขุนราชสีหวิกรม · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพชรอัครโยธิน

นายพลเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพ็ชรอัครโยธิน หรือ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร (23 มกราคม พ.ศ. 2424 - 14 กันยายน พ.ศ. 2479) พระบิดาแห่งกิจการวิทยุกระจายเสียงไทย พระบิดาแห่งการรถไฟไทย พระบิดาแห่งการท่องเที่ยวไทย และ พระบิดาแห่งโรตารีไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพชรอัครโยธิน · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภัทรายุวดี

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภัทรายุวดี หรือ พระองค์เจ้าหญิงบีเอตริศภัทรายุวดี เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นพระราชบุตรลำดับที่ 3 ที่ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาแสง ประสูติเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2419 พระนาม บีเอตริศภัทรายุวดี นั้น ทรงตั้งตามพระนามพระราชธิดาพระองค์สุดท้องในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย คือ เจ้าฟ้าหญิงเบียทริซแห่งสหราชอาณาจักร พระองค์เจ้าหญิงภัทรายุวดี มีพระเชษฐา พระขนิษฐา ร่วมเจ้าจอมมารดา ได้แก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภัทรายุวดี · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีนาคสวาดิ

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีนาคสวาดิ (14 กรกฎาคม พ.ศ. 2398 — 7 สิงหาคม พ.ศ. 2456) พระราชธิดาพระองค์ที่ 19 ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 กับพระองค์ที่ 3 ในเจ้าจอมมารดาเที่ยง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีนาคสวาดิ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศุขสวัสดี กรมหลวงอดิศรอุดมเดช

ตราประจำพระองค์ พลโท พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศุขสวัสดี กรมหลวงอดิศรอุดมเดช เมื่อประสูติมีพระนามว่า พระเจ้าลูกยาเธอ พระองค์เจ้าชายศุขสวัสดี เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่ 23 ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาจันทร์ เมื่อวันศุกร์ เดือน 4 ขึ้น 9 ค่ำ ปีเถาะสัปตศก..

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศุขสวัสดี กรมหลวงอดิศรอุดมเดช · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรประวัติวรเดช กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดช

อมพล พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรประวัติวรเดช กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดช หรือพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรประวัติวรเดช กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดชเป็นพระราชโอรสองค์ที่ ๑๗ ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่ เจ้าจอมมารดาทับทิม โดยเป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวกลุ่มแรกที่ทรงไปศึกษาต่อในทวีปยุโรป เมื่อกลับมาประเทศไทยทรงเข้ารับราชการในกองทัพบกและกระทรวงกลาโหมในตำแหน่งต่างๆ และทรงเป็นจอมพลพระองค์ที่ 2 ของกองทัพบกสยาม พระองค์ทรงเป็นต้นราชสกุล "จิรประวัติ".

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรประวัติวรเดช กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดช · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสณบัณฑิต กรมขุนพิทยลาภพฤฒิธาดา

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสณบัณฑิต กรมขุนพิทยลาภพฤฒิธาดา เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่ 62 ของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ประสูติแต่ท้าววรจันทร์ (เจ้าจอมมารดาวาด) ซึ่งท้าววรจันทร์(เจ้าจอมมารดาวาด)เป็นธิดานายสมบุญ งามสมบัติ กับท้าวปฏิบัติบิณฑทาน (ถ้วย) พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสณบัณฑิต กรมขุนพิทยลาภพฤฒิธาดาประสูตรเมื่อวันพุธ เดือน 5 ขึ้น 13 ค่ำ ปีกุนเบญจศก..

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสณบัณฑิต กรมขุนพิทยลาภพฤฒิธาดา · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าฟุอาดที่ 1 แห่งอียิปต์

ระเจ้าฟุอาดที่ 1 แห่งอียิปต์ (อาหรับ:فؤاد الأول‎) (26 มีนาคม ค.ศ. 1868-28 เมษายน ค.ศ. 1936) สุลต่านและกษัตริย์อียิปต์และซูดาน, องค์อธิปัตย์แห่งนิวเบีย, คูร์ดูฟาน และดาร์ฟูร์ พระองค์เป็นกษัตริย์องค์ที่เก้าแห่งราชวงศ์มูฮัมหมัดอาลี โดยพระองค์ครองราชย์เป็นสุลต่านแห่งอียิปต์และซูดานเมื่อ ค.ศ. 1917 โดยครองราชย์ต่อจากพระเชษฐาของพระองค์ คือ สุลต่านฮุสเซน คามิล โดยพระองค์ตั้งตนเป็นกษัตริย์พระองค์แรกของอียิปต์ หลังจากพ้นจากการปกครองของสหราชอาณาจักร เมื่อ ค.ศ. 1922.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และพระเจ้าฟุอาดที่ 1 แห่งอียิปต์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเสรฐวงษ์วราวัตร กรมหมื่นอนุพงษ์จักรพรรดิ์

ระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นอนุพงษ์จักรพรรดิ์ จางวางมหาดเล็ก มีพระนามเดิมว่าพระองค์เจ้าเสรฐวงษ์วราวัตร (6 กันยายน พ.ศ. 2421 - 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2475) จางวางพิเศษพระราชวังบางปะอิน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเสรฐวงษ์วราวัตร กรมหมื่นอนุพงษ์จักรพรรดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าจอร์จที่ 1 แห่งกรีซ

มเด็จพระราชาธิบดีจอร์จที่ 1 แห่งกรีซ (Γεώργιος A', Βασιλεύς των Ελλήνων; 24 ธันวาคม พ.ศ. 2388 - 18 มีนาคม พ.ศ. 2456) เป็นพระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรกรีซ ตั้งแต่ พ.ศ. 2406 - พ.ศ. 2456 โดยเป็นพระประมุขของราชวงศ์กรีกใหม่ ระยะเวลาการครองราชย์ 50 ปีของพระองค์ (ซึ่งถือว่ายาวนานที่สุดในประวัติศาสตร์กรีกยุคใหม่) อยู่ในช่วงการได้ดินแดนเพิ่มขึ้นและการพัฒนาทางการเมืองในฐานะที่ประเทศกรีซได้ตั้งตัวเองเป็นประเทศขึ้นในยุโรปช่วงก่อนสงครามโลก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และพระเจ้าจอร์จที่ 1 แห่งกรีซ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าคอนสแตนตินที่ 1 แห่งกรีซ

ระเจ้าคอนสแตนตินที่ 1 แห่งกรีซ (Κωνσταντῖνος Αʹ, Βασιλεὺς τῶν Ἑλλήνων, Konstantínos Αʹ, Vasiléfs ton Ellínon; 12 สิงหาคม พ.ศ. 2411 – 11 มกราคม พ.ศ. 2466) เป็นพระมหากษัตริย์กรีซตั้งแต..

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และพระเจ้าคอนสแตนตินที่ 1 แห่งกรีซ · ดูเพิ่มเติม »

พระเขมสารโสภณ (ธรรมนูญ ธุวสีโล)

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และพระเขมสารโสภณ (ธรรมนูญ ธุวสีโล) · ดูเพิ่มเติม »

พอล แอร์ดิช

อล แอร์ดิช (Paul Erdős บางครั้งสะกด Erdos หรือ Erdös; Erdős Pál; 26 มี.ค. พ.ศ. 2456 - 20 ก.ย. พ.ศ. 2539) เป็นนักคณิตศาสตร์ผู้โดดเด่น ทั้งในด้านผลงาน และพฤติกรรมอันแปลกประหลาด ผลงานตีพิมพ์ของเขามีจำนวนมหาศาล มีผู้ร่วมตีพิมพ์รวมแล้วนับร้อยคน และเกี่ยวพันกับหลาย ๆ สาขาในคณิตศาสตร์ อาทิ คณิตศาสตร์เชิงการจัด ทฤษฎีกราฟ ทฤษฎีจำนวน การวิเคราะห์แบบคลาสสิก ทฤษฎีการประมาณ ทฤษฎีเซต และ ทฤษฎีความน่าจะเป็น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และพอล แอร์ดิช · ดูเพิ่มเติม »

พิมพ์ รัตนคุณสาสน์

นายพิมพ์ รัตนคุณสาสน์ เป็นกวีอีสาน ที่มีความสามารถในการประพันธ์กลอนลำได้ทุกรูปแบบ จนได้รับยกย่องในนาม พิมพ์กวี ศรีอีสาน และเป็นสามัญชนคนแรกที่ได้รับพระราชทานปริญญาศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวรรณกรรม จากมหาวิทยาลัยขอนแก่น จนมีคำเรียกติดปากคนทั่วไปว่า ดร.พ่อใหญ่พิม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และพิมพ์ รัตนคุณสาสน์ · ดูเพิ่มเติม »

พิธีบูชายัญในฤดูใบไม้ผลิ

การแสดงในอิตาลี เมื่อปี 2009 เลอ ซาเกร ดู แปร็งตอง (Le sacre du printemps; Весна священная, Vesna svyashchennaya; The Rite of Spring) หรือเรียกย่อว่า เลอ ซาเกร (Le sacre), เดอะ ไรท์ (The Rite) เป็นบัลเลต์เรื่องที่สามของอิกอร์ สตราวินสกี ออกแสดงครั้งแรกเมื่อ..

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และพิธีบูชายัญในฤดูใบไม้ผลิ · ดูเพิ่มเติม »

กระจ่าง ตุลารักษ์

ร้อยโท กระจ่าง ตุลารักษ์ หรือ นายกระจ่าง ตุลารักษ์ (2456 — 23 มิถุนายน 2552) หนึ่งในสมาชิกคณะราษฎร ผู้ทำการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 และอดีตกรรมการบริหารพรรคประชาธิปัตย์ นายกระจ่าง เป็นชาวไทยเชื้อสายจีน เกิดเมื่อปี พ.ศ. 2456 ที่อำเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทรา เข้าร่วมกับคณะราษฎรด้วยวัยเพียง 19 ปี ขณะยังเป็นนักเรียนช่างกลอยู่ จากการชักชวนของพี่ชาย คือ นายสงวน ตุลารักษ์ โดยเข้ามาเป็นสมาชิกคณะราษฎรในสายพลเรือนเพียง 5 วัน ก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครองเท่านั้น โดยนายสงวนได้มอบหมายให้นายกระจ่างพาเพื่อนร่วมอุดมการณ์ที่มีพฤติกรรมดี ไม่ดื่มเหล้า ไม่ติดการพนัน เข้าร่วมเป็นคณะราษฎรเพิ่มด้วย 2-3 คน ในเช้าวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 ซึ่งเป็นวันเปลี่ยนแปลงการปกครอง นายกระจ่างรับหน้าที่ควบคุมตัวบุคคลสำคัญและเจ้านายชั้นสูงในพระที่นั่งอนันตสมาคม รวมถึงอารักขาหัวหน้าคณะราษฎรด้วย โดยไม่ได้รับรู้มาก่อนเลยว่าจะมีการเปลี่ยนแปลงการปกครอง เพราะเป็นบุคคลระดับเล็ก ๆ ไม่ได้รับรู้ถึงแผนการชั้นสูง ภายหลังเปลี่ยนแปลงการครอง ที่สมาชิกคณะราษฎรหลายคนได้มีตำแหน่งและบทบาททางการเมือง แต่นายกระจ่างก็ได้กลับไปเป็นลูกจ้างตามเดิม โดยไม่มีตำแหน่งใด ๆ ทั้งสิ้น เนื่องจากอายุยังน้อยอยู่ จนกระทั่งเกิดสงครามมหาเอเชียบูรพาขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2484 นายกระจ่างได้ร่วมกับขบวนการเสรีไทย โดยได้ปฏิบัติหน้าที่เล็ดรอดเข้าไปในประเทศจีนเพื่อให้ความคุ้มครองบุคคลสำคัญต่าง ๆ และปฏิบัติงานอยู่ตามตะเข็บชายแดนไทย-ลาว และลาว-เวียดนาม หลังเสร็จสงครามแล้วได้รับยศเป็น ร้อยโท (ร.ท.) จากนั้น ร.ท.กระจ่างก็ได้กลับไปใช้ชีวิตอยู่กับครอบครัวที่จังหวัดยะลา โดยได้เปิดกิจการโรงเลื่อยที่อำเภอรามัน และได้สมรสกับนางพวงเพ็ชร (นามเดิม: สวนเพ็ชร โกวิทยา) ซึ่งเป็นภรรยา มีบุตรธิดารวมทั้งสิ้น 4 คน ร.ท.กระจ่าง เคยเป็น ส.ส. จังหวัดขอนแก่น จากการเลือกตั้งเมื่อเดือนมกราคม พ.ศ. 2489 จากนั้น เมื่อหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช อดีตหัวหน้าเสรีไทยสาย สหรัฐอเมริกา ได้เข้ารับตำแหน่งหัวหน้า พรรคประชาธิปัตย์ ต่อจากนายควง อภัยวงศ์ ที่ถึงแก่อสัญกรรมไปเมื่อปี พ.ศ. 2511 ร.ท.กระจ่างได้สมัครเป็นสมาชิกพรรค และได้ลงเลือกตั้งเป็น ส.ส. ในจังหวัดยะลา แต่ไม่ได้รับการเลือกตั้ง หลังจากนั้นชีวิตก็ได้วนเวียนอยู่ในแวดวงการเมืองมาโดยตลอด เช่น เป็นนักการเมืองท้องถิ่น และปลูกฝังทัศนคติทางการเมือง การปกครองแก่บุตรหลานและคนใกล้ชิด เป็นต้นกระทั่ง..

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และกระจ่าง ตุลารักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

กองพันทหารช่างที่ 1 รักษาพระองค์

กองพันทหารช่างที่ 1 รักษาพระองค์ มีต้นกำเนิดจากกองทหารอินยิเนียใน พ.ศ. 2418 โดยขึ้นตรงต่อกรมทหารมหาดเล็ก ผ่านการแปรสภาพหน่วยมาหลายครั้ง จนมาใช่ชื่อหน่วยในปัจจุบัน นับตั้งแต่ พ.ศ. 2496 เป็นต้นมา และจัดให้อยู่ในสายการบังคับบัญชาขึ้นตรงต่อกองพลที่ 1 รักษาพระองค์ ตั้งแต่ พ.ศ. 2515 จนถึงปัจจุบัน หน่วยทหารหน่วยนี้เคยเข้าร่วมรบในสงครามอินโดจีน สงครามมหาเอเชียบูรพา เคยเข้าร่วมการปราบปรามผู้ก่อการร้ายคอมมิวนิสต์ในยุทธการภูขวางใน พ.ศ. 2515 และมีบทบาทในภารกิจด้านการบรรเทาสาธารณภัยต่างๆ หลายครั้ง ปัจจุบันนี้มีที่ตั้งหน่วยอยู่ที่ เลขที่ 471 หมู่ 3 แขวงอนุสาวรีย์ เขตบางเขน กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และกองพันทหารช่างที่ 1 รักษาพระองค์ · ดูเพิ่มเติม »

กองทัพอากาศเวเนซุเอลา

กองทัพอากาศเวเนซุเอลา ถือกำเนิดขึ้นอย่างเป็นทางการในปี พ.ศ. 2463 แม้ในอดีตจะใช้ยุทโธปกรณ์จากหลายประเทศ แต่ด้วยความขัดแย้งระหว่างอดีตผู้นำของเวเนซุเอลา ฮูโก้ ชาเวซ กับ สหรัฐอเมริกา ทำให้เวเนซุเอลาต้องหันไปซื้อยุทโธปกรณ์จากประเทศจีนและรัสเซี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และกองทัพอากาศเวเนซุเอลา · ดูเพิ่มเติม »

กีฬาตะวันออกไกล

กีฬาชิงชนะเลิศแห่งตะวันออกไกล (The Far Eastern Championship Games) หรือที่รู้จักในชื่อ กีฬาตะวันออกไกล (Far East Games) เป็นการแข่งขันกีฬาหลายประเภท ระหว่างประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออก เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และเอเชียใต้ของทวีปเอเชีย จัดขึ้นโดย สมาคมกีฬาแห่งตะวันออกไกล (Far Eastern Athletic Association) อันมีหมู่เกาะฟิลิปปินส์ในอารักขาของสหรัฐอเมริกา สาธารณรัฐจีน และจักรวรรดิญี่ปุ่น เป็นสมาชิกผู้ก่อตั้ง มีการแข่งขันในช่วงระหว่าง พ.ศ. 2456 - พ.ศ. 2477 ซึ่งถือเป็นการเริ่มต้นพัฒนาไปสู่กีฬาเอเชียนเกมส์ในปัจจุบัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และกีฬาตะวันออกไกล · ดูเพิ่มเติม »

กีฬาตะวันออกไกล 1913

กีฬาตะวันออกไกล ครั้งที่ 1 ระหว่างวันที่ 4 - 11 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1913 จัดขึ้นที่ มะนิลา, หมู่เกาะฟิลิปปิน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และกีฬาตะวันออกไกล 1913 · ดูเพิ่มเติม »

ภีมราว รามชี อามเพฑกร

อกเตอร์ ภีมราว รามชี อามเพฑกร (भीमराव रामजी आंबेडकर) อดีตรัฐมนตรีกระทรวงแรงงานและกระทรวงยุติธรรมของอินเดีย และเป็นประธานร่างรัฐธรรมนูญของอินเดีย ท่านถูกยกย่องให้เป็น "บิดาแห่งรัฐธรรมนูญอินเดีย" อีกด้วย อามเพฑกร เป็นผู้อุปถัมภพระพุทธศาสนาในประเทศอินเดีย และได้เดินร่วม ขบวนกับ มหาตมา คานธี และชวาหระลาล เนห์รู เพื่อเรียกร้องเอกราชจากอังกฤษ ต่อมาเนห์รูได้เป็นนายกรัฐมนตรีและได้แต่งตั้งให้อามเพฑกร เป็นรัฐมนตรีกระทรวงแรงงานและกระทรวงยุติธรรม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และภีมราว รามชี อามเพฑกร · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยแอเคริน

มหาวิทยาลัยแอเคริน (University of Akron) เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐ ที่มีชื่อเสียงทางด้านการวิจัยพอลิเมอร์ในระดับแถวหน้าของโลก ตั้งอยู่ในเมืองแอเคริน รัฐโอไฮโอ สหรัฐอเมริกา อันได้ชื่อว่าเป็นเมืองหลวงแห่งการผลิตยาง และเป็นสมาชิกของกลุ่มระบบสถาบันอุดมศึกษาแห่งรัฐโอไฮโอ (the University System of Ohio) ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2413 โดยเป็น วิทยาลัยขนาดเล็กที่มีความร่วมมือกับ Universalist Church จากนั้นในปี พ.ศ. 2456 ได้โอนกรรมสิทธิ์ให้แก่เมืองแอเคริน และในปี พ.ศ. 2510 วิทยาลัยแห่งนี้จึงถูกยกฐานะเป็นมหาวิทยาลัยแห่งรัฐ (state institution) มหาวิทยาลัยแห่งนี้มุ่งเน้นงานวิจัยไปที่ STEM, พอลิเมอร์, วัสดุศาสตร์ขั้นสูง และวิศวกรรมศาสตร์ ซึ่งในช่วงสิบปีหลังได้มีผลงานวิจัยและได้รับการยอมรับมากขึ้นตามลำดั.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และมหาวิทยาลัยแอเคริน · ดูเพิ่มเติม »

มัวริส วิลค์ส

Maurice V. Wilkes เซอร์ มัวริส วิลค์ส (Sir Maurice Wilkes) เป็นนักวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ชาวอังกฤษ เกิดวันที่ 26 มิถุนายน พ.ศ. 2456 - died 29th november 2553 สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี-เอก ด้านฟิสิกส์ จากมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ทำงานในมหาวิทยาลัยในสถาบันวิจัยทางด้านการคำนวณ ต่อมาถูกเรียกตัวเข้าร่วมสงครามโลกครั้งที่หนึ่งและสองในงานเกี่ยวกับเรดาร์ พอสงครามสงบก็กลับมาทำงานในมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ดังเดิม พ.ศ. 2488 มัวริสได้รับการแต่งตั้งให้เป็นผู้อำนวยการสถาบันวิจัยทางด้านคำนวณ (Mathemetical Laboratory) ซึ่งต่อมาภายหลังสถาบันนี้ได้เปลี่ยนมาเป็น คณะคอมพิวเตอร์ (Computer Laboratory) ของมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ซึ่งเป็นที่แรกในโลกที่เริ่มทำการเรียนการสอนด้านคอมพิวเตอร์ สาเหตุที่คณะคอมพิวเตอร์เป็นอิสระออกมาได้ เพราะสมัยที่เป็นสถาบันวิจัยทางด้านการคำนวณนั้น เป็นแหล่งกำเนิดพื้นฐานของคอมพิวเตอร์พอสมควร (เช่น ทฤษฎีทัวริ่ง, เครื่อง Differential Analyser ของแบบเบจ หรือ ภาษาเครื่องของเอดา) อีกทั้งในยุคของมัวริส สามารถนำทฤษฎีเหล่านี้มาประยุกต์สร้างเครื่องคอมพิวเตอร์แบบเก็บโปรแกรมได้ (stored program computer) คือมีหน่วยความจำ (memory) สำเร็จเป็นเครื่องแรกของโลกชื่อ EDSAC ในปี พ.ศ. 2492..

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และมัวริส วิลค์ส · ดูเพิ่มเติม »

มาลีเอตัว ตานุมาฟิลิที่ 2

ระประมุขมาลีเอตัว ตานุมาฟิลิที่ 2 (His Highness Susuga Malietoa Tanumafili II) (4 มกราคม พ.ศ. 2456 – 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2550) เป็นพระประมุขแห่งรัฐเอกราชซามัว ทรงพระราชสมภพในวันที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2456 เป็นพระราชโอรสใน มาลีเอตัว ตานุมาฟิลิที่ 1 และโมโมเอ ลูเปอูลูอีวา มาเลอิเซอา ทรงขึ้นครองราชย์พร้อมกับ พระราชาธิบดีประมุขแห่งรัฐมุขตูปัว ตามาเซเซ ซึ่งครองราชย์อยู่ 2 ปี โดยส่วนพระองค์นับถือศาสนาบาไฮ พระราชาธิบดีประมุขแห่งรัฐมาลีเอตัว ขณะครองราชย์ทรงเคยเป็นประมุขแห่งรัฐ ที่มีพระชนมพรรษามากที่สุดในโลก และ ครองราชย์ยาวนานเป็นอันดับ 3 ของโลก พระองค์มีส่วนสำคัญที่ทำให้ซามัวเป็นเอกราชจากนิวซีแลนด์ได้.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และมาลีเอตัว ตานุมาฟิลิที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

มูลนิธิร็อกเกอะเฟลเลอร์

มูลนิธิร็อกเกอะเฟลเลอร์ (Rockefeller Foundation) เป็นองค์กรวิจัยเกี่ยวกับด้านวิทยาศาสตร์ตั้งอยู่ที่นครนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา ก่อตั้งโดย จอห์น ดี ร็อกกี้เฟลเลอร์ ในปี พ.ศ. 2456 มีการให้การสนับสนุนการวิจัยในด้านการแพทย์ทั่วโลกRockfound.org, มูลนิธิร็อกเกอะเฟลเลอร์เป็นมูลนิธิที่มุ่งเน้นเรื่องแหล่งพลังงานทั้งห้า ได้แก่ 1.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และมูลนิธิร็อกเกอะเฟลเลอร์ · ดูเพิ่มเติม »

รพินทรนาถ ฐากุร

รพินทรนาถ ฐากุร (রবীন্দ্রনাথ ঠাকুর, Robindronath Ţhakur) (7 พฤษภาคม 2404 - 7 สิงหาคม 2484) มีสมัญญานามว่า "คุรุเทพ" เป็นนักปรัชญาพรหโมสมัช นักธรรมชาตินิยม และกวีภาษาเบงกาลี เขาเริ่มเขียนบทกวีครั้งแรกตั้งแต่อายุเพียง 8 ปี ครั้นอายุได้ 16 ปี ก็ได้ตีพิมพ์เผยแพร่งานกวีนิพนธ์ภายใต้นามปากกา ภาณุสิงโห และเริ่มเขียนเรื่องสั้นกับบทละครในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และรพินทรนาถ ฐากุร · ดูเพิ่มเติม »

รัฐบาลเอโดะ

รัฐบาลเอโดะ หรือ รัฐบาลโชกุนโทกูงาวะ เป็นฝ่ายบริหารของประเทศญี่ปุ่นซึ่งใช้ระบอบศักดินา สถาปนาโดยโทกูงาวะ อิเอะยะสุ (徳川家康 Tokugawa Ieyasu) มีผู้ปกครองสูงสุดเป็นโชกุน (将軍 shōgun) ซึ่งต้องมาจากตระกูลโทกูงาวะ (徳川氏 Tokugawa-shi) เท่านั้น ในสมัยที่ประเทศญี่ปุ่นถูกปกครองโดยรัฐบาลโชกุนนั้น จะเรียกว่ายุคเอโดะ (江戸時代 edo-jidai) ตามชื่อเมืองเอโดะ ซึ่งรัฐบาลโชกุนสถาปนาให้เป็นเมืองหลวงแห่งใหม่ ปัจจุบัน คือกรุงโตเกียว (東京 Tōkyō) มีปราสาทเอโดะ (江戸城 Edo-jō) เป็นศูนย์กลางการปกครองตั้งแต่ ค.ศ. 1603 - 1868 จนกระทั่งถูกสมเด็จพระจักรพรรดิเมจิ (明治天皇 Meiji-tennō) ล้มล้างไปในการปฏิรูปสมัยเมจิ (明治維新 Meiji Ishin) หลังจากยุคเซงโงะกุ (戦国時代 Sengoku-jidai) หรือยุคไฟสงคราม โอดะ โนะบุนะงะ (織田 信長 Oda Nobunaga) และโทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะชิ (豊臣 秀吉 Toyotomi Hideyoshi) ได้ร่วมกันรวมอำนาจสู่ศูนย์กลาง และตั้งเป็นรัฐบาลกลางขึ้นอีกครั้งในยุคอะซึจิ-โมะโมะยะมะ (あづちももやまじだい Azuchi momoyama jidai) ซึ่งเป็นยุคสั้นๆ ก่อนยุคเอโดะ ต่อมา หลังจากยุทธการเซะกิงะฮะระ (関ヶ原の戦い Sekigahara no Tatakai) ซึ่งเป็นการรบครั้งใหญ่ในค.ศ. 1600 การปกครองและอำนาจทั้งหมด ได้ตกอยู่ในมือของโทกูงาวะ อิเอะยะสุโดยเบ็ดเสร็จ และสถาปนาตนเองเป็นโชกุนในปี ค.ศ. 1603 ซึ่งเป็นไปตามประเพณีโบราณ ที่ผู้เป็นโชกุนจะต้องสืบเชื้อสายจากต้นตระกูลมินะโมะโตะ (源 Minamoto) ในยุคของโทกูงาวะ ต่างจากยุคโชกุนก่อนๆ คือมีการนำระบบชนชั้นที่เริ่มใช้โดยโทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะชิ มาใช้อีกครั้งอย่างเข้มงวด โดยชนชั้นนักรบ หรือซามูไร (侍 Samurai) อยู่บนสุด ตามด้วยชาวนา ช่างฝีมือ และพ่อค้า การใช้ระบบชนชั้นอย่างเข้มงวดและไม่ยืดหยุ่นได้ทำให้เกิดจลาจลมาตลอดสมัย ภาษีที่เรียกเก็บจากชนชั้นชาวนานั้น อยู่ในอัตราคงที่โดยไม่คำนึงถึงอัตราเงินเฟ้อหรือการเปลี่ยนแปลงอื่นๆของค่าเงิน ส่งผลให้รายได้ภาษีที่เรียกเก็บจากชนชั้นซามูไร ผู้เป็นเจ้าของที่ดินมีมูลค่าลดลงเรื่อยๆตลอดยุค ซึ่งสาเหตุนี้ ก่อให้เกิดการเผชิญหน้าระหว่างซามูไรผู้ทรงเกียรติแต่ฐานะทางการเงินต่ำลงเรื่อยๆจากการจ่ายภาษี กับชาวนาผู้มีอันจะกิน เกิดเป็นการปะทะกันหลายต่อหลายครั้งที่เริ่มจากเหตุการณ์เล็กๆรุกลามเป็นเหตุการณ์วุ่นวาย อย่างไรก็ตาม ไม่มีสิ่งใดเปลี่ยนแปลงระบบสังคมยุคเอโดะได้ ตราบจนการเข้ามาของชาวตะวันตก เมื่อปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 กลุ่มไดเมียวผู้มีอำนาจ เช่น ตระกูลชิมะสึ (島津氏 Shimazu-shi) ได้ร่วมมือกับสมเด็จพระจักรพรรดิและพระบรมวงศานุวงศ์ ซึ่งในสมัยเอโดะเคยทรงเพียงศักดิ์แต่ไร้อำนาจ เพื่อโค่นล้มระบอบโชกุนในโดยสงครามโบะชิน (戊辰戦争 Boshin Sensō) ส่งผลให้เกิดการปฏิรูปเมจิโดยจักรพรรดิเมจิ รัฐบาลโชกุนโทกูงาวะถูกล้มล้างโดยสมบูรณ์ในค.ศ. 1868 โดยมีโทกูงาวะ โยชิโนบุ (徳川 慶喜 Tokugawa Yoshinobu) เป็นโชกุนคนที่ 15 และเป็นโชกุนคนสุดท้ายของญี่ปุ่น จากนั้น ญี่ปุ่นก็เข้าสู่ยุคเมจิ (明治時代 Meiji-jidai)อันมีการฟื้นฟูราชวงศ์มายังเมืองเอโดะ และเปลี่ยนชื่อเป็นกรุงโตเกียวดังเช่นปัจจุบัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และรัฐบาลเอโดะ · ดูเพิ่มเติม »

ราชกรีฑาสโมสร

ราชกรีฑาสโมสร ราชกรีฑาสโมสร (The Royal Bangkok Sports Club) เป็นสโมสรกีฬาในประเทศไทย หรือที่เรียกกันว่า สนามฝรั่ง ตั้งอยู่เลขที่ 1 ถนนอังรีดูนังต์ แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นที่ดินของสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2444 ประกอบด้วยสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับสมาชิก เพื่อการเล่นกีฬาประเภทต่างๆ เช่น สนามกอล์ฟ สระว่ายน้ำ สนามเทนนิส ห้องฟิตเนส นอกจากนี้ ยังมีการจัดแข่งม้าในวันอาทิตย์เว้นอาทิตย์ สลับกับราชตฤณมัยสมาคมแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ ปัจจุบันมีสมาชิกประมาณ 12,500 คน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และราชกรีฑาสโมสร · ดูเพิ่มเติม »

ราชสหพันธ์ฟุตบอลสเปน

ราชสหพันธ์ฟุตบอลสเปน (Real Federación Española de Fútbol) หรือ เอร์เรเฟฟ (RFEF) เป็นหน่วยงานที่ทำหน้าที่ดูแลกิจการฟุตบอลต่าง ๆ ในประเทศสเปน ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี ค.ศ. 1913 โดยสืบทอดองค์กรมาจากสหพันธ์สโมสรฟุตบอลสเปน (Federación Española de Clubs de Football) ซึ่งได้รับการก่อตั้งในปี ค.ศ. 1909 ปัจจุบันสหพันธ์มีสำนักงานใหญ่อยู่ที่นครฟุตบอลในเมืองลัสโรซัส ทางทิศตะวันตกของกรุงมาดริด ราชสหพันธ์ฟุตบอลสเปนเป็นสมาชิกสหพันธ์ฟุตบอลระหว่างประเทศ, สหภาพสมาคมฟุตบอลยุโรป และคณะกรรมการโอลิมปิกสเปน มีหน้าที่จัดการแข่งขันในระดับชั้นที่ 3 ของระบบลีกฟุตบอลสเปน และดูแลการแข่งขันในระดับชั้นที่ 1, ระดับชั้นที่ 2 (จัดโดยสันนิบาตฟุตบอลอาชีพแห่งชาติ) และระดับชั้นที่ 4 (จัดโดยสหพันธ์ฟุตบอลของแต่ละแคว้นและนครปกครองตนเอง) นอกจากนี้ยังเป็นผู้รับผิดชอบการบริหารจัดการฟุตบอลทีมชาติสเปน (ชาย), ฟุตบอลหญิงทีมชาติสเปน, ฟุตบอลเยาวชนทีมชาติสเปน รวมทั้งฟุตซอลทีมชาติสเปนอีกด้ว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และราชสหพันธ์ฟุตบอลสเปน · ดูเพิ่มเติม »

ราชสันตติวงศ์ในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย

มเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย เจ้าชายอัลเบิร์ต พระราชสวามี พระราชสันตติวงศ์ในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย (Descendants of Queen Victoria) เป็นเรื่องราวของการสืบสายพระโลหิตของพระราชโอรสและธิดาทั้งหมด 9 พระองค์ในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร (อเล็กซานดรินา วิกตอเรีย; 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2362 - 22 มกราคม พ.ศ. 2444 เสวยราชสมบัติ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2380) โดยมีพระราชนัดดา 42 พระองค์ และพระราชปนัดดา (เหลน) 88 พระองค์ แต่ละพระองค์จึงเป็นทั้งพี่น้องกันหรือพระญาติชั้นที่หนึ่งซึ่งกันและกัน (first cousin) และด้วยการอภิเษกสมรสเข้าไปยังราชสำนักต่างๆ ในทวีปยุโรป พระองค์จึงทรงมีผลกระทบต่อโชคชะตาของราชวงศ์ยุโรปอย่างมาก ทรงมีความเกี่ยวข้องทางสายพระโลหิตและการอภิเษกสมรสกับราชวงศ์สเปน เยอรมนี กรีซ รัสเซีย โรมาเนีย ยูโกสลาเวีย นอร์เวย์ สวีเดน และเดนมาร์ก จึงทำให้ทรงได้รับพระราชสมัญญาว่า สมเด็จย่าแห่งยุโรป (Grandmother of Europe) สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียเป็นพระมหากษัตริย์ที่ครองราชสมบัติยาวนานที่สุดในประวัติศาสตร์อังกฤษ เป็นเวลา 63 ปีเศษ ระหว่างปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และราชสันตติวงศ์ในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรบัลแกเรีย

ราชอาณาจักรบัลแกเรีย หรืออาณาจักรซาร์บัลแกเรีย อาณาจักรซาร์บัลแกเรียที่ 3 และ จักรวรรดิบัลแกเรียที่ 3 (Царство България, Tsarstvo Balgariya).

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และราชอาณาจักรบัลแกเรีย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อมหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่สุดที่ยังเปิดสอน

แผนที่แสดงมหาวิทยาลัยในยุโรปยุคกลาง รายชื่อมหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่สุดที่ยังเปิดสอน ในบทความนี้ต้องเป็นมหาวิทยาลัยที่มีคุณสมบัติตรงตามนิยามมหาวิทยาลัย ณ วันที่ก่อตั้ง และจะต้องก่อตั้งก่อน พ.ศ. 2043 (ตรงกับรัชสมัยของสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 หลังสถาปนากรุงศรีอยุธยามาแล้ว 150 ปี) และจะต้องมีการเรียนการสอนอย่างต่อเนื่องโดยไม่ได้หยุดกิจกรรมอย่างสำคัญมาถึงปัจจุบัน เนื่องจากการให้ปริญญาสำหรับการศึกษาขั้นสูงในประวัติศาสตร์ที่ผ่านมาเกิดขึ้นในยุโรปและตะวันออกกลางเป็นส่วนใหญ่ และนิยามมหาวิทยาลัยสมัยใหม่หมายถึงสถานศึกษาที่มีความสามารถในการให้ปริญญา มหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่มีคุณสมบัติตรงนิยามสมัยใหม่ดังกล่าวจึงอยู่ในยุโรปหรือ ตะวันออกใกล้ แต่หากขยายนิยามให้กว้างขึ้นรวมไปถึงมหาวิทยาลัยโบราณที่เดิมไม่ได้มีการให้ปริญญาในขณะนั้นแต่ให้ในปัจจุบันด้วยแล้ว รายชื่อนี้อาจมีมากขึ้นโดยรวมไปถึงสถาบันอื่นๆ ทั้งในยุโรปและส่วนอื่นของโลกอีกหลายมหาวิทยาลัย สุดท้าย แม้ด้วยบทบัญญัติของมหาวิทยาลัยต่างๆ ในยุโรปก็ยังมีข้อโต้เถียงเล็ก ๆ น้อย ๆ เกี่ยวกับการกำหนดว่ามหาวิทยาลัยใดกันแน่ที่เป็นมหาวิทยาลัยของแผ่นดินใหญ่ยุโรป มหาวิทยาลัยโบโลญญาที่เกิดก่อน มหาวิทยาลัยปารีสเป็นมหาวิทยาลัยที่ก่อตั้งโดยนักศึกษาที่รวมตัวกันหาครูผู้สอน ในขณะที่มหาวิทยาลัยปารีสก่อตั้งโดยคณะผู้สอนแล้วจึงหานักศึกษามาเรียน บางแห่ง (โดยเฉพาะมหาวิทยาลัยปารีส) ก็ยังพยามยามอ้างว่าตนเองเริ่มต้นด้วยการเป็นมหาวิทยาลัยแท้มาแต่ต้น แต่ก็ยังเป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปว่ามหาวิทยาลัยโบโลนาตั้งขึ้นก่อนมหาวิทยาลัยปารีส การศึกษาเมื่อเร็วๆ นี้พบว่ามีกิจกรรมต่างๆ ในลักษณะของมหาวิทยาลัยได้มีมาแล้วตั้งแต่ พ.ศ. 1621 (ก่อนสถาปนากรุงสุโขทัย 170 ปี) ซึ่งหมายความว่ามหาวิทยาลัยแห่งแรกของยุโรปอาจเป็นมหาวิทยาลัยซาลามังกา (University of Salamanca) ซึ่งเก่าแก่มากกว่าทั้งสองมหาวิทยาลัยที่กล่าวมาแล้ว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และรายชื่อมหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่สุดที่ยังเปิดสอน · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อรัฐวิสาหกิจไทย

ต่อไปนี้คือรายชื่อรัฐวิสาหกิจไทยที่อยู่ภายใต้การกำกับดูแลของกระทรวงการคลัง (ไม่รวมบริษัทลูก / บริษัทในเครือ).

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และรายชื่อรัฐวิสาหกิจไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อโรงเรียนประจำจังหวัดในประเทศไทย

รายชื่อโรงเรียนประจำจังหวัดในประเทศไทย เป็นบทความที่รวบรวมรายชื่อโรงเรียนประจำจังหวัดโดยจำแนกตามจังหวั.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และรายชื่อโรงเรียนประจำจังหวัดในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์กรีซ

รายพระนามกษัตริย์กรีซ เป็นรายชื่อของพระมหากษัตริย์ผู้ทรงปกครองราชอาณาจักรกรีซ ราชวงศ์วิทเทลส์บัคปกครองราชบัลลังก์กรีซระหว่าง ค.ศ. 1832 จนถึง ค.ศ. 1862 เมื่อผ่านไปยังราชวงศ์ชเลสวิจ-ฮ็อลชไตน์-ซอนเดอร์บูร์ก-กลึคส์บูร์ก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และรายพระนามพระมหากษัตริย์กรีซ · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์โปรตุเกส

รายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งโปรตุเกส พระอิศริยยศเริ่มขึ้นตั้งแต่โปรตุเกสประกาศอิสรภาพจากราชอาณาจักรเลออน ภายใต้การนำของอัลฟอนโซ เฮนริเก ผู้ซึ่งประกาศตั้นตนเป็นกษัตริย์แห่งโปรตุเกสในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และรายพระนามพระมหากษัตริย์โปรตุเกส · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามผู้ปกครองบาวาเรีย

ตราอาร์มของบาวาเรีย รายพระนามผู้ปกครองบาวาเรีย (List of rulers of Bavaria) บาวาเรียปกครองโดยประมุขทั้งที่มีตำแหน่งเป็นดยุกและเป็นพระมหากษัตริย์ ราชอาณาจักรได้รับการรวมหรือการถูกแบ่งตลอดมาในประวัติศาสตร์ของหลายราชวงศ์ที่ปกครอง แต่ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และรายพระนามผู้ปกครองบาวาเรีย · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามจักรพรรดิเวียดนาม

้านล่างนี้คือ รายพระนามจักรพรรดิเวียดนาม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และรายพระนามจักรพรรดิเวียดนาม · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามคู่อภิเษกสมรสในราชวงศ์มูฮัมหมัดอาลี

รายพระนามพระคู่ครองในราชวงศ์มูฮัมหมัดอาลี เป็นพระยศของคู่สมรสของกษัตริย์แห่งอียิปต์ในช่วงราชวงศ์มูฮัมหมัดอาลี ซึ่งตำแหน่งนี้ได้เริ่มการใช้ในรัชสมัยของพระเจ้าฟูอัดที่ 1 แห่งอียิปต์ (ครองราชย์ 1917-1936) ซึ่งได้เปลี่ยนแปลงพระยศของพระองค์เองจากสุลต่านแห่งอียิปต์เป็นกษัตริย์แห่งอียิปต์พร้อมกับตำแหน่งพระคู่สมรสด้วย โดยผู้ที่ได้รับแต่งตั้งพระยศสมเด็จพระราชินีแห่งอียิปต์พระองค์แรกคือ สมเด็จพระราชินีนาซลีแห่งอียิปต์ (1919-1936) ส่วนพระราชินีองค์สุดท้ายคือสมเด็จพระราชินีฟาดิลาแห่งอียิปต์ (1976-1999) แม้ว่าจะเสกสมรสภายหลังจากที่พระเจ้าฟูอัดที่ 2 แห่งอียิปต์ สละราชบัลลังก์แล้วก็ตาม แต่พระองค์ก็ยังถือเป็นผู้อ้างสิทธิในตำแหน่งสมเด็จพระราชินีแห่งอียิปต์ ภายหลังฟาดิลาก็ได้หย่าขาดจากพระราชสวามี ปัจจุบันจึงดำรงพระยศเป็นเจ้าหญิงนอกราชบัลลังก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และรายพระนามคู่อภิเษกสมรสในราชวงศ์มูฮัมหมัดอาลี · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ร.ว.

รื่องราชอิสริยาภรณ์รัตนวราภรณ์ (The Ratana Varabhorn order of Merit) เรียกอย่างย่อว่า ตรารัตนาวราภรณ์ และมีอักษรย่อว่า ร.ว. เป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นบำเหน็จในพระองค์ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสถาปนาขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2454 เพื่อเป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์สำหรับเชิดชูเกียรติคุณแก่ข้าราชการผู้ที่ตั้งใจรับราชการสนองพระเดชพระคุณด้วยความจงรักภักดีและมีความซื่อสัตย์สุจริตตลอดมา โดยเมื่อแรกสถาปนานั้นจะพระราชทานสำหรับฝ่ายหน้าเท่านั้น ต่อมาในปี พ.ศ. 2465 พระองค์จึงสถาปนาเครื่องราชอิสริยาภรย์รัตนวราภรณ์สำหรับพระราชทานฝ่ายในด้วยราชกิจจานุเบกษา,, เล่ม ๒๘, ตอน ๐ก, ๒๐ สิงหาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และรายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ร.ว. · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน น.ร.

รื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นโบราณมงคลนพรัตนราชวราภรณ์ (ฝ่ายหน้า) เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นโบราณมงคลนพรัตนราชวราภรณ์ มีอักษรย่อว่า น.ร. เป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่มีความเป็นมาสืบแต่ครั้งกรุงศรีอยุธยา เครื่องราชอิสริยาภรณ์ตระกูลนี้ มีเฉพาะชั้นสายสะพายชั้นเดียว ทั้งนี้ ผู้รับพระราชทานต้องเป็นพุทธมามกะเท่านั้น และจะประดับเครื่องราชอิสริยาภรณ์นี้ในงานมงคล หรืองานที่มีหมายกำหนดการระบุไว้เท่านั้น เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นโบราณมงคลนพรัตนราชวราภรณ์ จัดเป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่มีลำดับเกียรติเป็นลำดับที่ 3 รองจากเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นมงคลยิ่งราชมิตราภรณ์และเครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์ และเป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นสูงสุดที่สามัญชนจะได้รับพระราชทาน โดยมีรายพระนามและรายนาม เช่น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และรายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน น.ร. · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานปฐมจุลจอมเกล้า

ปฐมจุลจอมเกล้า ฝ่ายหน้า ปฐมจุลจอมเกล้า ฝ่ายใน เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประธานของเครื่องอิสริยาภรณ์ รวมทั้งทรงไว้ซึ่งพระราชอำนาจที่จะพระราชทานแก่ผู้ที่ทรงพระราชดำริเห็นสมควรและเรียกคืนเครื่องราชอิสริยาภรณ์นี้ได้ ปัจจุบัน เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นปฐมจุลจอมเกล้า แบ่งออกสำหรับพระราชทานฝ่ายหน้าจำนวน 30 สำรับ และฝ่ายในจำนวน 20 สำรับ นอกจากนี้ ยังสามารถพระราชทานแก่เจ้านายหรือผู้มีเกียรติจากต่างประเทศซึ่งไม่นับรวมกับจำนวนดังกล่าว รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานปฐมจุลจอมเกล้า (ไม่รวมพระนามของผู้ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ตระกูลจุลจอมเกล้าในชั้นที่สูงขึ้น ได้แก่ ปฐมจุลจอมเกล้าวิเศษ) ตั้งแต่สถาปนาเครื่องราชอิสริยาภรณ์ เช่น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และรายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานปฐมจุลจอมเกล้า · ดูเพิ่มเติม »

รายการเครื่องราชอิสริยาภรณ์ต่างประเทศของพระราชวงศ์ไทยแยกตามประเทศ

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และรายการเครื่องราชอิสริยาภรณ์ต่างประเทศของพระราชวงศ์ไทยแยกตามประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

รายนามรองประธานาธิบดีสหรัฐ

รายนามรองประธานาธิบดีสหรัฐ จอห์น แอดัมส์ เป็นรองประธานาธิบดีคนแรกในสมัยประธานาธิบดีจอร์จ วอชิงตัน และรองประธานาธิบดีคนปัจจุบัน คือ ไมก์ เพนซ์ ในสมัยประธานาธิบดีดอนัลด์ ทรัมป์ มีรองประธานาธิบดีจากพรรคริพับลิกัน 20 คน จากพรรคเดโมแครต 18 คน พรรคเดโมแครติก-ริพับลิกัน 6 คน พรรควิก 2 คน พรรคเฟเดอรัลลิสต์ 1 คน และตำแหน่งว่างอีก 18 คน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และรายนามรองประธานาธิบดีสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

รายนามสมุหราชองครักษ์ของไทย

มุหราชองครักษ์ กำเนิดขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๕ ซึ่งเดิมเรียกว่า "นายทหารรักษาพระองค์" โดยทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ปฏิบัติหน้าที่รับใช้เบื้องพระยุคลบาท พิทักษ์รักษาความปลอดภัยแด่องค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในกาลต่อมาพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงเล็งเห็นถึงความสำคัญและคุณประโยชน์ที่จะต้องมีราชองครักษ์ไว้ปฏิบัติราชการสนองพระเดชพระคุณโดยใกล้ชิด จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้คัดเลือก นายทหารรักษาพระองค์มาจากกรมทหามหาดเล็กรักษาพระองค์และทรงพระราชทานนามนายทหารเหล่านี้ว่า "ราช-แอด-เดอ-แกมป์" จนกระทั่งในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และรายนามสมุหราชองครักษ์ของไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายนามสุภาพสตรีหมายเลขหนึ่งสหรัฐ

ตรีหมายเลขหนึ่งสหรัฐ (First Lady of the United States) เป็นตำแหน่งอย่างไม่เป็นทางการของผู้ดูแลทำเนียบขาว โดยธรรมเนียมปฏิบัติแล้ว ตำแหน่งนี้จะเป็นของภรรยาของประธานาธิบดีสหรัฐคนปัจจุบัน อย่างไรก็ตามในบางครั้งมีสตรีอื่นที่ไม่ใช่ภรรยาของประธานาธิบดีดำรงตำแหน่งนี้ ในกรณีที่ประธานาธิบดีนั้นยังไม่ได้แต่งงานหรือเป็นหม้าย ซึ่งส่วนใหญ่ผู้ดำรงตำแหน่งจะเป็นญาติหรือเพื่อนผู้หญิงของประธานาธิบดี ปัจจุบันยังไม่มีประธานาธิบดีที่เป็นสตรี ดังนั้นจึงไม่มีคำเรียกสามีของประธานาธิบดีซึ่งจะเป็นผู้ดูแลทำเนียบขาว แต่ปัจจุบันมีสตรีที่ดำรงตำแหน่งผู้ว่าการรัฐแล้วหลายคน สามีของสตรีเหล่านี้จะถูกเรียกว่า สุภาพบุรุษหมายเลขหนึ่ง (First Gentlemen) สุภาพสตรีหมายเลขหนึ่งคนปัจจุบันคือเมลาเนีย ทรัมป์และมีอดีตสุภาพสตรีหมายเลขหนึ่งที่ยังมีชีวิตอยู่ 4 คน ได้แก่ โรซาลีนน์ คาร์เตอร์, บาร์บารา บุช, ฮิลลารี คลินตัน,ลอรา บุช และ มิเชล โอบาม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และรายนามสุภาพสตรีหมายเลขหนึ่งสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

รายนามอธิบดีกรมที่ดิน

้านล่างนี้คือรายนามเจ้ากรมทะเบียนที่ดิน อธิบดีกรมที่ดิน อธิบดีกรมที่ดินและโลหะกิจ และอธิบดีกรมที่ดิน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และรายนามอธิบดีกรมที่ดิน · ดูเพิ่มเติม »

รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทย

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และรายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทย

รายพระนาม รายนาม ผู้บัญชาการทหารบก แห่งกองทัพบกไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และรายนามผู้บัญชาการทหารบกไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายนามคู่สมรสและคู่ครองประธานาธิบดีฝรั่งเศส

ู่สมรสและคู่ครองประธานาธิบดีฝรั่งเศส ('épouse du président de la République française) คือผู้ที่เป็นภรรยาประมุขแห่งรัฐ (ประธานาธิบดี) ของประเทศฝรั่งเศส ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน มีคู่สมรสและคู่ครองประธานาธิบดีฝรั่งเศสจำนวนทั้งสิ้น 25 คน ทั้งนี้ฝรั่งเศสไม่มีตำแหน่งสุภาพสตรีหมายเลขหนึ่งแต่อย่างใด สุภาพสตรีคนล่าสุดคือบรีฌิต มาครง ภริยาแอมานุแอล มาครง ประธานาธิบดี เข้ารับตำแหน่งในวันที่ 14 พฤษภาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และรายนามคู่สมรสและคู่ครองประธานาธิบดีฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

รายนามประธานาธิบดีสหรัฐ

ทำเนียบขาวเป็นสถานที่ทำงานของประธานาธิบดีสหรัฐฯ ประธานาธิบดีสหรัฐ เป็นตำแหน่งประมุขในการปกครองของสหรัฐอเมริกา ประธานาธิบดีเป็นหัวหน้าของทุกสาขาของรัฐบาลแห่งสหพันธรัฐ โดยมีหน้าที่ในการบังคับใช้กฎหมายบัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ ที่เขียนโดยสภาคองเกรสมาตราที่ 2 ของรัฐธรรมนูญนั้นบัญญัติว่า ประธานาธิบดีต้องเป็นผู้บัญชาการสูงสุดของกองกำลังทหาร และกระจายอำนาจที่เป็นของประธานาธิบดีออกไป รวมไปถึงอำนาจเห็นชอบหรือไม่เห็นชอบร่างกฎหมาย ที่ผ่านมาจากสภาคองเกรส นอกจากนั้น ประธานาธิบดียังมีอำนาจในการแต่งตั้งคณะรัฐมนตรีเพื่อเป็นที่ปรึกษาและอำนาจในการลดโทษหรือให้รอลงอาญาได้ ท้ายที่สุดแล้ว หากประธานาธิบดีได้รับคำแนะนำและการยอมรับจากวุฒิสภา แล้วจะมีอำนาจในการทำสนธิสัญญา, แต่งตั้งเอกอัครราชทูตและศาลตัดสินของประเทศ รวมไปถึงศาลสูงสุดด้วย การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญสหรัฐครั้งที่ 22 กำหนดให้สามารถดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีได้ไม่เกินสองสมัย รายนามนี้รวมเฉพาะบุคคลที่ได้สาบานตนเป็นประธานาธิบดีตามการลงนามในรัฐธรรมนูญสหรัฐ ซึ่งมีผลบังคับใช้ในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และรายนามประธานาธิบดีสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

รายนามประธานาธิบดีสาธารณรัฐฝรั่งเศส

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และรายนามประธานาธิบดีสาธารณรัฐฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

รายนามประธานาธิบดีสาธารณรัฐจีน

งสาธารณรัฐจีน ทำเนียบที่ทำการประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐจีนที่กรุงไทเป ไต้หวัน รายนามต่อไปนี้เป็นรายนาม ประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐจีน ตั้งแต่ (ค.ศ. 1912 ถึง ปัจจุบัน) ในสาธารณรัฐจีนตำแหน่งประธานาธิบดีจะเรียกว่า (ซ่งถ่ง) และตั้งแต..

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และรายนามประธานาธิบดีสาธารณรัฐจีน · ดูเพิ่มเติม »

รายนามนายกรัฐมนตรีญี่ปุ่น

งประจำตำแหน่งนายกรัฐมนตรีแห่งญี่ปุ่น รายนาม นายกรัฐมนตรีแห่งญี่ปุ่น ซึ่งเป็นตำแหน่งผู้นำรัฐบาลของจักรวรรดิญี่ปุ่นและประเทศญี่ปุ่น ตามราชธรรมนูญเมจิในรัชสมัยเมจิ องค์จักรพรรดิทรงเป็นผู้เลือกและแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีจวบจนสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่สอง ภายหลังจากนั้น นายกรัฐมนตรีจึงมีที่มาจากการลงมติของสภาผู้แทนราษฎร โดยมีองค์จักรพรรดิเป็นผู้แต่งตั้งตามขนบธรรมเนียม จวบจนถึงปัจจุบัน ญี่ปุ่นมีนายกรัฐมนตรีมาแล้ว 62 คน ใน 96 คณะรัฐมนตรี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และรายนามนายกรัฐมนตรีญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

รายนามนายกรัฐมนตรีฝรั่งเศส

ก่อนปี พ.ศ. 2502 ประเทศฝรั่งเศสไม่ปรากฏว่ามีการเรียกตำแหน่งหัวหน้าคณะรัฐบาลอย่างเป็นทางการว่า นายกรัฐมนตรี (Premier Ministre) เนื่องจากในอดีตภายใต้การปกครองของกษัตริย์ หลายครั้งที่คำนี้ใช้เรียกแทนประธานรัฐมนตรีของกษัตริย์ แม้ต่อมาในช่วงรัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 3 รัฐมนตรีท่านหนึ่งในรัฐมนตรีสภาได้ดำรงตำแหน่งเป็นทั้ง ประธานรัฐมนตรีสภา (Président du Conseil des Ministres) และยังเป็นที่รู้จักกันอย่างไม่เป็นทางการในนาม "หัวหน้ารัฐมนตรีสภา" ซึ่งในปัจจุบันเรียกว่า นายกรัฐมนตรี (Premier Ministre) อีกด้วย ซึ่งเป็นการไม่เหมาะสม เป็นการรวบอำนาจเบ็ดเสร็จในบุคคลเดียว โดยเป็นทั้งประธานาธิบดีเอง และเป็นหัวหน้ารัฐมนตรีสภา (นายกรัฐมนตรี) ทำหน้าที่เป็นประธานในการประชุมสภา และหัวหน้าฝ่ายบริหารคณะรัฐมนตรี เวลาต่อมา ในการทำให้ชื่อตำแหน่ง "นายกรัฐมนตรี" มีผลบังคับทางกฎหมาย แทนที่ตำแหน่ง หัวหน้ารัฐมนตรีสภา นั้นก็ได้กลายเป็นตำแหน่ง "นายกรัฐมนตรี" อย่างเป็นทางการในปี พ.ศ. 2489 ภายใต้รัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 4 และต่อมาได้ถูกนำมาบัญญัติคำว่า "นายกรัฐมนตรี" (Premier Ministre) ภายใต้รัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 5 ในปี พ.ศ. 2502 ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2413 ประเทศฝรั่งเศสได้มีหัวหน้าคณะรัฐบาล (ในปัจจุบันเรียก "นายกรัฐมนตรี") 142 ท่าน (138 ท่าน นับตั้งแต่ช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2) หัวหน้าคณะรัฐบาล (ในปัจจุบันเรียก "นายกรัฐมนตรี") ตั้งแต่รัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 2, จักรวรรดิฝรั่งเศสที่ 2, กษัตริย์แห่งเดือนกรกฎาคม, ราชวงศ์บูร์บงฟื้นฟู ถึงปัจจุบันมีทั้งสิ้น 174 ท่าน ภายใต้ระยะเวลา 193 ปี รัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 2 - ปัจจุบัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และรายนามนายกรัฐมนตรีฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

รายนามนายกรัฐมนตรีเดนมาร์ก

นายกรัฐมนตรีเดนมาร์ก เป็นหัวหน้ารัฐบาลแห่งเดนมาร์กและเป็นหัวหน้าคณะรัฐมนตรีแห่งเดนมาร์ก ตั้งแต..

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และรายนามนายกรัฐมนตรีเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลพูลิตเซอร์

รางวัลพูลิตเซอร์ (Pulitzer Prizes) เป็นรางวัลของสหรัฐอเมริกา ตั้งขึ้นเพื่อมอบแก่ผู้ได้รับเกียรติสูงสุดระดับชาติในวงการสิ่งพิมพ์ การบรรลุความสำเร็จทางวรรณกรรม และการประพันธ์เพลง บริหารจัดการโดยมหาวิทยาลัยโคลัมเบียในนครนิวยอร์ก รางวัลพูลิตเซอร์จัดมอบเป็นรายปีแบ่งเป็น 21 ประเภท ในแต่ละประเภทผู้ได้รับรางวัลจะได้รับกิตติบัตรและเงินรางวัล 10,000 ดอลลาร์สหรัฐ ผู้รับรางวัลการหนังสือพิมพ์ในสาขาการบริการสาธารณะจะได้รับเหรียญทองซึ่งมักตกแก่หนังสือพิมพ์มาโดยตลอด แม้จะมีชื่อบุคคลได้รับการกล่าวยกย่องไว้ด้วย รางวัลพูลิตเซอร์ ก่อตั้งโดยโจเซฟ พูลิตเซอร์ นักหนังสือพิมพ์และผู้พิมพ์โฆษณาชาวฮังการี-อเมริกัน ซึ่งได้มอบเงินจำนวน 2 ล้านเหรียญไว้ในพินัยกรรมแก่มหาวิทยาลัยโคลัมเบียหลังการเสียชีวิตเมื่อ พ.ศ. 2454 เงินส่วนหนึ่งของกองมรดกนี้ได้ถูกนำไปใช้ในการก่อตั้งสถาบันวิชาการหนังสือพิมพ์ของมหาวิทยาลัยในปี พ.ศ. 2456 ได้มีการมอบรางวัลพูลิตเซอร์รางวัลแรกเมื่อวันที่ 4 มิถุนายน พ.ศ. 2460 ปัจจุบันมีการประกาศรางวัลทุก ๆ เดือนเมษายน การคัดเลือกผู้ได้รับรางวัลดำเนินการโดยกรรมการอิสร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และรางวัลพูลิตเซอร์ · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์

หรียญรางวัลโนเบล รางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ (Nobelpriset i fysik, Nobel Prize in Physics) เป็นรางวัลโนเบลหนึ่งใน 5 สาขา ริเริ่มโดยอัลเฟรด โนเบล ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1895 โดยสถาบัน Royal Swedish Academy of Sciences แห่งประเทศสวีเดน เป็นผู้คัดเลือกผู้รับรางวัล ซึ่งมีผลงานวิจัยด้านฟิสิกส์อย่างโดดเด่น มีพิธีมอบเป็นครั้งแรก เมื่อ ค.ศ. 1901 พิธีมอบรางวัลมีขึ้นในวันที่ 10 ธันวาคมของทุกปี ซึ่งตรงกับวันคล้ายวันเสียชีวิตของอัลเฟรด โนเบล ที่กรุงสตอกโฮล์ม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์

หรียญรางวัลโนเบล รางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์ (Nobelpriset i fysiologi eller medicin, Nobel Prize in Physiology or Medicine) จัดโดยมูลนิธิโนเบล มีการมอบทุกปีให้แก่การค้นพบที่โดดเด่นในสาขาวิทยาศาสตร์สิ่งมีชีวิตและแพทยศาสตร์ รางวัลโนเบลสาขาดังกล่าวเป็นหนึ่งในห้าสาขา ริเริ่มในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และรางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์ · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลโนเบลสาขาเคมี

หรียญรางวัลโนเบล รางวัลโนเบลสาขาเคมี (Nobelpriset i kemi, Nobel Prize in Chemistry) เป็นรางวัลมอบโดยราชบัณฑิตยสถานด้านวิทยาศาสตร์แห่งสวีเดนเป็นประจำทุกปีแก่นักวิทยาศาสตร์ในสาขาต่างๆ ของเคมี รางวัลนี้เป็นหนึ่งในห้ารางวัลโนเบลซึ่งก่อตั้งจากความประสงค์ของอัลเฟรด โนเบลใน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และรางวัลโนเบลสาขาเคมี · ดูเพิ่มเติม »

ริชาร์ด นิกสัน

ริชาร์ด มิลเฮาส์ นิกสัน (ภาษาอังกฤษ: Richard Milhous Nixon) (9 มกราคม พ.ศ. 2456 - 22 เมษายน พ.ศ. 2537) เป็นประธานาธิบดีคนที่ 37 ของสหรัฐอเมริกา ระหว่าง พ.ศ. 2512- พ.ศ. 2517 และเคยเป็นรองประธานาธิบดีคนที่ 36 ระหว่างปี พ.ศ. 2496 - พ.ศ. 2504 ริชาร์ด นิกสันเป็นประธานาธิบดีคนแรกและคนเดียวที่ลาออกจากตำแหน่ง สาเหตุที่ลาออกนั้นเกิดจากคดีวอเตอร์เกต ในสมัยของนิกสันนั้นประสบความสำเร็จในด้านการทูต โดยเฉพาะการผ่อนคลายความตึงเครียดในช่วงสงครามเย็นกับสหภาพโซเวียต และประเทศจีน รวมไปถึงการถอนตัวออกจากสงครามเวียดนาม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และริชาร์ด นิกสัน · ดูเพิ่มเติม »

รูดอล์ฟ ดีเซล

รูดอล์ฟ ดีเซล เมื่อปี ค.ศ. 1883 รูดอล์ฟ ดีเซล (Rudolf Diesel) เกิดเมื่อวันที่ 18 มีนาคม ปี ค.ศ. 1858 ถึงแก่กรรมเมื่อวันที่ 30 กันยายน ค.ศ. 1913 เป็นชาวเยอรมันคนแรกที่นำเครื่องจักรดีเซลแรงอัดสูงมาใช้ ดีเซลเริ่มพัฒนาเครื่องจักรเป็นชื่อของตนเอง ในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และรูดอล์ฟ ดีเซล · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้าปารีส สาย 8

รถไฟฟ้าปารีส สาย 8 (ligne 8 du métro de Paris) เป็นหนึ่งใน 16 เส้นทางรถไฟฟ้าปารีส วิ่งระหว่างสถานีบาลาร์กับสถานีปวงต์ดูว์ลัก เปิดให้บริการครั้งแรกในปี ค.ศ. 1913 ระยะทางรวม 23.4 กิโลเมตร จำนวน 38 สถานี โดยเป็นอีกหนึ่งเส้นทางที่ข้ามแม่น้ำแซน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และรถไฟฟ้าปารีส สาย 8 · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟใต้ดินบัวโนสไอเรส

รถไฟใต้ดินบัวโนสไอเรส (Subterráneo de Buenos Aires) หรือรู้จักกันในชื่อ ซุบเต (Subte,, มาจากคำว่า subterráneo ที่แปลว่า ใต้ดินหรือรถไฟใต้ดิน) เป็นระบบขนส่งมวลชนความเร็วสูงประเภทรถไฟฟ้าใต้ดินที่ให้บริการในเขตกรุงบัวโนสไอเรสและปริมณฑล เริ่มเปิดให้บริการในปี ค.ศ. 1913 รถไฟใต้ดินบัวโนสไอเรสได้ขยายระบบโครงข่ายได้อย่างรวดเร็วในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20 แม้จะล่าช้าไปบ้างในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และรถไฟใต้ดินบัวโนสไอเรส · ดูเพิ่มเติม »

ลอน นอล

ลอน นอล (លន់ នល់ ลน่ นล่; 13 พฤศจิกายน ค.ศ. 1913 - 17 พฤศจิกายน ค.ศ. 1985) เป็นนายทหารและนักการเมืองกัมพูชา เคยดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีกัมพูชาสองสมัย และดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีกลาโหมอีกหลายครั้ง เป็นผู้ก่อการรัฐประหารล้มอำนาจของรัฐบาลเจ้านโรดม สีหนุในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และลอน นอล · ดูเพิ่มเติม »

ลูกชายและคนรัก

ลูกชายและคนรัก (Sons and Lovers) เป็นนวนิยายเชิงอัตชีวประวัติที่เขียนโดยนักเขียนชาวอังกฤษดี. เอช. ลอเรนซ์ ที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ ค.ศ. 1913 “ลูกชายและคนรัก” เป็นนวนิยายเล่มที่สามของลอเรนซ์ที่ได้รับการตีพิมพ์ที่เป็นเรื่องราวของพอล โมเรลชายวัยหนุ่มและศิลปินผู้กำลังเริ่มอาชีพ ริชาร์ด อัลดิงทันให้คำอธิบายเนื้อหาด้านอัตชีวประวัติของงานชิ้นนี้ว่า: หนังสือฉบับที่พิมพ์ในปี ค.ศ. 1913 เป็นฉบับที่เนื้อหาถูกตัดออกไปมากโดยบรรณาธิการเอ็ดเวิร์ด การ์เนทท์ ผู้ตัดเนื้อหาออกไปถึง 80 ย่อหน้าหรือราวหนึ่งในสิบของหนังสือทั้งเล่ม หนังสืออุทิศให้แก่การ์เนทท์ ผู้มีบทบาทในการทำให้ลอเรนซ์เป็นที่รู้จักกันในวงการหนังสือในลอนดอนระหว่างปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และลูกชายและคนรัก · ดูเพิ่มเติม »

วัดหนองกระธาตุ

1.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และวัดหนองกระธาตุ · ดูเพิ่มเติม »

วัดหนองโพธิ์ (จังหวัดสระบุรี)

วัดหนองโพธิ์ เป็นวัดราษฎร์ ตั้งอยู่เลขที่ 65 บ้านหนองโพธิ์ หมู่ที่ 10 ถนนสุวรรณศร ตำบลหนองสรวง อำเภอวิหารแดง จังหวัดสระบุรี สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย พื้นที่ตั้งวัดมีเนื้อที่ 25 ไร่ 3 งาน 72 ตารงวากองพุทธสถาน, สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาต.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และวัดหนองโพธิ์ (จังหวัดสระบุรี) · ดูเพิ่มเติม »

วัดท้ายตลาด (จังหวัดอุตรดิตถ์)

วัดท้ายตลาด หรือชื่อที่ชาวบ้านเรียก วัดท้ายตลาด (ชื่อเดิม วัดท่าทราย) ถนนสำราญรื่น บ้านท่าอิฐ ตำบลท่าอิฐ อำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ สังกัดเขตการปกครองคณะสงฆ์ตำบลท่าเสา ตัววัดมีเนื้อที่ 19 ไร่ 1 งาน 50 ตารางวา ปัจจุบันวัดท้ายตลาด เป็นวัดพัฒนาตัวอย่างและวัดพัฒนาดีเด่น มี พระครูสังฆรักษ์สิน ฐิตธมฺโม เป็นเจ้าอาวาสรูปปัจจุบันพระประกิต สุทธิธฺมโม (ชัยสิทธิ์) และพระมหาเทวประภาส วชิรญาณเมธี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และวัดท้ายตลาด (จังหวัดอุตรดิตถ์) · ดูเพิ่มเติม »

วัดดุลยาราม

วัดดุลยาราม เดิมชื่อ วัดบ้านจีน เป็นวัดราษฎร์ ตั้งอยู่ที่ หมู่ 2 บ้านจีน ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล วัดดุลยาราม มีพระพุทธรูปเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์คู่บ้านคู่เมือง คือ พระพุทธรูปหลวงพ่อแก่ หรือเรียกว่าพ่อแก่ เป็นพระพุทธรูปทรงเครื่องปางห้ามญาติเป็นพระพุทธรูปแกะสลักจากไม้ ฝีมือช่างล้านนา ขนาดสูง 75 เซนติเมตร พุทธศิลป์สมัยล้านนา คล้ายพระแก่นจันทร์ ซึ่งมีพระพักตร์เหมือนผู้หญิง แบบพระสมเด็จนางพญา หรือเรียกว่า พระหน้านาง สันนิษฐานว่าเป็นพระพุทธรูปประจำเรือสำเภาจีนบรรทุกสินค้าซึ่งเดินทางข้ามทะเล กล่าวกันว่าในปี พ.ศ. 2456 - 2479 พระพุทธรูปหลวงพ่อแก่ได้ลอยน้ำมา มีผู้นำไปถวายพระอธิการปลอดซึ่งเป็นเจ้าอาวาสวั.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และวัดดุลยาราม · ดูเพิ่มเติม »

วัดคุ้งยางใหญ่

วัดคุ้งยางใหญ่เป็นวัดในสังกัดของคณะสงฆ์มหานิกาย ที่มีประวัติความเป็นในนับแต่ครั้งอดีต และศูนย์กลางของชุมชนชาวพุทธที่มีประวัติความเป็นมาตั้งแต่ครั้งกรุงสุโขทัย ที่วัดคุ้งยางใหญ่พระพุทธรูปศิลปสุโขทัย ที่เป็นมรดกตกทอดมาจนกระทั่งทุกวันนี้ เป็นพระพุทธรูปปางมารวิชัย จำนวน 3 องค์ ที่ชาวบ้านสวนเรียกว่า "หลวงพ่อสามพี่น้อง" ซึ่งเป็นสิ่งการะและเคารพของชาวบ้านสวนนับแต่ครั้งอดีต.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และวัดคุ้งยางใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

วัดน้ำริดใต้

วัดน้ำริดใต้ ตั้งอยู่ที่ บ้านน้ำริดใต้ หมู่ที่ 1 ตำบลน้ำริด อำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ สังกัดเขตการปกครองคณะสงฆ์ตำบลน้ำริด ตัววัดมีเนื้อที่ 5 ไร่ 2 งาน 33 ตารางวา ตั้งอยู่ทางใต้ของหมู่บ้าน ติดถนนสายหมู่บ้านน้ำริดและถนนสายนานกกกสู่ถนนสายหัวดงลับแล ปัจจุบันมี พระธนพร ธมฺมปาโล เป็นรักษาการเจ้าอาวาสวัดน้ำริดใต้รูปปัจจุบันพระธนพร ธมฺมปาโล และพระมหาเทวประภาส วชิรญาณเมธี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และวัดน้ำริดใต้ · ดูเพิ่มเติม »

วิกตอเรีย ยูจีนีแห่งบัทเทนแบร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งสเปน

้าหญิงวิกตอเรีย ยูจีนีแห่งบัทเทนแบร์ก (Princess Victoria Eugenie of Battenberg; พระนามเต็ม วิกตอเรีย ยูจีนี จูเลีย เอนา; 24 ตุลาคม พ.ศ. 2430 - 15 เมษายน พ.ศ. 2512) ทรงเป็นสมเด็จพระราชินีมเหสีในพระเจ้าอัลฟอนโซที่ 13 แห่งสเปน และพระราชนัดดาพระองค์หนึ่งในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย นอกจากนี้สมเด็จพระราชาธิบดีควน การ์โลสที่ 1 แห่งสเปน ยังเป็นพระราชนัดดาของพระองค์อีกด้ว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และวิกตอเรีย ยูจีนีแห่งบัทเทนแบร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งสเปน · ดูเพิ่มเติม »

วิลเลียม ฮาวเวิร์ด แทฟต์

วิลเลียม ฮาวเวิร์ด แทฟต์ (William Howard Taft) เป็นประธานาธิบดีคนที่ 27 ของสหรัฐอเมริกา เขาเกิดเมื่อวันที่ 15 กันยายน ค.ศ. 1857 เขาดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีต่อจากทีโอดอร์ โรสเวลต์จากพรรคริพับลิกัน แทฟต์เริ่มดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีเมื่อวันที่ 4 มีนาคม ค.ศ. 1909 จนครบวาระในปี ค.ศ. 1913 แทฟต์เสียชีวิตเมื่อวันที่ 8 มีนาคม ค.ศ. 1930 ด้วยวัย 72 ปี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และวิลเลียม ฮาวเวิร์ด แทฟต์ · ดูเพิ่มเติม »

วิลเฮล์ม คอนราด เรินต์เกน

วิลเฮล์ม คอนราด เรินต์เกน วิลเฮล์ม คอนราด เรินต์เกน (Wilhelm Conrad Röntgen - 27 มีนาคม พ.ศ. 2388 — 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2466) นักฟิสิกส์ชาวเยอรมัน ประจำมหาวิทยาลัยเวิร์ซแบร์ก ผู้ค้นพบและสร้าง รังสีแม่เหล็กไฟฟ้า ที่มี ช่วงคลื่น ขนาดที่รู้จักในปัจจุบันว่า รังสีเอกซ์ (x-rays) หรือ รังสีเรนต์เกน เมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2438ความสำเร็จที่ทำให้เรินต์เกนได้รับรางวัลโนเบลรางวัลแรก เมื่อ..

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และวิลเฮล์ม คอนราด เรินต์เกน · ดูเพิ่มเติม »

วิทยุกระจายเสียงในประเทศไทย

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพชรอัครโยธิน วิทยุกระจายเสียงในประเทศไทย ถือกำเนิดขึ้นระยะแรก ราวปี พ.ศ. 2470-2472 โดยพลเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพชรอัครโยธิน ซึ่งทรงริเริ่มทดลองส่งวิทยุกระจายเสียง เป็นครั้งแรกในประเทศสยาม โดยทรงตั้งชื่อว่า “สถานีวิทยุกรุงเทพฯ ที่พญาไท” เนื่องจากส่งกระจายเสียงจากพระราชวังพญาไท และยังทรงมอบหมายให้กรมไปรษณีย์โทรเลข โดยกองช่างวิทยุ ดำเนินการทดลองส่งวิทยุกระจายเสียง เป็นการคู่ขนานกับสถานีส่วนพระองค์ โดยผู้ฟังนิยมเรียกว่า “สถานีวิทยุศาลาแดง” เนื่องจากสถานีส่งกระจายเสียง ตั้งอยู่ในบริเวณย่านที่เรียกว่าศาลาแดง และต่อมาสถานีวิทยุกรุงเทพฯ ที่พญาไท เปิดกระจายเสียงอย่างเป็นทางการ เริ่มด้วยการถ่ายทอดเสียงสด กระแสพระราชดำรัส เนื่องในการพระราชพิธีฉัตรมงคล ในพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 7 เมื่อวันพุธที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2473 จากพระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัยมไหยสูรยพิมาน ในพระบรมมหาราชวัง กรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2479 กองช่างวิทยุต้องดำเนินการขนย้าย เครื่องส่งวิทยุกระจายเสียง ของสถานีวิทยุกรุงเทพฯ ที่พญาไท เข้าไปไว้รวมกันที่สถานีวิทยุศาลาแดง เนื่องจากทางกองทัพบกต้องการนำที่ดิน บริเวณพระราชวังพญาไท เพื่อไปใช้สอยในราชการ (ก่อตั้งเป็นโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า) และเมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2482 คณะรัฐมนตรีซึ่งนำโดยนายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ลงมติให้โอนกิจการวิทยุกระจายเสียง ซึ่งกรมไปรษณีย์โทรเลขดำเนินการอยู่นั้น ไปขึ้นตรงกับกรมโฆษณาการ สำนักนายกรัฐมนตรี (ปัจจุบันคือกรมประชาสัมพันธ์) โดยให้ชื่อใหม่ว่า “สถานีวิทยุกรุงเทพฯ” ซึ่งใช้อยู่เพียงเวลาสั้นๆ ก่อนจะเปลี่ยนอีกครั้งเป็น “สถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย” หลังจากมีประกาศรัฐนิยมฉบับที่ 1 เปลี่ยนชื่อประเทศจากสยามเป็นไทย เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2482 สืบเนื่องจากในช่วงเดือนเมษายน พ.ศ. 2488 ระหว่างสงครามมหาเอเชียบูรพา เครื่องบินต่างชาติทิ้งระเบิดลงมา ยังโรงไฟฟ้าทั้งสองแห่งของจังหวัดพระนคร จนเกิดความเสียหายเป็นอย่างมาก กรมโฆษณาการจึงไม่มีกระแสไฟฟ้า สำหรับส่งกระจายเสียงวิทยุ เป็นเวลาหลายวัน ดังนั้นเมื่อวันที่ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2489 กองช่างวิทยุ กรมไปรษณีย์โทรเลข จึงดำเนินการก่อตั้ง “สถานีวิทยุ 1 ป.ณ.” ที่อาคารกรมไปรษณีย์โทรเลขหลังเก่า บริเวณเชิงสะพานพระพุทธยอดฟ้า ฝั่งพระนคร ช่วงหน้าวัดราชบุรณราชวรวิหาร (วัดเลียบ) เพื่อส่งกระจายเสียงโดยคู่ขนาน กับสถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย ตามคำสั่งของกระทรวงคมนาคม ที่ให้รื้อฟื้นการส่งวิทยุกระจายเสียงขึ้นใหม่ เพื่อสำรองใช้ในราชการ หากสถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย ของกรมโฆษณาการ (กรมประชาสัมพันธ์) ไม่สามารถส่งกระจายเสียงได้.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และวิทยุกระจายเสียงในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

วูดโรว์ วิลสัน

ทมัส วูดโรว์ วิลสัน (Thomas Woodrow Wilson) เป็นนักการเมืองและนักวิชาการอเมริกันผู้ดำรงตำแหน่งเป็นประธานาธิบดีคนที่ 28 ของสหรัฐอเมริกา ดำรงตำแหน่งเป็นเวลาสองสมัย ระหว่าง..

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และวูดโรว์ วิลสัน · ดูเพิ่มเติม »

วีนีซีอุช จี โมไรช์

มาร์กุช วีนีซีอุช จี โมไรช์ (Marcus Vinicius de Moraes, 19 ตุลาคม ค.ศ. 1913 - 9 กรกฎาคม ค.ศ. 1980) เกิดที่รีโอเดจาเนโร ประเทศบราซิล เป็นทั้งนักเขียนบทละคร, กวี และที่คนจดจำเขาได้มากที่สุดในฐานะนักแต่งเพลงและนักร้องเพลงแนวบอสซาโนวา ซึ่งเนื้อเพลงที่เขาแต่งนั้น ยังเป็นที่นิยมและมีคนนำมาขับร้องใหม่จนถึงทุกวันนี้ หมวดหมู่:ดนตรีบอสซาโนวา หมวดหมู่:นักร้องบราซิล หมวดหมู่:นักเขียนชาวบราซิล หมวดหมู่:นักแต่งเพลงชาวบราซิล หมวดหมู่:บุคคลจากรีโอเดจาเนโร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และวีนีซีอุช จี โมไรช์ · ดูเพิ่มเติม »

ว็อล์ฟกัง เพาล์

ว็อล์ฟกัง เพาล์ (Wolfgang Paul; 10 สิงหาคม ค.ศ. 1913 – 7 ธันวาคม ค.ศ. 1993) เป็นนักฟิสิกส์ชาวเยอรมัน เกิดที่เมืองโลเร็นทซ์เคียร์ชในแซกโซนี เป็นบุตรคนที่ 4 จากทั้งหมด 6 คนของทีโอดอร์และอลิซาเบธ (นามสกุลเดิม รัปเปิล) เพาล์ เพาล์เติบโตที่เมืองมิวนิกและเรียนที่มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีแห่งมิวนิก ก่อนจะย้ายไปเรียนที่มหาวิทยาลัยเทคนิคแห่งเบอร์ลินและตามฮันส์ ค็อพเฟอร์มันน์ ที่ปรึกษาระดับปริญญาเอกไปที่มหาวิทยาลัยคีล เพาล์เรียนจบปริญญาเอกจากมหาวิทยาลัยเทคนิคแห่งเบอร์ลินในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และว็อล์ฟกัง เพาล์ · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาพุทธในประเทศไทย

ระพุทธศาสนาเข้ามาสู่ดินแดนที่เป็นประเทศไทยในปัจจุบัน เมื่อประมาณ พ.ศ. 236 สมัยเดียวกันกับประเทศศรีลังกา ด้วยการส่งพระสมณทูตไปเผยแผ่พระพุทธศาสนาในประเทศต่างๆ 9 สาย โดยการอุปถัมภ์ของพระเจ้าอโศกมหาราช กษัตริย์อินเดีย ในขณะนั้นประเทศไทยรวมอยู่ในดินแดนที่เรียกว่าสุวรรณภูมิ ซึ่งมีขอบเขตกว้างขวาง มีประเทศรวมกันอยู่ในดินแดนส่วนนี้ทั้ง 7 ประเทศในปัจจุบัน ได้แก่ ไทย พม่า ศรีลังกา ญวน กัมพูชา ลาว มาเลเซีย ซึ่งสันนิษฐานว่ามีใจกลางอยู่ที่จังหวัดนครปฐมของไทย เนื่องจากได้พบโบราณวัตถุที่สำคัญ เช่นพระปฐมเจดีย์ และรูปธรรมจักรกวางหมอบเป็นหลักฐานสำคัญ แต่พม่าก็สันนิษฐานว่ามีในกลางอยู่ที่เมืองสะเทิม ภาคใต้ของพม่า พระพุทธศาสนาเข้ามาสู่สุวรรณภูมิในยุคนี้ นำโดยพระโสณะและพระอุตตระ พระเถระชาวอินเดีย เดินทางมาเผยแผ่พุทธศาสนาในแถบนี้ จนเจริญรุ่งเรืองมาตามลำดับ ตามยุคสมัยต่อไปนี้.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และศาสนาพุทธในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

สภาสูง

"สภาสูง" (อังกฤษ: upper house) เป็นชื่อเรียกสภานิติบัญญัติสภาหนึ่ง บางประเทศอาจมีสภานิติบัญญัติสองสภาประกอบกันเป็นรัฐสภา อีกสภาหนึ่งเรียก "สภาล่าง" ซึ่งบางประเทศอาจมีแต่สภาล่างทำหน้าที่สภานิติบัญญัติ ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับการกำหนดขององค์อธิปัตย์ในประเทศนั้น ๆ สำหรับประเทศไทยมีสองสภา สภาสูงเรียก วุฒิสภา สภาล่างเรียก สภาผู้แทนราษฎร ทั้งสองสภารวมกันเรียกว่า รั.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และสภาสูง · ดูเพิ่มเติม »

สมโรจน์ สวัสดิกุล ณ อยุธยา

ท่านผู้หญิง สมโรจน์ สวัสดิกุล ณ อยุธยา (10 มกราคม 2456 - 5 มีนาคม 2550) เป็นผู้ประพันธ์คำร้องในเพลงพระราชนิพนธ์ ค่ำแล้ว, มหาจุฬาลงกรณ์, เมื่อโสมส่อง, ลมหนาว, พณิชยการพระนคร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และสมโรจน์ สวัสดิกุล ณ อยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เขียว จนฺทสิริ)

มเด็จพระพุฒาจารย์ (เขียว จนฺทสิริ) เป็นพระภิกษุธรรมยุติกนิกาย อดีตเจ้าคณะใหญ่คณะกลางและเจ้าอาวาสวัดราชาธิวาสราชวรวิหาร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และสมเด็จพระพุฒาจารย์ (เขียว จนฺทสิริ) · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช (เจริญ สุวฑฺฒโน)

มเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก พระนามเดิม เจริญ คชวัตร ฉายา สุวฑฺฒโน (3 ตุลาคม พ.ศ. 2456 – 24 ตุลาคม พ.ศ. 2556) เป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 19 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ สถิต ณ วัดบวรนิเวศราชวรวิหาร ทรงดำรงตำแหน่งเมื่อ..

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช (เจริญ สุวฑฺฒโน) · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชาธิบดีคอลิด บิน อับดัลอะซีซ อาล ซะอูด

มเด็จพระราชาธิบดีคอลิด บิน อับดัลอะซีซ อาล ซะอูด (خالد بن عبد العزيز آل سعود‎ Khālid ibn ‘Abd al ‘Azīz Āl Su‘ūd) (พระราชสมภพ 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2456 - สวรรคต 13 มิถุนายน พ.ศ. 2525) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 4 แห่งซาอุดีอาระเบีย เป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระราชาธิบดีอับดุลอะซีซ อิบน์ ซะอูด พระองค์ทรงครองราชย์เป็นเวลา 7 ปี และสวรรคตด้วยพระชนมายุ 69 พรรษา สมเด็จพระราชาธิบดีฟะฮด์ บิน อับดัลอะซีซ อาล ซะอูด พระอนุชาธิราช จึงขึ้นครองราชย์สมบัติเป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลต่อไป.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และสมเด็จพระราชาธิบดีคอลิด บิน อับดัลอะซีซ อาล ซะอูด · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช

อมพล จอมพลเรือ สมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช (11 มกราคม พ.ศ. 2402 - 13 มิถุนายน พ.ศ. 2471) เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี ประสูติเมื่อวันที่ 11 มกราคม พ.ศ. 2402 เป็นพระราชโอรสลำดับสุดท้ายในพระบรมราชชนนี เมื่อพระบรมราชชนนีสวรรคตสมเด็จเจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ พระชันษาเพียง 2 ปี สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช ชาววังมักเอ่ยพระนามอย่างลำลองว่า "สมเด็จพระราชปิตุลาฯ" ส่วนชาวบ้านมักออกพระนามว่า "สมเด็จวังบูรพา" เพราะทรงมีวังชื่อว่า "วังบูรพาภิรมย์" ซึ่งก็คือตำแหน่งที่เป็นย่านวังบูรพาในปัจจุบัน และทรงเป็น "ตา" ของพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธ์ยุคล พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมพลฑิฆัมพร และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการ ตามพระประวัตินั้น ทรงเป็นจอมพลในรัชกาลที่ 7 ที่ทหารรักมาก เล่ากันมาว่าพวกทหารมักจะแบกพระองค์ท่านขึ้นบนบ่าแห่แหนในวาระที่มีการฉลองต่างๆ เช่น ฉลองคล้ายวันประสูติ เป็นต้น ทรงเป็นผู้ให้กำเนิดกิจการไปรษณีย์ไทย ครั้งถึงร.7 ในพิธีบรมราชาภิเศก ทรงโปรดเกล้าฯ เฉลิมพระเกียรติยศสมเด็จพระปิตุลา(อา)แท้ๆที่เหลืออยู่พระองค์เดียวนี้เป็นสมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช ศักดินา 100,000 เป็นพิเศษ เทียบเท่า ศักดินา ตำแหน่ง พระบรมโอรสาธิราช, พระบรมราชินี, พระบรมราชเทวี ท่านจึงทรงเป็นผู้มีบุญพิเศษ ที่เป็นเจ้าฟ้าชั้นโทจากแรกประสูติ แล้วได้เฉลิมพระเกิยรติยศขึ้นเป็นเจ้าฟ้าชั้นพิเศษที่มีศักดินาสูงเช่นนี้ เมื่อสิ้นพระชนม์ จึงใช้คำว่า "ทิวงคต" ท่านได้เสด็จทิวงคต เมื่อวันที่ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2471 ทรงเป็นต้นราชสกุลภาณุพัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และสมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี

ลเอกหญิง พลเรือเอกหญิง พลอากาศเอกหญิง พลตำรวจเอกหญิง สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี (พระนามเดิม: สังวาลย์ ตะละภัฏ; พระราชสมภพ: 21 ตุลาคม พ.ศ. 2443 ณ จังหวัดนนทบุรี — สวรรคต: 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2538 ณ กรุงเทพมหานคร) เป็นพระชายาในสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก เป็นพระราชชนนีในสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์, พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร และพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และเป็นพระอัยยิกาในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร พระองค์มีพระนามที่นิยมเรียกกันว่า สมเด็จย่า ทั้งนี้พระองค์ยังได้ประกอบพระราชกรณียกิจเยี่ยมราษฎรชาวไทยภูเขาที่อาศัยในถิ่นทุรกันดาร และได้พระราชทานความช่วยเหลือผ่านทางเฮลิคอปเตอร์พระที่นั่ง เปรียบเสมือนพระองค์เสด็จมาจากฟากฟ้าช่วยให้พวกเขามีวิถีชีวิตที่ดีขึ้น ชาวไทยภูเขาจึงถวายพระสมัญญานามว่า "แม่ฟ้าหลวง"มูลนิธิแม่ฟ้าหลวง ในพระบรมราชูปถัม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (ปุ่น ปุณฺณสิริ)

มเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช พระนามเดิม ปุ่น สุขเจริญ ฉายา ปุณฺณสิริ เป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 17 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ สถิต ณ วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร ทรงดำรงตำแหน่งเมื่อปี พ.ศ. 2515 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ดำรงพระยศอยู่ 1 ปีเศษ สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 7 ธันวาคม พ.ศ. 2516 สิริพระชันษาได้ 77 ปี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (ปุ่น ปุณฺณสิริ) · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าอาภรณ์

มเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าอาภรณ์ (19 เมษายน พ.ศ. 2359 - พ.ศ. 2391) ประสูติเมื่อวันศุกร์ เดือน 5 แรม 7 ค่ำ ปีชวด อัฐศก..

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าอาภรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

สรรเสริญพระบารมี

ป็นบทเพลงซึ่งบรรเลงเพื่อสรรเสริญพระบารมีแห่งพระมหากษัตริย์ไทย เคยใช้เป็นเพลงชาติของประเทศไทย ระหว่างปี พ.ศ. 2431 - 2475 นับเป็นเพลงชาติไทยฉบับที่ 3 ทำนองทางไทยโดยพระประดิษฐไพเราะ (มี ดุริยางกูร) เมื่อ..

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และสรรเสริญพระบารมี · ดูเพิ่มเติม »

สริ ยงยุทธ

ริ ยงยุทธ (2 ธันวาคม พ.ศ. 2456 - 6 เมษายน พ.ศ. 2548) เป็นนักดนตรีที่มีชื่อเสียงในการเล่นเปียโนให้แก่วงดนตรีกรมโฆษณาการ หรือ วงดนตรีกรมประชาสัมพันธ์ หรือ วงดนตรีสุนทราภรณ์ในระยะต่อมา เป็นผู้แต่งทำนองเพลงไว้หลายเพลง เช่น รักเอาบุญ หากภาพเธอมีวิญญาณ ชั่วคืนเดียว ดาวเจ้าชู้ รักฉันตรงไหน อุบลรัตน์ เงาแห่งความหลัง วิมานทล.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และสริ ยงยุทธ · ดูเพิ่มเติม »

สัญญา ธรรมศักดิ์

ตราจารย์ สัญญา ธรรมศักดิ์ (5 เมษายน พ.ศ. 2450 — 6 มกราคม พ.ศ. 2545) เคยดำรงตำแหน่งประธานศาลฎีกา, คณบดีคณะนิติศาสตร์ และอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กรรมการข้าราชการพลเรือนผู้ทรงคุณวุฒิ,ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ปลัดกระทรวงยุติธรรมรองประธานสภาร่างรัฐธรรมนูญ, ได้รับการแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรี 2 สมัย และได้รับพระราชทานแต่งตั้งเป็นประธานองคมนตรี ถึงแก่อสัญกรรม ณ โรงพยาบาลรามาธิบดี กรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ 6 มกราคม พ.ศ. 2545 สิริอายุรวมได้ 94 ปี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และสัญญา ธรรมศักดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

สายเบเคอร์ลู

อร์ลู เป็นสายหนึ่งของรถไฟใต้ดินลอนดอน มีสีน้ำตาลบนแผนที่รถไฟใต้ดิน รถไฟที่วิ่งอยู่บนสายนี้มีทั้งขึ้นบกและอยู่ใต้ดิน โดยมี 10 สถานีอยู่ใต้ดิน และ 15 สถานีอยู่ใต้ดิน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และสายเบเคอร์ลู · ดูเพิ่มเติม »

สารานุกรมคาทอลิก

รานุกรมคาทอลิก (Catholic Encyclopedia) หรือ สารานุกรมคาทอลิกเก่า (Old Catholic Encyclopedia) คือสารานุกรมภาษาอังกฤษที่พิมพ์ในสหรัฐอเมริกา เล่มแรกพิมพ์ในเดือนมีนาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และสารานุกรมคาทอลิก · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรฟุตบอลอาร์เซนอล

มสรฟุตบอลอาร์เซนอล (Arsenal Football Club) เป็นสโมสรฟุตบอลที่เล่นในพรีเมียร์ลีก จากย่านฮอลโลเวย์ ในกรุงลอนดอน เป็นสโมสรฟุตบอลที่ประสบความสำเร็จมากที่สุดแห่งหนึ่งในฟุตบอลอังกฤษ ครองแชมป์ลีกสูงสุดของอังกฤษ 13 ครั้งและเอฟเอคัพ 13 ครั้ง อีกทั้งยังเป็นเจ้าของสถิติผู้เข้าชิงชนะเลิศในเอฟเอคัพมากที่สุด คือ 20 ครั้ง และยังเป็นแชมป์เอฟเอคัพมากที่สุด อาร์เซนอลถือสถิติร่วม โดยอยู่ในลีกสูงสุดของอังกฤษยาวนานที่สุดโดยไม่ตกชั้น และติดอยู่อันดับ 1 ของผลรวมอันดับในลีก ของทั้งศตวรรษที่ 20 และเป็นทีมที่ 2 ที่จบการแข่งขันฤดูกาลในลีกสูงสุดของอังกฤษโดยไม่แพ้ทีมไหน (ในฤดูกาล 2003–04) เป็นทีมเดียวที่ไม่แพ้ใครทั้ง 38 นัด อาร์เซนอลก่อตั้งในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และสโมสรฟุตบอลอาร์เซนอล · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด

มสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ยูไนเตด (Manchester United Football Club) เป็นสโมสรฟุตบอลที่มีชื่อเสียงของอังกฤษ มีสนามเหย้าคือโอลด์แทรฟฟอร์ดในเมืองแมนเชสเตอร์ แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ดเป็นสโมสรที่ประสบความสำเร็จสูงสโมสรหนึ่ง โดยชนะเลิศแชมป์ลีก 20 ครั้ง (เอฟเอ พรีเมียร์ลีก/ดิวิชัน 1) ชนะเอฟเอคัพ 12 ครั้ง ฟุตบอลลีกคัพ 5 ครั้ง ชนะยูโรเปียนคัพ/ยูฟ่า แชมเปียนส์ลีก 3 ครั้ง ชนะเอฟเอคอมมิวนิตีชีลด์ 21 ครั้ง และชนะยูฟ่า คัพ วินเนอร์สคัพ อินเตอร์เนชันแนลคัพ ยูโรเปียนซูเปอร์คัพ ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก และ ยูฟ่ายูโรปาลีก อย่างละ 1 ครั้ง แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ดเป็นสโมสรกีฬาที่ได้รับความนิยม โดยแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ดมีสถิติผู้เข้าชมในสนามมากที่สุดในฟุตบอลอังกฤษตลอด 34 ฤดูกาล ยกเว้นในฤดูกาล 1987–89 ที่มีการปรับปรุงสนามโอลด์แทรฟฟอร์ด แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ดเป็นสโมสรหนึ่งในกลุ่มจี-14 ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1991 สโมสรปรับปรุงรูปแบบดำเนินกิจการเป็นบริษัทมหาชน อย่างไรก็ตาม ต่อมานักธุรกิจชาวอเมริกัน มัลคอล์ม เกลเซอร์ เข้าครอบครองแบบไม่เป็นมิตร เป็นผลสำเร็จ และนำสโมสรออกจากตลาดหลักทรัพย์ลอนดอน ตั้งแต่ปี ค.ศ. 2005.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมราชวงศ์จักรทอง ทองใหญ่

หม่อมราชวงศ์จักรทอง ทองใหญ่ (พ.ศ. 2456-พ.ศ. 2541) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในสมัยของจอมพลถนอม กิตติขจร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และหม่อมราชวงศ์จักรทอง ทองใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมหลวงเติบ ชุมสาย

หม่อมหลวงเติบ ชุมสาย (25 สิงหาคม พ.ศ. 2456 - พ.ศ. 2529) เป็นผู้เชี่ยวชาญการทำอาหารไทย และเป็นผู้นำการเผยแพร่อาหารไทยให้มีชื่อเสียงในต่างประเทศ มีชื่อเสียงจากการจัดรายการโทรทัศน์ "รายการแม่บ้าน" ถ่ายทอดทาง ช่อง 4 บางขุนพรหม และ ช่อง 9 ติดต่อกันนานถึง 20 ปี และเขียนบทความ ถ่ายทอดความรู้เกี่ยวกับการปรุงอาหารไทย ในหนังสือ "คู่มือแม่บ้าน" หม่อมหลวงเติบ ชุมสาย เป็นบุตรคนที่ 6 ในจำนวน 7 คนของ พระยาสีหศักดิ์สนิทวงศ์ (หม่อมราชวงศ์ถัด ชุมสาย บุตรหม่อมเจ้าประวิช ชุมสาย กับหม่อมเจ้าหญิงสารภี สนิทวงศ์) กับคุณหญิงสีหศักดิ์สนิทวงศ์ (ติ๊ โภคาสมบัติ ธิดาขุนโภคาสมบัติ (เอม) กับนางโภคาสมบัติ (จั่น)) พี่น้องจำนวน 7 คน ได้แก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และหม่อมหลวงเติบ ชุมสาย · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมหลวงเนื่อง นิลรัตน์

หม่อมหลวงเนื่อง นิลรัตน์ นักเขียนชาวไทย เจ้าของผลงานคอลัมน์ และหนังสือชุด "ชีวิตในวัง" และ "ชีวิตนอกวัง" ผู้ได้รับรางวัลนราธิป ประจำปี พ.ศ. 2546.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และหม่อมหลวงเนื่อง นิลรัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าบันลุศิริศานต์ ดิศกุล

หม่อมเจ้าบันลุศิริศานต์ ดิศกุล (ในหนังสือนิทานโบราณคดีสะกดเป็น "บรรลุศิริสาร") หรือ "ท่านหญิงเภา" (กันยายน พ.ศ. 2441 — 22 เมษายน พ.ศ. 2455) ทรงเป็นพระธิดาในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ กับหม่อมเจิม ดิศกุล ณ อยุธยา (สกุลเดิม: สนธิรัตน์) ซึ่งถึงชีพิตักษัยจากโรคพิษสุนัขบ้า การถึงชีพิตักษัยของท่านได้เป็นจุดเริ่มต้นของการก่อตั้งสถานเสาวภา สภากาชาดไทย เหตุแห่งการถึงชีพิตักษัยของหม่อมเจ้าบันลุศิริศานต์ปรากฏรายละเอียดอยู่ในพระนิพนธ์ของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ เรื่อง "นิทานโบราณคดี" นิทานที่ 13 เรื่องอนามัย ซึ่งระบุไว้ว่าในปี พ.ศ. 2455 ขณะนั้นพระองค์ในฐานะเสนาบดีกระทรวงมหาดไทยพร้อมด้วยครอบครัวได้ตามเสด็จพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งเสด็จออกไปประทับที่พระราชวังสนามจันทร์ จังหวัดนครปฐม บ่ายวันหนึ่งมีสุนัขบ้าวิ่งเข้ามาในบ้านพักของพระองค์และได้กัดขาหม่อมเจ้าบันลุศิริศานต์ซึ่งทรงหกล้มขณะวิ่งหนีสุนัขบ้า ปรากฏเป็นแผลรอยเขี้ยว 2 แผล สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพจึงทรงรีบสืบหาแพทย์ที่ชำนาญการรักษาโรคพิษสุนัขบ้าในเวลานั้น ความทราบถึงพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงแนะนำให้สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ส่งตัวหม่อมเจ้าบันลุศิริศานต์ไปรักษายังสถาบันปาสเตอร์ที่เมืองไซง่อน อินโดจีนของฝรั่งเศส เนื่องจากที่นั่นมียาสำหรับรักษาโรคนี้ แต่เรือเดินทะเลประจำทางที่ไปไซ่ง่อนได้ออกเดินทางไปก่อนหน้านั้นไม่กี่วัน จำเป็นต้องรอถึง 15 วันจึงจะมีเรือลำใหม่เข้ามาที่กรุงเทพ จึงได้แต่รักษาอาการตามแบบแพทย์แผนไทยจนแผลหาย หลังจากนั้นประมาณ 3 เดือน เช้าวันหนึ่งหม่อมเจ้าบันลุศิริศานต์ทรงมีอาการของโรคกลัวน้ำ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพทรงตามแพทย์ฝรั่งให้มาตรวจอาการ จึงทราบว่าหมดทางรักษาแล้ว อาการของหม่อมเจ้าบันลุศิริศานต์ได้ทรุดลงอย่างรวดเร็วและถึงชีพิตักษัยในเวลาดึกของค่ำวันนั้น เมื่อหม่อมเจ้าบันลุศิริศานต์สิ้นชีพิตักษัย นายแพทย์ชาวฝรั่งเศสซึ่งเป็นมิตรคนหนึ่งของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ได้แนะนำพระองค์เกี่ยวกับการจัดตั้งสถานปาสเตอร์ในกรุงเทพขึ้นเพื่อผลิตยารักษาและป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ซึ่งพระองค์ทรงเห็นด้วย เพราะทรงเคยเห็นกิจการของสถาบันปาสเตอร์ที่กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส เมื่อครั้งเสด็จไปราชการในทวีปยุโรปในปี พ.ศ. 2434 มาก่อน พระองค์จึงทรงขอพระบรมราชานุญาตประกาศบอกบุญเรี่ยไรเงิน และได้จัดตั้งสถานปาสเตอร์ขึ้นที่ตึกของกระทรวงมหาดไทยริมโรงเลี้ยงเด็ก ถนนบำรุงเมือง เมื่อปี พ.ศ. 2456 (ในเวลานั้นเรียกว่า "ปัสตุรสภา") ต่อมาในปี พ.ศ. 2460 กิจการดังกล่าวได้โอนจากกระทรวงมหาดไทยไปอยู่ในความดูแลของกองวิทยาศาสตร์ สภากาชาดสยาม โดยใช้สถานที่เดิมเป็นที่ทำการไปพลางก่อน และในปี พ.ศ. 2465 ได้ย้ายที่ตั้งมาอยู่ที่ทำการแห่งใหม่ในชื่อสถานเสาวภาจนถึงปัจจุบัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และหม่อมเจ้าบันลุศิริศานต์ ดิศกุล · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าสนิทประยูรศักดิ์ รังสิต

หม่อมเจ้าสนิทประยูรศักดิ์ รังสิต เป็นพระโอรสใน สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารังสิตประยูรศักดิ์ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร และหม่อมเอลิซาเบท รังสิต ณ อยุธยา ประสูติเมื่อวันที่ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2460 มีพระเชษฐาและพระขนิษฐา คือ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และหม่อมเจ้าสนิทประยูรศักดิ์ รังสิต · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าอาชวดิศ ดิศกุล

หม่อมเจ้าอาชวดิศ ดิศกุล (23 มีนาคม พ.ศ. 2456 - 4 ธันวาคม พ.ศ. 2518) พระโอรสในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ กับหม่อมเจิม ดิศกุล ณ อยุธยา เสกสมรสกับ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าหญิงศิริรัตนบุษบง พระธิดาในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต และหม่อมเจ้าประสงค์สม บริพัตร เมื่อวันที่ 22 สิงหาคม พ.ศ. 2490 แต่ไม่มีพระบุตรด้วยกัน มีเพียงบุตรบุญธรรมคือ ฤทธิ์ดำรง ดิศกุล ซึ่งเป็นบุตรของณรงค์ฤทธิ์ บุญ-หลง กับหม่อมราชวงศ์บุศยทิพย์ เทวกุล ซึ่งมีศักดิ์หลานสาวของหม่อมเจ้าอาชวดิศ หม่อมเจ้าอาชวดิศ ทรงเป็นนักเรียนอังกฤษรุ่นเดียวกับหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช ทรงเคยเป็นผู้จัดการฝ่ายการเงิน โรงไฟฟ้าวัดเลียบ แล้วได้รับการชักชวนจากหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ให้มาเป็นผู้บริหารธนาคารกรุงเทพฯ พาณิชยการ ทรงดำรงตำแหน่งกรรมการผู้จัดการธนาคาร นิตยสารผู้จัดการ,มกราคม 2536 จนกระทั่งสิ้นชีพิตักษัย อย่างกะทันหันเมื่อวันที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2518 พระชันษา 62 ปี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และหม่อมเจ้าอาชวดิศ ดิศกุล · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าปิยะรังสิต รังสิต

หม่อมเจ้าปิยะรังสิต รังสิต ประสูติ ณ วังไม้ เมื่อวันที่ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2456 ทรงเป็นโอรสพระองค์ใหญ่ในสมเด็จพระบรมวงศ์เธอ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร (พระองค์เจ้ารังสิตประยูรศักดิ์ ราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และเจ้าจอมมารดา หม่อมราชวงศ์เนื่อง สนิทวงศ์) และหม่อมเอลิซาเบท รังสิต ณ อยุธยา หม่อมเจ้าปิยะรังสิต รังสิต ถึงชีพิตักษัยด้วยพระหทัยวาย ณ เชียงใหม่ เมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2533 ชนมายุ 76 ปี 1 เดือน 6 วัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และหม่อมเจ้าปิยะรังสิต รังสิต · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้านิวัทธวงศ์ เกษมสันต์

หม่อมเจ้านิวัทธวงศ์ เกษมสันต์ ทรงเป็นโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงพรหมวรานุรักษ์กับหม่อมราชวงศ์ละม้าย (สุริยกุล) เกษมสันต์ ประสูติเมื่อวันที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2438 ถวายตัวเป็นมหาดเล็กในสมเด็จเจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถเมื่อ พ.ศ. 2449 สอบได้ทุนของกระทรวงกลาโหมไปศึกษาต่อที่ประเทศรัสเซีย เมื่อ พ.ศ. 2456 ทรงเสกสมรสกับหม่อมเจ้าหญิงวงศ์แข เกษมศรี สิ้นชีพิตักษัยเมื่อวันที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2507 นิวัทธวงศ์ เกษมสันต์ นิวัทธวงศ์ เกษมสันต์ หมวดหมู่:ราชสกุลสุริยกุล.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และหม่อมเจ้านิวัทธวงศ์ เกษมสันต์ · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้านิสากร ศรีธวัช

อำมาตย์เอก หม่อมเจ้านิสากร ศรีธวัช (1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2422 - 3 มีนาคม พ.ศ. 2472) เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีสิทธิธงไชย กรมขุนสิริธัชสังกาศ กับหม่อมอุ่ม ทรงเข้าพิธีเกศากันต์ ณ วันที่ 19 มีนาคม พ.ศ. 2432 หม่อมเจ้านิสากร ศรีธวัช ทรงเข้ารับราชการเป็นเลขานุการมณฑลอิสาณ พ.ศ. 2443 เป็นปลัดจังหวัดสุรินทร์ พ.ศ. 2454 รับพระราชทานยศเป็นรองอำมาตย์โท ผู้ว่าราชการจังหวัดบุรีรัมย์ พ.ศ. 2456 เลื่อนยศเป็นอำมาตย์โท ผู้ว่าราชการจังหวัดระยอง พ.ศ. 2467 ผู้ว่าราชการจังหวัดสวรรคโลก พ.ศ. 2470 อำมาตย์เอก ผู้ว่าราชการจังหวัดพิจิตร พ.ศ. 2471 หม่อมเจ้านิสากร ศรีธวัช ประชวรโรคเส้นโลหิตในสมองแตก ถึงชีพิตักษัยเมื่อวันที่ 3 มีนาคม พ.ศ. 2472 สิริชันษาได้ 51 ปี ได้รับพระราชทานเพลิงศพ ณ วัดมกุฏกษัตริยารามราชวรวิหาร เมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และหม่อมเจ้านิสากร ศรีธวัช · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าไตรทิพเทพสุต เทวกุล

ันตรีหม่อมเจ้าไตรทิพเทพสุต เทวกุล เป็นพระโอรสในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเทวัญอุไทยวงศ์ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ กับหม่อมใหญ่ เทวกุล ณ อยุธยา (บุตรีของเจ้าพระยาสิริรัตนมนตรี (หงส์ สุจริตกุล)) ประสูติ ณ วังเดิมเชิงสะพานถ่าน (หรือเรียกโดยสามัญว่า วังสะพานถ่าน) กรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นตลาดบำเพ็ญบุญในปัจจุบันนี้ เมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2439 เวลา 17.25 น. ได้รับพระราชทานนาม ไตรทิพเทพสุต จากสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และหม่อมเจ้าไตรทิพเทพสุต เทวกุล · ดูเพิ่มเติม »

หลวงอิศรางกูรเสนีย์ (หม่อมหลวงแช่ม อิศรางกูร)

ร้อยเอก พลอากาศตรี หลวงอิศรางกูรเสนีย์ (หม่อมหลวงแช่ม อิศรางกูร) (11 มิถุนายน พ.ศ. 2440 - 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2518) อดีตรองเสนาธิการทหารอาก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และหลวงอิศรางกูรเสนีย์ (หม่อมหลวงแช่ม อิศรางกูร) · ดูเพิ่มเติม »

หลวงปู่ผินะ ปิยธโร

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และหลวงปู่ผินะ ปิยธโร · ดูเพิ่มเติม »

อัมพร จินตกานนท์

ลโทอัมพร จินตกานนท์ (พ.ศ. 2456 - พ.ศ. 2531) เป็น กรรมการเจ้าหน้าที่ควบคุมและตรวจข่าวโฆษณาทางหนังสือพิมพ์และสิ่งพิมพ์ ตามประกาศ คณะบริหารประเทศชั่วคราว ฉบับที่ 4 คณะบริหารประเทศชั่วคราว ในเหตุการณ์ รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2494 ผู้มีชื่อเสียงในช่วง..

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และอัมพร จินตกานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

อัลเบน บาร์กเลย์

อัลเบน วิลเลี่ยม บาร์กเลย์ (Alben William Barkley; 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2420 - 30 เมษายน พ.ศ. 2499) เป็นนักการเมืองชาวอเมริกัน ดำรงตำแหน่งเป็นรองประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกาคนที่ 35 ระหว่าง พ.ศ. 2492 ถึง 2496 ในสมัยประธานาธิบดีแฮร์รี เอส. ทรูแมน จ หมวดหมู่:พรรคเดโมแครต (สหรัฐอเมริกา) หมวดหมู่:นักการเมืองอเมริกัน หมวดหมู่:บุคคลจากรัฐเคนทักกี หมวดหมู่:สมาชิกวุฒิสภาสหรัฐจากรัฐเคนทักกี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และอัลเบน บาร์กเลย์ · ดูเพิ่มเติม »

อารีย์ ลีวีระ

อารีย์ ลีวีระ (พ.ศ. 2456 - 9 มีนาคม พ.ศ. 2496) เป็นนักเขียน นักหนังสือพิมพ์ ผู้อำนวยการบริษัทไทยพาณิชย์ เจ้าของกิจการหนังสือพิมพ์ "สยามนิกร" และ "พิมพ์ไทย" อดีตนายกสมาคมหนังสือพิมพ์แห่งประเทศไทย 2 สมัย ระหว่าง..

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และอารีย์ ลีวีระ · ดูเพิ่มเติม »

อาร์เอ็มเอส ไททานิก

อาร์เอ็มเอส ไททานิก (RMS Titanic) เป็นเรือโดยสารซึ่งจมลงสู่ก้นมหาสมุทรแอตแลนติกเมื่อวันที่ 15 เมษายน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และอาร์เอ็มเอส ไททานิก · ดูเพิ่มเติม »

อาร์เธอร์ อีแวนส์

รูปปั้นบรอนซ์ของเซอร์อาเธอร์ อีแวนส์ที่วังนอสซัส เซอร์อาเธอร์ จอห์น อีแวนส์ อังกฤษ: Sir Arthur John Evans (8 กรกฎาคม พ.ศ. 2394 - 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2484 นักโบราณคดีผู้มีชื่อเสียงของอังกฤษผู้ขุดค้นวังนอสซัสบนเกาะครีต ประเทศกรีก อีแวนส์เกิดที่เมืองแนชมิลลส์ ประเทศอังกฤษ เข้าศึกษาขั้นต้นที่โรงเรียนแฮโรว์ และเข้าศึกษาระดับมหาวิทยาลัยที่วิทยาลัยบราเซโนส มหาวิทยาลัยออกซ์ฟอร์ด และมหาวิทยาลัยกอตติงเก็น ประเทศเยอรมนี ก่อนที่อีแวนส์จะเริ่มงานที่เกาะครีต นักโบราณคดีชื่อ มิโนส คาโลไคไนโนส ได้เปิดหลุมขุดค้นข้องเก็บของที่วังนอสซัสแล้วสองห้องเมื่อ พ.ศ. 2347 แต่รัฐบาลตุรกีได้ยับยั้งการขุดค้นนี้ไว้ก่อนงานขุดค้นจะแล้วเสร็จ อีแวนส์ได้ถอดรหัสที่จารึกบนตราที่ทำด้วยหินบนเกาะครีตในปีเดียวกันและเมื่อครีตได้ประกาศเอกราชเมื่อ พ.ศ. 2443 อีแวนส์ได้ซื้อบริเวณซากวังนอสซัสและเริ่มงานขุดค้น เซอร์อาเธอร์ อีแวนส์ได้ค้นพบ แผ่นดินเผาจากการขุดค้นมากถึง 3,000 แผ่นและเริ่มงานคัดลอกและถอดระหัส และจากการคัดลอกและถ่ายทอดนี้เป็นที่ชัดเจนว่าข้อความบนแผ่นดินเผาเป็นบทเขียนที่มากกว่าหนึ่งบท จากหลักฐานของเซรามิกและและวิชาการลำดับชั้นหิน (stratigraphy) อีแวนส์สรุปว่าอารยธรรมบนเกาะครีตมีมาก่อนอารยธรรมที่เป็นที่รับรู้เมื่อเร็วนี้โดยนักโบราณคดี-นักผจญภัยชื่อไฮน์ริช ชรีมานน์เป็นผู้เปิดเผย คืออารยธรรมไมซีนี (Mycenae) และไทรีนส์ (Tiryns) ซากโบราณที่วังนอสซัสแผ่กว้างเป็นเนื้อที่มากถึง 12.5 ไร่ และมีลักษณะความวกวนที่ทำให้อีแวนศนึกถึงเขาวงกตที่มีกล่าวไว้ในเรื่องปรัมปราของกรีกที่สร้างโดยกษัตริย์ไมโนสเพื่อซ่อนพระโอรสประหลาด (monstrous child - คนศีรษะวัว) ดังนั้น อีแวนส์จึงตั้งชื่ออารยธรรมที่เคยมีอยู่ที่พระราชวังยิ่งใหญ่นี้ว่า "อารธรรมมิโนน (Minoan Civilization) เมื่อถึง พ.ศ. 2446 งานขุดค้นวังนอสซัสแล้วเสร็จลงเกือบทั้งหมด เผยให้เห็นความก้าวหน้าของเมืองที่เต็มไปด้วยงานศิลปะและตัวอย่างงานเขียนจำนวนมาก ภาพที่เขียนบนผนังมีภาพวัวเป็นจำนวนมากทำให้อีแวนส์สรุปว่าชาวมิโนนบูชาวัวอย่างแน่นอน อีแวนส์ได้รับบรรดาศักดิ์เมื่อ พ.ศ. 2454 จากผลงานด้านโบราณคดีและได้มีการจัดสร้างอนุสาวรีย์ของเขาทั้งที่นอสซัสและที่พิพิธภัณฑ์แอชโมลีน ในปี พ.ศ. 2456 เซอร์อีแวนส์ได้ใช้เงินส่วนตัวจำนวน 100 ปอนด์เพื่อเพิ่มทุนการศึกษาที่ร่วมกันตั้งโดยมหาวิทยาลัยลอนดอนและสมาคมโบราณคดีให้เพิ่มเป็นสองเท่าเพื่อเป็นอนุสรณ์แก่ออกัสตัส โวลลาสตัน แฟรงค์ ผู้ได้ทุนในปีนั้นได้แก่มอร์ติเมอร์ วีลเลอร์ เซอร์อาเธอร์ อีแวนส์สมควรที่จะได้รับการจดจำจากความดื้อดึงในการยึดครีตเป็นศูนย์กลางที่นำไปสู่การโต้เถียงที่ไม่มีความเป็นมิตรระหว่างอีแวนส์กับนักโบราณคดีบนแผ่นดินใหญ่ คือคาร์ล เบลเจน และอลัน วาซ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และอาร์เธอร์ อีแวนส์ · ดูเพิ่มเติม »

อาร์เซนอลสเตเดียม

อาร์เซนอลสเตเดียม เป็นสนามฟุตบอลแห่งหนึ่งในย่านไฮบรี ลอนดอนเหนือ เป็นสนามเหย้าของสโมสรฟุตบอลอาร์เซนอลระหว่างวันที่ 6 กันยายน ค.ศ. 1913 จนถึง 7 พฤษภาคม ค.ศ. 2006 มักจะเป็นที่รู้จักกันในชื่อ ไฮบรี เนื่องจากตั้งอยู่ในย่านไฮบรี และสโมสรมักจะเรียกสนามแห่งนี้ด้วยชื่อเล่นว่า "บ้านของฟุตบอล" อาร์เซนอลสเตเดียมเริ่มสร้างในปี 1913 บนสนามพักผ่อนของวิทยาลัยท้องถิ่นแห่งหนึ่งในย่านนี้และมีการปรับปรุงใหม่ครั้งสำคัญๆถึงสองครั้ง ครั้งแรกในราวทศวรรษที่ 1930 คือการปรับปรุงอัฒจันทน์ด้านตะวันออกและตะวันตก และครั้งที่สองตอนปลายทศวรรษที่ 1980 และต้นทศวรรษที่ 1990 ตามเอกสารของ Taylor Report โดยมีการยกเลิกพื้นที่สำหรับการยืนชมเกมทั้งสองข้างสนามออกและทำเป็นที่นั่งทิ้งหมดบนอัฒจันทน์ทั้งสี่ด้าน ทำให้สนามสามารถจุผู้ชมได้น้อยลงและเนื่องจากสโมสรต้องการรายได้จากค่าผ่านประตูในแต่ละเกมการแข่งขัน อาร์เซนอลจึงได้ตัดสินใจย้ายสนามเหย้าไปอยู่ที่เอมิเรตส์สเตเดียมในปี 2006 ในปัจจุบัน ไฮบรีกำลังอยู่ระหว่างการปรับปรุงให้เป็นศูนย์รวมอะพาร์ตเมนต์โดยมีการรื้อถอนโครงสร้างของสนามส่วนใหญ่ สนามแห่งนี้ยังเคยเป็นสนามที่ใช้แข่งขันเกมระดับทีมชาติอังกฤษและเอฟเอคัพรอบรองชนะเลิศ รวมไปถึงกีฬาชกมวย, เบสบอล และคริกเก็ตอีกด้วย นอกจากนั้นยังมีสถานรถไฟใต้ดินผ่านโดยในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และอาร์เซนอลสเตเดียม · ดูเพิ่มเติม »

อาลแบร์ กามูว์

อัลแบร์ กามู อัลแบร์ กามู (Albert Camus; 7 พฤศจิกายน ค.ศ. 1913 – 4 มกราคม ค.ศ. 1960) เป็นนักเขียนและนักปรัชญาชาวฝรั่งเศส ได้รับรางวัลโนเบลจากนวนิยายเรื่องคนนอกในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และอาลแบร์ กามูว์ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอกันตัง

กันตัง เป็นอำเภอเก่าแก่อำเภอหนึ่งในจังหวัดตรัง คำว่า "กันตัง" สันนิษฐานว่าเป็นคำในภาษามลายู.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และอำเภอกันตัง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอยางตลาด

งตลาด เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดกาฬสิน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และอำเภอยางตลาด · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอวารินชำราบ

วารินชำราบ เป็นอำเภอที่ตั้งอยู่ทางทิศใต้ของอำเภอเมืองอุบลราชธานี มีระยะทางห่างจากอำเภอเมืองเพียง 2 กิโลเมตร อยู่คนละฝั่งของแม่น้ำมูล เป็นที่ตั้งของสถานีรถไฟอุบลราชธานีและสถาบันการศึกษาที่สำคัญของจังหวัด คือ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และอำเภอวารินชำราบ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภออรัญประเทศ

อรัญประเทศ เป็นอำเภอชายแดนทางด้านตะวันออกของประเทศไทย มีแนวชายแดนติดต่อกับประเทศกัมพูชา เดิมเป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดกบินทร์บุรี ภายหลังถูกยุบรวมกับจังหวัดปราจีนบุรี (เมื่อวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2468) ปัจจุบันเป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดสระแก้วซึ่งเป็นจังหวัดที่ตั้งขึ้นมาใหม่ภายหลัง (เมื่อวันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2536).

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และอำเภออรัญประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเมืองยโสธร

มืองยโสธร เป็นอำเภอหนึ่ง ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย มีเนื้อที่ประมาณ 578.20 ตารางกิโลเมตร หรือ 361,378.5 ไร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และอำเภอเมืองยโสธร · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเมืองนครปฐม

อำเภอเมืองนครปฐม เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดนครปฐม เดิมชื่อ อำเภอพระปฐมเจดีย์ ต่อมาในปี พ.ศ. 2456 จึงได้เปลี่ยนชื่อมาเป็นอำเภอเมืองนครปฐม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และอำเภอเมืองนครปฐม · ดูเพิ่มเติม »

อิกอร์ สตราวินสกี

อิกอร์ เฟโดโรวิช สตราวินสกี้ (И́горь Фёдорович Страви́нский; Igor Stravinsky; 17 มิถุนายน ค.ศ. 1882 — 6 เมษายน ค.ศ. 1971)) เป็นคีตกวีดนตรีคลาสสิกสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 20 ชาวรัสเซีย สตราวินสกี้ ราวปี 1950 สตราวินสกี้เป็นบุตรชายของนักร้องชื่อดังแห่งโรงละครหลวง เขาเกิดที่เมืองออรานีนบาม (Oranienbaum) ซึ่งตอนนี้เปลี่ยนเป็นชื่อ โลโมโนซอฟ (Lomonosov) ใกล้กับนครเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก ในประเทศรัสเซีย เขาเรียนด้านกฎหมายกับเปียโน ก่อนที่จะมาเป็นศิษย์ของนิโคไล ริมสกี้-คอร์ซาคอฟ บทเพลงชื่อดังชิ้นแรกของเขาได้แก่ วิหคเพลิง (ค.ศ. 1910 ด้วยการจ้างของแซร์จ เดียกิเลฟ เพื่อใช้แสดงในคณะบัลเลต์รัสเซีย ตามมาด้วยเพลง เปทรูชก้า (ค.ศ. 1911) พิธีบูชายัญในฤดูใบไม้ผลิ (ค.ศ. 1913) และอุปรากร เรื่อง นกไนติงเกล (ค.ศ. 1914) มีเรื่องที่วิพากษ์วิจารณ์กันมากเกี่ยวกับบัลเลต์เรื่อง พิธีบูชายัญในฤดูใบไม้ผลิ ทั้งจากท่าเต้น และความไม่เหมือนใครของดนตรีประกอบ ทำให้สตราวินสกี้กลายเป็นคีตกวี ที่มีชื่อเสียงมากที่สุดในคริสต์ศตวรรษที่ 20 สตราวินสกี้เสียชีวิตที่นิวยอร์ก ศพของเขาถูกฝังไว้ที่สุสานซาน มิเชลในนครเวนิซ ประเทศอิตาลี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และอิกอร์ สตราวินสกี · ดูเพิ่มเติม »

อิลราชคำฉันท์

อิลราชคำฉันท์ เป็น วรรณคดี คำฉันท์ที่ได้รับการยกย่องว่าแต่งดี มีความไพเราะ และนิยมใช้เป็นแบบอย่างในการแต่งคำฉันท์มาช้านาน แม้จะมีความยาวเพียง 329 บท ตีพิมพ์เป็นหนังสือเล่มเล็กเพียง 36 หน้ากระดาษเท่านั้น นับเป็นคำฉันท์อีกเรื่องหนึ่งที่นักศึกษาวรรณคดีเอ่ยถึงเสมอ ผู้ประพันธ์อิลราชคำฉันท์คือ มหาเสวกตรี พระยาศรีสุนทรโวหาร (ผัน สาลักษณ) แต่งเมื่อครั้งยังมีบรรดาศักดิ์เป็นหลวง ที่ หลวงสารประเสร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และอิลราชคำฉันท์ · ดูเพิ่มเติม »

อุเทน เตชะไพบูลย์

อุเทน เตชะไพบูลย์ (3 มกราคม พ.ศ. 2456 - 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550) เป็นคนไทยเชื้อสายจีนที่ในสมัยหนึ่งได้ชื่อว่าเป็นมหาเศรษฐีระดับต้นๆของเมืองไทย ผู้ก่อตั้งธนาคารศรีนคร และมูลนิธิป่อเต็กตึ๊ง นายอุเทน เป็นผู้ร่วมก่อตั้ง บริษัท สุรามหาคุณ ที่ได้สัมปทานในการผลิตและจำหน่ายสุราของโรงงานสุราบางยี่ขัน ในชื่อ “แม่โขง” และ “กวางทอง” เมื่อ..

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และอุเทน เตชะไพบูลย์ · ดูเพิ่มเติม »

อีริกเซ็นต์ เย ลอสัน

มหาอำมาตย์โท อีริกเซ็นต์ เย ลอสัน (Eric St.J.Lawson) เป็นอธิบดีกรมกองตระเวนคนที่ 4.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และอีริกเซ็นต์ เย ลอสัน · ดูเพิ่มเติม »

องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ

องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ (ชื่อย่อ: ขสมก; Bangkok Mass Transit Authority, BMTA) เป็นหน่วยงานรัฐวิสาหกิจประเภทสาธารณูปโภค สังกัดกระทรวงคมนาคม จัดตั้งขึ้นตามพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งองค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ พุทธศักราช 2519 (ประกาศใช้เมื่อวันที่ 19 ตุลาคม) มีหน้าที่จัดบริการรถโดยสารประจำทางเพื่อรับส่งประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร จังหวัดนนทบุรี จังหวัดปทุมธานี จังหวัดนครปฐม จังหวัดสมุทรสาคร และจังหวัดสมุทรปราการ รวม 108 เส้นทาง มีจำนวนรถประจำทาง (bus) ทั้งสิ้น 3,509 คัน (สถิติเมื่อเดือนกันยายน พ.ศ. 2554) แบ่งเป็นรถธรรมดา 1,659 คัน รถปรับอากาศ 1,850 คัน และมีรถร่วมบริการโดยบริษัทเอกชน ทั้งรถธรรมดาและรถปรับอากาศ จำนวน 4,016 คัน, รถประจำทางขนาดเล็ก (mini bus) แบ่งเป็นส่วนที่ให้บริการบนถนนสายหลัก จำนวน 844 คัน และที่ให้บริการภายในซอยย่อย จำนวน 2,312 คัน, รถตู้โดยสารปรับอากาศ แบ่งเป็นส่วนที่ใช้น้ำมันเชื้อเพลิงหรือแก๊สปิโตรเลียมเหลว จำนวน 5,315 คัน และที่ใช้แก๊สธรรมชาติอัด จำนวน 213 คัน รวมทั้งสิ้น 16,209 คัน 495 เส้นทาง นอกจากนี้ ยังเป็นรัฐวิสาหกิจไทย ซึ่งมีผลการดำเนินงาน ขาดทุนมากเป็นลำดับที่ 2 รองจากการรถไฟแห่งประเทศไทย คือขาดทุนเป็นเงิน 4,990 ล้านบาท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และองค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ · ดูเพิ่มเติม »

ฮอลลีวูด

ป้ายฮอลลีวูด ฮอลลีวูด (Hollywood) เป็นชื่อเขตในนครลอสแอนเจลิส รัฐแคลิฟอร์เนีย เหมือนกับเป็นถนนหรือเขตหนึ่งเท่านั้น ประเทศสหรัฐอเมริกา ตั้งอยู่ทางตะวันตกถึงตะวันตกเฉียงเหนือของศูนย์กลางนครลอสแอนเจลิส เนื่องจากว่าฮอลลิวูดนั้นมีชื่อเสียงและมีเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมในฐานะที่เป็นศูนย์กลางแห่งประวัติศาสตร์ของโรงถ่ายทำภาพยนตร์ และดาราภาพยนตร์ที่มีชื่อเสียงระดับโลก ดังนั้น ชื่อของฮอลลีวูดจึงมักจะถูกเรียกเป็นชื่อแทนของโรงภาพยนตร์แห่งสหรัฐอเมริกาอีกด้วย ทุกวันนี้มีอุตสาหกรรมภาพยนตร์จำนวนมากที่ได้แพร่กระจายไปรอบๆพื้นที่ของแคลิฟอร์เนียและทางตะวันตกของนครลอสแอนเจลิส แต่อุตสาหรรมภาพยนตร์หลักๆที่สำคัญไม่ว่าจะเป็นการตัดต่อ การใส่เทคนิคพิเศษ ผู้สนับสนุน การผลิตขั้นสุดท้าย และบริษัททางด้านแสงประกอบ ยังคงอยู่ในฮอลลีวูด โรงละครสำคัญๆทางประวัติศาสตร์ของฮอลลีวูดหลายแห่งถูกใช้เป็นสถานที่ชุมนุมและเวทีคอนเสิร์ตในงานเปิดตัวสำคัญๆระดับยักษ์ใหญ่ของโลกและยังเป็นเจ้าภาพในการประกาศรางวัลออสการ์หรือที่เรียกกันติดปากว่ารางวัลออสการ์นั่นเอง ฮอลลีวูดเป็นสถานที่ที่คนทั่วโลกต้องการมาเยือนทั้งนักผจญราตรีและนักท่องเที่ยวทั้งหลาย และยังเป็นที่ตั้งของถนน ฮอลลีวูดวอล์กออฟเฟม (Hollywood Walk of Fame) ที่มีชื่อเสียงอีกด้วย ฮอลลีวูด ค.ศ. 1885 โรงแรมฮอลลีวูด ค.ศ. 1905 ใน ค.ศ. 1853 กระท่อมอิฐหลังเล็กๆหลังหนึ่งได้กลายมาเป็นฮอลลีวูดในทุกวันนี้ ในราวปี ค.ศ. 1870 ชุมชนเกษตรกรรมได้เจริญขึ้นมาในพื้นที่แห่งนี้พร้อมๆกับผลผลิตที่เจริญงอกงามมากในช่วงนั้น ที่มาของชื่อฮอลลีวูด ที่ได้รับความเชื่อถือมากที่สุดนั้นน่าจะมาจากชื่อของต้น Tyon ท้องถิ่นหรือเรียกกันว่า "แคลิฟอร์เนียฮอลลี่" ที่มีอย่างอุดมสมบูรณ์ปกคลุมเนินเขาในสมัยนั้นและยังออกผลเบอร์รี่สีแดงกระจายอยู่ทั่วไปในช่วงหน้าหนาวของทุกปีอีกด้วย จากนั้นความเชื่อนี้และความเชื่อในเรื่องของที่มาของคำว่าฮอลลี่นี้ก็มีคนเชื่อถือมากขึ้นเรื่อยๆแต่ยังไม่ได้รับการยืนยันว่าเป็นความจริงแต่อย่างใด บ้างก็ว่าชื่อของฮอลลีวูดนี้เป็นชื่อที่ตั้งโดย เอช.เจ.ไวท์ลี่ย์ บิดาแห่งฮอลลีวูด ซึ่งทั้งเขาและกีกี้ ภรรยาของเขาได้ตั้งชื่อนี้ขึ้นขณะที่มาฮันนีมูนกัน ตามบันทึกของมากาเร็ต เวอร์จิเนีย ไวท์ลี่ย์ บ้างก็ว่ามาจาก ฮาร์วี่ย์ วิลคอกซ์ ที่ได้มาซื้อที่ดินในบริเวณนี้และก็พัฒนาเป็นชุมชุนขึ้นมา โดยดาเออิดา ภรรยาของเขาได้พบกับผู้หญิงคนหนึ่งบนรถไฟที่บอกว่าเธอได้ตั้งชื่อบ้านพักฤดูร้อนที่รัฐโอไฮโอว่า ฮอลลีวูด ดาเออิดาชอบชื่อนี้และก็เอามาตั้งเป็นชื่อของชุมชนที่ตั้งขึ้นมาใหม่นี้ คำว่าฮอลลีวูดนี้ได้ปรากฏเป็นครั้งแรกในแผนที่ของวิลคอกซ์สำหรับการแบ่งสรรพื้นที่และปรากฏในเอกสารของบันทึกเขตปกครองของวันที่ 1 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1887 ตามคำพูดของจอร์แดน แมกซ์เวลล์นั้น ชื่อของฮอลลีวูดนั้นอ้างอิงมาจากไม้กายสิทธิ์ Druidic ซึ่งทั้งไม้กายสิทธิ์และอุตสาหกรรมภาพยนตร์ฮอลลีวูดนั้นเป็นเครื่องมือในการจัดการกับคน ราวปี ค.ศ. 1900 คณะบุคคลที่เรียกตัวเองว่า Cahuenga ได้จัดตั้งที่ทำการไปรษณีย์ หนังสือพิมพ์ โรงแรม และตลาดสองแห่งด้วยจำนวนประชากรเพียง 500 คน ซึ่งในขณะนั้น ลอสแอนเจลิสมีประชากรประมาณ 100,000 คนและมีเมืองที่ทอดผ่านสวนผลไม้รถส้มเป็นระยะทางกว่า 7 ไมล์ มีชื่อเส้นทางเดินรถเพียงชื่อเดียวจากใจกลางของ Prospent Avenue ที่พาดผ่านแต่มีการให้บริการไม่บ่อยนักและต้องใช้เวลาเดินทางประมาณ 2 ชั่วโมง แต่บ้านสำหรับการบรรจุหีบห่อผลไม้รสส้มในสมัยก่อนนั้นอาจจะกลายเป็นจุดสำคัญที่นำความเจริญและการคมนาคมที่สะดวกสบายขึ้นมาสู่ผู้อยู่อาศัยในย่านฮอลลีวูด โรงแรมฮอลลีวูดอันเป็นโรงแรมใหญ่โรงแรมแรกของฮอลลีวูดที่มีชื่อเสียงนั้น เปิดบริการในปี ค.ศ. 1902 โดยเอช.เจ.ไวท์ลี่ย์ เพื่อขายเป็นที่พักอาศัยเป็นจำนวนมากท่ามกลางฟาร์มปศุสัตว์ ตั้งอยู่หน้า Prospect Avenue และด้านข้างฝั่งตะวันตกของ Highland Avenue ปี ค.ศ. 1903 ฮอลลีวูดรวมเป็นเทศบาลแห่งหนึ่ง และในปี ค.ศ. 1904 รถบรรทุกวิ่งจากลอสแอนเจลิสมายังฮอลลีวูดคันใหม่ก็เปิดให้ใช้บริการ ระบบนี้เรียกว่า Hollywood Boulevard ซึ่งช่วยร่นระยะเวลาการเดินทางไป-กลับลอสแอนเจลิสได้อย่างมาก ปี ค.ศ. 1910 มีการพยายามจะรักษาระดับการขายน้ำอย่างพอเพียง ชาวเมืองจึงโหวตให้ฮอลลีวูดผนวกเป็นส่วนหนึ่งของนครลอสแอนเจลิส จึงทำให้ระบบชลประทานเพื่อการพัฒนาเมืองนั้นถูกเปิดเป็น Los Angeles Aqueduct และต่อน้ำทางท่อจากแม่น้ำโอเว่นในหุบเขาโอเว่น นอกจากนั้น การโหวตครั้งนี้ก็ยังมีเหตุผลมาจากกาารต้องการให้ฮอลลิวูดกลายเป็นทางระบายน้ำเสียของนครลอสแอนเจลิสอีกด้วย หลังจากรวมกับนครลอสแอนเจลิสแล้ว ชื่อ Prospect Avenue ก็เปลี่ยนมาเป็น Hollywood Boulevard รวมทั้งหมายเลขถนนในพื้นที่แห่งนี้ เช่น จาก 100 Prospect Avenue ที่ Vermont Avenue กลายเป็น 6400 Hollywood Boulevard และ 100 Cahuenga Boulevard ที่ Hollywood Bouvelard เป็น 1700 Cahuenga Boulevard เป็นต้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และฮอลลีวูด · ดูเพิ่มเติม »

ผล พระประแดง

ผล พระประแดง มีชื่อจริงว่า ผล พูนเสริม เป็นชาวจังหวัดลพบุรี เกิดเมื่อ พ.ศ. 2456 ไม่ปรากฏชื่อบิดามารดา เป็นนักมวยสากลรุ่นแรกๆ ของประเทศไทย มีชื่อเสียงมากในสมัยนั้นจนได้ฉายา "อาจารย์ผล" หรือ "กระทิงเปลี่ยว".

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และผล พระประแดง · ดูเพิ่มเติม »

ผักตบชวา

ผักตบชวา เป็นพืชน้ำล้มลุกอายุหลายฤดู สามารถอยู่ได้ทุกสภาพน้ำ มีถิ่นกำเนิดในแถบลุ่มน้ำแอมะซอน ประเทศบราซิล ในทวีปอเมริกาใต้ มีดอก สีม่วงอ่อน คล้ายช่อดอกกล้วยไม้ และแพร่พันธุ์ได้อย่างรวดเร็วจนกลายเป็นวัชพืชที่ร้ายแรงในแหล่งน้ำทั่วไป มีชื่อเรียกในแต่ละท้องถิ่นดังนี้: ผักปอด, สวะ, ผักโรค, ผักตบชวา, ผักยะวา, ผักอีโยก, ผักป่อง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และผักตบชวา · ดูเพิ่มเติม »

จอห์น ฟอน นอยมันน์

อห์น ฟอน นอยมันน์ ในช่วงปี ค.ศ. 1940 จอห์น ฟอน นอยมันน์ (John von Neumann, Neumann János, 28 ธ.ค. ค.ศ. 1903 - 8 ก.พ. ค.ศ. 1957) เป็นนักคณิตศาสตร์ชาวอเมริกันเชื้อสายฮังการี มีผลงานสำคัญในหลายสาขา ทั้ง ควอนตัมฟิสิกส์ วิทยาการคอมพิวเตอร์ และ จะว่าไปแล้วก็ทุกๆ สาขาในวิชาคณิตศาสตร์ เลยก็ว่าได้.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และจอห์น ฟอน นอยมันน์ · ดูเพิ่มเติม »

จอห์น ซิงเกอร์ ซาร์เจนท์

อห์น ซิงเกอร์ ซาร์เจนท์ (ภาษาอังกฤษ: John Singer Sargent) (12 มกราคม ค.ศ. 1856 - 14 เมษายน ค.ศ. 1925) เป็นจิตรกรคนสำคัญของสหรัฐอเมริกาในคริสต์ศตวรรษที่ 19 และ 20 ผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพภูมิทัศน์, ภาพเหมือน และ การใช้สีน้ำ ซาร์เจนท์เกิดที่ฟลอเรนซ์ ที่ประเทศอิตาลี บิดามารดาเป็นชาวอเมริกัน ซาร์เจนท์ศึกษาที่อิตาลีและเยอรมนี ต่อมาที่ปารีสกับอีมิล โอกุสต์ คาโรลุส-ดูแรง (Emile Auguste Carolus-Duran) ในชีวิตซาร์เจนท์เขียนจิตรกรรมสีน้ำมันด้วยกันทั้งสิ้นราว 900 ภาพ และอีก 2,000 ภาพเขียนด้วยสีน้ำ นอกจากนั้นก็ยังมีงานเขียนภาพร่าง และภาพวาดลายเส้นด้วยถ่านอีกด้ว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และจอห์น ซิงเกอร์ ซาร์เจนท์ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิบ๋าว ดั่ย

ักรพรรดิบ๋าว ดั่ย (จื๋อโกว๊กหงือ: Bảo Đại, จื๋อโนม: 保大, แปลว่า ผู้เก็บรักษาความยิ่งใหญ่; 22 ตุลาคม ค.ศ. 1913 - 30 กรกฎาคม ค.ศ. 1997) พระนามเดิมว่า เหงียน ฟุก หวิญ ถวิ ทรงเป็นจักรพรรดิองค์ที่ 13 และพระองค์สุดท้ายแห่งเหงียน ตั้งแต่ ค.ศ. 1926 - ค.ศ. 1945 ทรงเป็นสมเด็จพระจักรพรรดิแห่งอันนัม ในช่วงนี้พระองค์ทรงได้รับความคุ้มครองจากฝรั่งเศสโดยอินโดจีนฝรั่งเศส ซึ่งมีพื้นที่ประมาณ 2 ใน 3 ของเวียดนามในปัจจุบัน พระองค์ทรงขึ้นครองราชบัลลังก์ในปี ค.ศ. 1932 ญี่ปุ่นได้ขับไล่ฝรั่งเศสออกจากดินแดนนี้ในปี ค.ศ. 1945 และใช้อำนาจการปกครองผ่านจักรพรรดิบ๋าว ดั่ย ในช่วงนี้พระองค์ทรงเปลี่ยนชื่อประเทศเป็น "เวียดนาม" อีกครั้ง พระองค์ทรงสละราชบัลลังก์ในเดือนสิงหาคมเมื่อญี่ปุ่นยอมแพ้สงคราม พระองค์ยังทรงเป็นประมุขรัฐเวียดนามตั้งแต่ ค.ศ. 1949 จนกระทั่ง ค.ศ. 1955 จักรพรรดิบ๋าว ดั่ย ทรงถูกวิพากษ์วิจารณ์เนื่องจากมีความใกล้ชิดกับฝรั่งเศสเกินไปและประทับอยู่นอกเวียดนามเป็นเวลานานในรัชสมัยของพระองค์ โง ดิ่ญ เสี่ยม นายกรัฐมนตรีได้ขับไล่พระองค์ในการลงประชามติปลดจักรพรรดิบ๋าว ดั่ย ออกจากราชบัลลังก์เมื่อปี ค.ศ. 1955 แม้จะเป็นที่รับรู้อย่างกว้างขวางว่าเวียดมินห์หรือโฮจิมินห์เป็นผู้วางรากฐานเอกราชให้แก่สาธารณรัฐประชาธิปไตยเวียดนามแต่เพียงฝ่ายเดียว แต่อย่างไรก็ตาม สแตนลีย์ คาร์โนว์ (Stanley Karnow) ได้โต้แย้งในหนังสือ Vietnam - A History ว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และจักรพรรดิบ๋าว ดั่ย · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิขาย ดิ่ญ

มเด็จพระจักรพรรดิขาย ดิ่ญ (Khải Định, จื๋อโนม: 啟定; 8 ตุลาคม ค.ศ. 1885 – 6 พฤศจิกายน ค.ศ. 1925) ทรงเป็นจักรพรรดิองค์ที่ 12 ของราชวงศ์เหงียนในเวียดนาม ขึ้นครองราชย์ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1916 ถึง ค.ศ. 1925 ทรงมีพระนามเดิมว่า เจ้าชายเหงียน ฟุก บื๋ว ด๋าว (Nguyễn Phúc Bửu Đảo, 阮福寶嶹) ทรงเป็นพระราชโอรสของสมเด็จพระจักรพรรดิด่ง คั้ญ แต่พระองค์ไม่ได้สืบทอดราชสมบัติโดยทันที จักรพรรดิขาย ดิ่ญ ขณะทรงกำลังศึกษาเล่าเรียน (ค.ศ. 1916) จักรพรรดิขาย ดิ่ญ ในปี ค.ศ.1916.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และจักรพรรดิขาย ดิ่ญ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีหลงยฺวี่ พระพันปีหลวง

มเด็จพระจักรพรรดินีเสี้ยวติ้งจิ่ง (จีน:孝定景皇后叶赫那拉氏) พระองค์ทรงเป็นที่รู้จักในพระนาม สมเด็จพระพันปีหลงยฺวี่ (จีน:隆裕皇后) (พระนามเดิม:จิงเฟิน 靜芬) (พ.ศ. 2406 - พ.ศ. 2456) พระนางหลงยฺวี่เป็นพระอัครมเหสีในจักรพรรดิกวางซวีแห่งจีน สมัยราชวงศ์ชิง พระนางทรงมาจากเผ่าแมนจูเยเฮ่อน่าลา และพระองค์ยังเป็นพระญาติกับจักรพรรดิกวางซวี ผู้ซึ่งครองราชสมบัติตั้งแต่ พ.ศ. 2418 ถึง พ.ศ. 2451 พระนางเป็นพระนัดดาในซูสีไทเฮา พระนางไม่มีพระโอรสธิดา และทรงเป็นที่รู้จัก เนื่องจากได้ลงพระนามาภิไธยในพระราชโองการแทนจักรพรรดิผู่อี๋ประกาศสละราชบัลลังก์ใน พ.ศ. 2454 นับเป็นการสิ้นสุดระบอบกษัตริย์ในประเทศจีนที่ยืนยาวมากว่า 2,000 ปี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และจักรพรรดินีหลงยฺวี่ พระพันปีหลวง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิเมจิ

มเด็จพระจักรพรรดิมุสึฮิโตะ (3 พฤศจิกายน ค.ศ. 1853 — 30 กรกฎาคม ค.ศ. 1912) พระนามตามรัชสมัยคือ จักรพรรดิเมจิ ทรงเป็นจักรพรรดิพระองค์ที่ 122 ของประเทศญี่ปุ่น ครองราชย์ตั้งแต่ ค.ศ. 1867 ด้วยพระชนมายุเพียง 14 พรรษาจนเสด็จสรรคต ญี่ปุ่นได้ก้าวขึ้นมาเป็นชาติมหาอำนาจในรัชสมัยของพระอง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และจักรพรรดิเมจิ · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี

ักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี รู้จักกันในนาม ออสเตรีย-ฮังการี (Austria-Hungary) เป็นจักรวรรดิที่มีระบอบการปกครองแบบควบคู่ (Dual Monarchy) เจริญรุ่งเรืองตั้งแต่ปีพ.ศ. 2410 จนถึง พ.ศ. 2461 หลังจากนั้น จักรวรรดินี้ถูกล้มล้างหลังจากสงครามโลกครั้งที่ 1 จักรวรรดินี้ได้สืบทอดมาจากจักรวรรดิออสเตรีย (ค.ศ. 1804-ค.ศ. 1867) โดยมีอาณาเขตพื้นที่เดียวกัน โดยมีต้นกำเนิดจากการเจรจาต่อรองระหว่างออสเตรียและฮังการี เมื่อปีพ.ศ. 2410 ซึ่งทั้งสองประเทศนี้ถูกปกครองโดยราชวงศ์ฮับส์บูร์กมาช้านาน โดยเจรจาให้มีการรวมอาณาจักรเป็นหนึ่งเดียว โดยจักรวรรดินี้เป็นอาณาจักรที่มีหลากหลายเชื้อชาติและมีความเจริญรุ่งเรืองขีดสุด ทั้งในด้านการเมือง เศรษฐกิจ และอุตสาหกรรม ราชวงศ์ฮับส์บูร์กนั้นได้ปกครองประเทศในฐานะจักรพรรดิแห่งออสเตรีย (Emperor of Austria) และราชอาณาจักรฮังการีในฐานะกษัตริย์แห่งฮังการี (Apostolic King of Hungary) ผู้ทรงเปรียบเสมือนเบื้องขวาแห่งองค์พระผู้เป็นเจ้า นอกจากนั้นยังได้ปกครองทั่วทั้งทางตะวันตกและทางเหนือ รวมทั้งครึ่งหนึ่งของทวีปยุโรปเลยทีเดียว โดยทุกประเทศที่อยู่ภายใต้จักรวรรดินี้ มีรัฐบาลเป็นของตนเอง มิได้มีรัฐบาลและศูนย์กลางทางการเมืองหรือรัฐบาลที่ประเทศเดียว เมืองหลวงของจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีนั้น มีอยู่ 2 เมืองด้วยกันคือ กรุงเวียนนา ที่ประเทศออสเตรีย และกรุงบูดาเปสต์ที่ประเทศฮังการี จักรวรรดินี้มีพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับสองรองจากจักรวรรดิรัสเซีย และเป็นอาณาจักรที่มีประชากรหนาแน่นเป็นอันดับ 3 รองจากจักรวรรดิรัสเซียและจักรวรรดิเยอรมัน ซึ่งปัจจุบันนี้ พื้นที่ที่เคยเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดินั้นมีประชากรรวมทั้งหมดถึง 73 ล้านคน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดกาฬสินธุ์

ังหวัดกาฬสินธุ์ เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลางหรือตอนบนของประเทศไทย อยู่ห่างจากกรุงเทพมหานครประมาณ 510 กิโลเมตร เป็นจังหวัดที่มีความอุดมสมบูรณ์จังหวัดหนึ่งในภาคอีสาน จากหลักฐานทางโบราณคดีบ่งบอกว่าเคยเป็นที่อยู่อาศัยของเผ่าละว้า ซึ่งมีความเจริญทางด้านอารยธรรมประมาณ 1,600 ปี ต่อมาได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าฯ จากพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ให้ยกฐานะบ้านแก่งสำโรงขึ้นเป็นเมือง และพระราชทานนามว่า “เมืองกาฬสินธุ์” หรือ “เมืองน้ำดำ” ซึ่งเป็นเมืองที่สำคัญทางประวัติศาสตร์มาตั้งแต่สมัยโบราณกาล “กาฬ” แปลว่า “ดำ” “สินธุ์” แปลว่า “น้ำ” กาฬสินธุ์จึงแปลว่า “น้ำดำ” และยังมีแหล่งซากไดโนเสาร์หลายแห่งด้วย โดยเฉพาะอย่างยิ่งในอำเภอสหัสขันธ์ นอกจากนี้ยังมีชื่อเสียงด้านโปงลาง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และจังหวัดกาฬสินธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดมหาสารคาม

มหาสารคาม เป็นจังหวัดหนึ่งทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลางของประเทศไทย ซึ่งตั้งอยู่กึ่งกลางของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และจังหวัดมหาสารคาม · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดร้อยเอ็ด

ร้อยเอ็ด เดิมสะกดว่า ร้อยเอ็จ เป็นจังหวัดบริเวณลุ่มแม่น้ำชีในภาคอีสานตอนกลางหรือตอนบนของไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และจังหวัดร้อยเอ็ด · ดูเพิ่มเติม »

จำนง รังสิกุล

ำนง รังสิกุล ข้าราชการกรมโฆษณาการ (ต่อมาเปลี่ยนเป็นกรมประชาสัมพันธ์), นักสื่อสารมวลชนชาวไทย ผู้ร่วมก่อตั้งสถานีโทรทัศน์ไทยทีวีช่อง 4 บางขุนพรหม อันเป็นแห่งแรกของประเทศไทย, กรรมการผู้จัดการ บริษัท ไทยโทรทัศน์ จำกัด, ผู้อำนวยการสถานีวิทยุกระจายเสียง ท.ท.ท.และสถานีโทรทัศน์ไทยทีวีช่อง 4 บางขุนพรหมเป็นคนแรก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และจำนง รังสิกุล · ดูเพิ่มเติม »

จู้อิน

ู้อินพื้นฐาน เทียบกับพินอิน จู้อิน หรือ จู้อินฝูเฮ่า (แปลว่า เครื่องหมายกำกับเสียง) เป็นระบบสัทอักษรสำหรับการถอดเสียงในภาษาจีน โดยเฉพาะภาษาจีนกลาง เป็นระบบกึ่งพยางค์ที่มีใช้อย่างกว้างขวางในสาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน) ประกอบด้วยอักษร 37 ตัวและวรรณยุกต์ 4 ตัว ซึ่งเพียงพอที่จะใช้ถอดเสียงที่เป็นไปได้ในภาษาจีนกลาง ถึงแม้ว่าจู้อินจะถูกจัดว่าเป็นชุดตัวอักษร (alphabet) อย่างหนึ่ง ระบบนี้ก็ไม่ได้ประกอบด้วยพยัญชนะกับสระ แต่ประกอบด้วยต้นพยางค์ (syllable onset) กับสัมผัสพยางค์ (syllable rime) ระบบนี้มีพื้นฐานจากตารางสัมผัส (rime table) ของภาษาจีน แต่ใช้เครื่องหมายเสริมสัทอักษร (diacritics) แทนเสียงวรรณยุกต์แยกออกจากเสียงสัมผัส ในฐานะชุดตัวอักษร พยัญชนะต้นพยางค์มีอักษรใช้แทน 21 ตัว ที่เหลือเป็นสระเดี่ยว สระประสม และสระที่มีพยัญชนะสะกดซึ่งใช้อักษรแตกต่างกัน ตัวอย่างเช่น luan จะเขียนเป็น ㄌㄨㄢ (l-u-an) ซึ่งอักษรตัวสุดท้ายใช้แทนสระที่มีพยัญชนะสะกด -an ทั้งชุด เป็นต้น (อย่างไรก็ตาม พยัญชนะสะกด -p, -t, -k ไม่มีการใช้ในภาษาจีนกลาง แต่มีในสำเนียงอื่น สามารถเขียนเป็นตัวห้อยของพยัญชนะเหล่านี้หลังเสียงสระแทน) ในภาษาพูดทุกวันนี้ จู้อินมักถูกเรียกว่า ปอพอมอฟอ (ㄅㄆㄇㄈ: bopomofo) ซึ่งเป็นอักษรชุดแรกในระบบนี้ เอกสารอย่างเป็นทางการในบางโอกาสจะเรียกว่า Mandarin Phonetic Symbols I (國語注音符號第一式) หรือย่อเป็น MPS I (注音一式) ซึ่งชื่อนี้ไม่ค่อยปรากฏการใช้ในภาษาอื่น เลขโรมันที่ปรากฏหลังชื่อมีไว้เพื่อแยกแยะออกจากระบบ MPS II ที่คิดค้นขึ้นในยุคเดียวกันแต่ไม่มีการใช้งานแล้วในปัจจุบัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และจู้อิน · ดูเพิ่มเติม »

ธรรมนูญ เทียนเงิน

นายธรรมนูญ เทียนเงิน (28 มิถุนายน พ.ศ. 2456 - พ.ศ. 2532) ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ที่มาจากการเลือกตั้งเป็นคนแรก อดีตเลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย และ อดีตผู้อำนวยการลูกเสือชาวบ้านพระนคร มีศักดิ์เป็นอา ของ นายสมัคร สุนทรเวช นายกรัฐมนตรีคนที่ 25 ของประเทศไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และธรรมนูญ เทียนเงิน · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติสาธารณรัฐจีน

งชาติสาธารณรัฐจีน เป็นสัญลักษณ์ของสาธารณรัฐจีนซึ่งเป็นที่รู้จักกันดีตั้งแต่สมัยที่สาธารณรัฐจีนยังอยู่บนจีนแผ่นดินใหญ่ กระทั่งภายหลังได้ตั้งมั่นอยู่ที่เกาะไต้หวันนับแต่ พ.ศ. 2492 พรรคก๊กมินตั๋งได้เริ่มใช้ธงดังกล่าวเป็นครั้งแรกในจีนแผ่นดินใหญ่เมื่อ พ.ศ. 2460 และใช้เป็นธงชาติสาธารณรัฐจีนอย่างเป็นทางการนับตั้งแต่ พ.ศ. 2471 ธงนี้มีชื่อเรียกในภาษาจีนว่า ชิงเทียน ไป๋รื่อ หม่านตี้ หงฉี แปลว่า ธงท้องฟ้าสีคราม ตะวันสาดส่อง ปฐพีแดง แผ่นดินอุดม และมีชื่อที่รู้จักกันดีในภาษาอังกฤษว่า "Blue Sky, White Sun, and a Wholly Red Earth".

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และธงชาติสาธารณรัฐจีน · ดูเพิ่มเติม »

ธนาคารออมสิน

นาคารออมสิน มีสถานะรัฐวิสาหกิจสังกัดกระทรวงการคลัง เป็นธนาคารเพื่อลูกค้ารายย่อย เน้นการให้สินเชื่อเพื่อพัฒนาชนบท พัฒนาผู้ประกอบการรายย่อย โดยมีรูปแบบของสินเชื่อและชนิดการฝากเงินรายย่อยมากมาย อีกทั้งยังสร้างเงินทุนหมุนเวียนในกลุ่มชุมชน โครงการธนาคารเพื่อประชาชน โดยให้สินเชื่อระยะสั้น แก่ผู้ประกอบการรายย่อย (ให้ประชาชนมาเป็นหนี้ในระบบ ที่สามารถตรวจสอบได้ และการเก็บดอกเบี้ยตามความเป็นจริง) เป็นช่องทางการรับและจ่ายเงินกู้ จากโครงการกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง อีกทั้งยังลงทุนในการพัฒนาประเทศ ของหน่วยงานรัฐบาลและรัฐวิสาหกิจ ให้บริการรูปแบบเงินฝากที่หลากหลาย เหมาะสมกับแต่ละช่วงวัย รวมทั้งมีการให้บริการตามหลักศาสนาอิสลาม ปัจจุบันมีจำนวนสาขาทั้งหมด 1,039 แห่งทั่วประเท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และธนาคารออมสิน · ดูเพิ่มเติม »

ทวิช เสนีย์วงศ์ ณ อยุธยา

ลเอก ทวิช เสนีวงศ์ ณ อยุธยา (12 มกราคม พ.ศ. 2456 - ???) เป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม และอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม ในรัฐบาลหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช และอดีตสมาชิกว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และทวิช เสนีย์วงศ์ ณ อยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

ทางรถไฟสายสงขลา

ทางรถไฟสายสงขลาในสมัยรัชกาลที่ 6 เลียบถนนสงขลา-หาดใหญ่สมุดแสดงภาพที่ระลึกสยามรัฐพิพิธภัณฑ์ พระพุทธศักราช ๒๔๖๘ ทางรถไฟสายสงขลา แยกจากทางรถไฟสายใต้ที่ชุมทางหาดใหญ่ มีความยาวประมาณ 30 กิโลเมตร เปิดเดินรถครั้งแรกในสมัยรัชกาลที่ 6 เมื่อวันที่ 1 มกราคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และทางรถไฟสายสงขลา · ดูเพิ่มเติม »

ที่สุดในประเทศไทย

ติที่สุดในประเทศไทยเรื่องต่าง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และที่สุดในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ดมบูริ

''เท็นดง'' และ ''อูนาดง'' ดมบูริ หรือข้าวหน้าต่าง ๆ เป็นอาหารญี่ปุ่นที่มีลักษณะเป็นอาหารจานเดียวที่มีกับข้าวที่ทำจากเนื้อสัตว์, ปลา, ผัก หรือวัตถุดิบอื่น ๆ ราดบนข้าวสวย ตามแต่จะดัดแปลง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และดมบูริ · ดูเพิ่มเติม »

ด้วงกว่างเฮอร์คิวลีส

้วงกว่างเฮอร์คิวลีส เป็นด้วงกว่างที่มีความยาวและความใหญ่ที่สุดในโลก มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Dynastes hercules อยู่ในวงศ์ Scarabaeidae พบกระจายพันธุ์ในป่าดิบชื้นตั้งแต่ภูมิภาคอเมริกากลางและทวีปอเมริกาใต้ นับเป็นด้วงที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในสกุล Dynastes ที่มีอยู่ด้วยกันทั้งหมด 6 ชนิด เป็นด้วงที่มีความแตกต่างระหว่างตัวผู้กับตัวเมียมาก ตัวผู้มีเขายาว และมีความยาวตั้งแต่ปลายเขาจรดลำตัว 45-178 มิลลิเมตร ขณะที่ตัวเมียไม่มีเขา และมีความยาวเพียงครึ่งหนึ่งของตัวผู้ คือ 50-80 มิลลิเมตร ด้วงกว่างเฮอร์คิวลีส มีชนิดย่อยทั้งหมด 13 ชนิด โดยชนิดที่มีความยาวที่สุด คือ D. h. hercules พบในเฟรนซ์ กัวดาลูเป้และดอมินีกา ที่ตัวผู้ยาวได้ถึง 178 มิลลิเมตร และมีบันทึกไว้ว่ายาวที่สุดคือ 190 มิลลิเมตร ตัวหนอนกินซากผุของต้นไม้เป็นอาหาร และมีระยะการเป็นตัวหนอนยาวนานถึง 16 เดือน ด้วงกว่างเฮอร์คิวลีสนิยมเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยงในต่างประเทศมาอย่างยาวนาน เช่นที่ ญี่ปุ่นและสหรัฐอเมริกา ได้รับความนิยมโดยเฉพาะในหมู่เด็ก ๆ สำหรับในประเทศไทย ผู้ที่จะเลี้ยงยังต้องนำสั่งเข้ามาจากต่างประเทศแต่ในกลางเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553 สามารถเพาะขยายพันธุ์เป็นผลสำเร็จครั้งแรกที่สวนแมลงสยาม ที่อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และด้วงกว่างเฮอร์คิวลีส · ดูเพิ่มเติม »

คลื่นสึนามิ

แสดงคลื่นสึนามิพัดขึ้นฝั่ง คลื่นสึนามิ เป็นกลุ่มคลื่นน้ำที่เกิดขึ้นจากการย้ายที่ของปริมาตรน้ำก้อนใหญ่ คือ มหาสมุทรหรือทะเลสาบขนาดใหญ่ แผ่นดินไหว การปะทุของภูเขาไฟและการระเบิดใต้น้ำอื่นๆ (รวมทั้งการจุดวัตถุระเบิดหรือวัตถุระเบิดนิวเคลียร์ใต้น้ำ) ดินถล่ม ธารน้ำแข็งไถล อุกกาบาตตกและการรบกวนอื่น ไม่ว่าเหนือหรือใต้น้ำ ล้วนอาจก่อให้เกิดเป็นคลื่นสึนามิได้ทั้งสิ้น คลื่นสึนามิไม่เหมือนกับคลื่นทะเล(tidal wave)ตามปกติ เพราะมีความยาวคลื่นยาวกว่ามาก แทนที่จะเป็นคลื่นหัวแตก (breaking wave) ตามปกติ คลื่นสึนามิเริ่มแรกอาจดูเหมือนกับว่าคลื่นน้ำเพิ่มระดับสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว และด้วยเหตุนี้ คลื่นสึนามิจึงมักเรียกว่าเป็นคลื่นยักษ์ โดยทั่วไป คลื่นสึนามิประกอบด้วยกลุ่มคลื่นซึ่งมีคาบเป็นนาทีหรืออาจมากถึงชั่วโมง มากันเรียกว่าเป็น "คลื่นขบวน" (wave train) ความสูงของคลื่นหลายสิบเมตรนั้นอาจเกิดขึ้นได้จากเหตุการณ์ขนาดใหญ่ แม้ผลกระทบของคลื่นสึนามินั้นจะจำกัดอยู่แค่พื้นที่ชายฝั่ง แต่อำนาจทำลายล้างของมันสามารถมีได้ใหญ่หลวงและสามารถมีผลกระทบต่อทั้งแอ่งมหาสมุทร คลื่นสึนามิในมหาสมุทรอินเดีย พ.ศ. 2547 เป็นหนึ่งในภัยธรรมชาติครั้งที่มีผู้เสียชีวิตมากที่สุดในประวัติศาสตร์มนุษยชาติ โดยมีผู้เสียชีวิตกว่า 230,000 คน ใน 14 ประเทศที่ติดกับมหาสมุทรอินเดีย ธูซิดดิดีส นักประวัติศาสตร์ชาวกรีก เสนอเมื่อ 426 ปีก่อนคริสตกาล ว่า คลื่นสึนามิเกี่ยวข้องกับแผ่นดินไหวใต้ทะเลThucydides: แต่ความเข้าใจในธรรมชาติของคลื่นสึนามิยังมีเพียงเล็กน้อยกระทั่งคริสต์ศตวรรษที่ 20 และยังมีอีกมากที่ยังไม่ทราบในปัจจุบัน ขณะที่แผ่นดินไหวที่รุนแรงน้อยกว่ามากกลับก่อให้เกิดคลื่น พยายามพยากรณ์เส้นทางของคลื่นสึนามิข้ามมหาสมุทรอย่างแม่นยำ และยังพยากรณ์ว่าคลื่นสึนามิจะมีปฏิสัมพันธ์กับชายฝั่งแห่งหนึ่ง ๆ อย่างไร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และคลื่นสึนามิ · ดูเพิ่มเติม »

คีตาญชลี

ีตาญชลี (Gitanjali; গীতাঞ্জলি) มีความหมายว่า "song offerings" หรือ "prayer offering of song" เป็นกวีนิพนธ์ภาษาอังกฤษ จำนวน 103 บท ของรพินทรนาถ ฐากูร ซึ่งแปลจากต้นฉบับภาษาเบงกาลี ก่อนที่ท่านจะเดินทางมาประเทศอังกฤษในปี ค.ศ. 1912 ต้นฉบับตีพิมพ์เป็นครั้งแรกในปี ค.ศ. 1913 เขียนบทนำโดย วาย. บี. ยีตส์ และได้รับความนิยมอย่างสูง ทำให้ท่านได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม ในปีนั้น (พ.ศ. 2456) นับเป็นชาวเอเชียคนแรก และคนแรกที่ไม่ได้เป็นชาวยุโรป ที่ได้รับรางวัลโนเบล คีตาญชลี ได้รับการแปลเป็นภาษาไทยโดย กรุณา กุศลาศัย ตีพิมพ์ครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และคีตาญชลี · ดูเพิ่มเติม »

คณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติ

มาชิกสมาคมคณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติ ทวีปแอฟริกาแสดงด้วยสีดำ ทวีปอเมริกาแสดงด้วยสีแดง ทวีปเอเชียแสดงด้วยสีเหลือง ทวีปยุโรปแสดงด้วยสีเขียว และทวีปโอเชียเนียแสดงด้วยสีฟ้า คณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติ (National Olympic Committee; อักษรย่อ: NOC) เป็นองค์กรผู้มีอำนาจระดับประเทศ ในกระบวนการโอลิมปิกระดับนานาชาติ ภายใต้การควบคุมโดย คณะกรรมการโอลิมปิกสากล นอกจากนั้น คณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติทั้งหลาย ยังมีหน้าที่ส่งเสริมพัฒนาการของนักกีฬา และการฝึกอบรมผู้ฝึกสอน ตลอดจนเป็นเจ้าหน้าที่การกีฬาระดับชาติภายในภูมิภาคของตน ในปี พ.ศ. 2558 (ค.ศ. 2015) มีคณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติ ซึ่งผู้แทนของทั้งประเทศเอกราช และดินแดนปกครองพิเศษต่างๆ รวมทั้งหมด 206 ชุด โดยในบรรดาสมาชิกสหประชาชาติ 193 ประเทศ รวมทั้งดินแดนอื่นอีก 9 แห่งดังต่อไปนี้.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และคณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นคณะวิศวกรรมศาสตร์ในประเทศไทยที่เก่าแก่ที่สุด และเป็น 1 ใน 4 คณะแรกตั้งของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ถือกำเนิดมาจากโรงเรียนยันตรศึกษาแห่งโรงเรียนข้าราชการพลเรือนของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ถือเป็นคณะที่มีจำนวนรุ่นมากที่สุดในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยในปีการศึกษา 2560 เป็นรุ่นที่ 101 คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีหน้าที่หลักในการผลิตบัณฑิตวิศวกรรมศาสตร์ทั้งในระดับปริญญาบัณฑิตและบัณฑิตศึกษา ศึกษาวิจัยและพัฒนาองค์ความรู้ทางวิศวกรรมศาสตร์และเผยแพร่องค์ความรู้สู่ประชาชนทั่วไป เพื่อเป็นที่พึ่งพิงทางวิชาการให้กับประเทศ มีงานวิจัยและความร่วมมือทางวิชาการซึ่งเป็นที่ยอมรับในระดับชาติและระดับนานาชาติ ปัจจุบันมีภาควิชาทั้งหมด 12 ภาควิชาและหน่วยงานเทียบเท่าภาควิชาอีก 2 หน่วยงาน นิสิตคณะวิศวกรรมศาสตร์ มักเรียกแทนตัวเองว่า "อินทาเนีย" คณะวิศวกรรมศาสตร์ตั้งอยู่ในพื้นที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยฝั่งตะวันออกของถนนพญาไท ด้านข้างหอประชุมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย การจัดอันดับในกลุ่มสาขาวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี จาก QS world university ranking by subjecthttps://www.topuniversities.com/subject-rankings/2017 พบว่า คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้รับการจัดอันดับให้เป็นอันดับ 1 ของประเทศไทย อันดับที่ 147 ของโลก และเป็นคณะวิศวกรรมศาสตร์ที่มีสาขาวิชาติดอันดับโลกมากที่สุดในประเทศไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นคณะเภสัชศาสตร์แห่งแรกในประเทศไทย โดยถือกำเนิดจาก "แผนกแพทย์ผสมยา โรงเรียนราชแพทยาลัย" หรือ "โรงเรียนปรุงยา" ตามดำริของสมเด็จเจ้าฟ้ากรมหลวงพิษณุโลกประชานารถและสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาชัยนาทนเรนทร เมื่อวันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2456 ซึ่งถือเป็นวันสถาปนาคณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และเป็นวันสถาปนาวิชาชีพเภสัชกรรมในประเทศไทยอีกด้วยหนังสือ "กระถินณรงค์'44" เมื่อประดิษฐานจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยแล้ว โรงเรียนปรุงยามีฐานะเป็นแผนกแพทย์ผสมยา ในสังกัดคณะแพทยศาสตร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (คณะแพทยศาสตร์และศิริราชพยาบาล) และได้รับการพัฒนาหลักสูตรขึ้น จัดตั้งเป็นแผนกเภสัชกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตามพระราชบัญญัติจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั..

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และคณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

ตำรวจดับเพลิง

้าหน้าที่ตำรวจดับเพลิงกำลังดูแลการจราจรในบริเวณที่เกิดเหตุ ตำรวจดับเพลิง (Fire police) คือเจ้าหน้าที่ ข้าราชการ หรืออาสาสมัครดับเพลิง ได้รับฝึกอบรมพิเศษและสนับสนุนการปฏิบัติภารกิจในการดับเพลิงเวลาเกิดอุบัติเหตุฉุกเฉิน นอกจากนี้ตำรวจดับเพลิงยังมีหน้าที่การรักษาความปลอดภัยเมื่อเกิดเหตุ ดำเนินการจราจรและการประสานงาน การกู้ภัยเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน และงานอื่น ๆ อีกมากม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และตำรวจดับเพลิง · ดูเพิ่มเติม »

ตึก 40 วอลล์ สตรีท

ตึก 40 วอลล์ สตรีท เป็นหนึ่งในอาคารที่มีชื่อเสียงและลักษณะอันโดดเด่นแบบ อาร์ตเดคโค (Art Deco) ตัวอาคารมีความสูงทั้งสิ้น 283 เมตร มีทั้งสิ้น 70 ชั้น ตั้งอยู่ระหว่างถนน Nassau Street และถนน William Street บนเกาะแมนฮัตตัน นครนิวยอร์ก ประเทศสหรัฐอเมริกา เป็นที่ทำการธนาคารและปัจจุบันเป็นที่รู้จักกันในชื่อ ตึกทรัมพ์ (Trump Building) ใช้เวลาก่อสร้างเพียง 11 เดือนจึงแล้วเสร็จ รูปถ่ายเก่าของตึก 40 วอลล์ สตรีท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และตึก 40 วอลล์ สตรีท · ดูเพิ่มเติม »

ตึกวูลเวิร์ธ

ตึกวูลเวิร์ธ (Woolworth Building) ออกแบบโดยสถาปนิก Cass Gilbert เมื่อ..

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และตึกวูลเวิร์ธ · ดูเพิ่มเติม »

ตึกเมโทรโพลิแทน ไลฟ์ อินชัวเรนซ์

ตึกเมโทรโพลิแทน ไลฟ์ อินชัวเรนซ์ (Metropolitan Life Insurance Company Tower) เป็นตึกสูงที่ตั้งอยู่ที่ถนนเมดิสัน เขตแมนฮัตตัน นครนิวยอร์ก ออกแบบโดย Napoleon LeBrun & Sons และก่อสร้างโดย Hedden Construction Company โดยได้แบบมาจากหอระฆังซันมาร์โก ในอิตาลี สร้างเมื่อ..

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และตึกเมโทรโพลิแทน ไลฟ์ อินชัวเรนซ์ · ดูเพิ่มเติม »

ตุนกู อับดุล ระฮ์มัน

ตุนกู อับดุล ระฮ์มัน ปูตรา อัล-ฮัจ อิบนี อัลมาร์ฮุม ซุลตัน อับดุล ฮามิด ฮาลิม ชะฮ์ที่ 2 (Tunku Abdul Rahman Putra Al-Haj ibni Almarhum Sultan Abdul Hamid Halim Shah II, تونكوعبدالرحمن ڤوترا الهاج ابن المرحوم سلطان عبدالحميد حاليم شه) หรือ ตุนกู อับดุล ระฮ์มัน (8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2446 – 6 ธันวาคม พ.ศ. 2533) เป็นผู้นำการเรียกร้องเอกราชและนายกรัฐมนตรีคนแรกของประเทศมาเลเซีย ได้รับยกย่องเป็นบิดาแห่งประเทศมาเลเซียหรือ Bapa of Malaysia.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และตุนกู อับดุล ระฮ์มัน · ดูเพิ่มเติม »

ซูลู

นักรบซูลูในคริสต์ศตวรรษที่ 19 โปรดสังเกตชาวยุโรปแถวหลัง ซูลู (Zulu) เป็นชนเผ่ากลุ่มหนึ่งของแอฟริกา มีจำนวนประชากรประมาณ 11 ล้านคน ส่วนใหญ่อยู่อาศัยในควาซูลู-นาตาล แอฟริกาใต้ มีจำนวนเล็กน้อยที่อยู่อาศัยในซิมบับเว แซมเบียและโมแซมบีก ภาษาอีซิซูลู (isiZulu) เป็นสาขาหนึ่งของภาษาบันตู (Bantu) ซึ่งจัดอยู่ในภาษาลุ่มย่อย "นูนิ" (Nguni) ราชอาณาจักรซูลูมีบทบาทสำคัญมากในประวัติศาสตร์ของประเทศแอฟริกาใต้ โดยเฉพาะในช่วงระหว่าง พ.ศ. 2344 - พ.ศ. 2444 (คริสต์ศตวรรษที่ 19-20) ในยุคแห่งการถือผิว ชาวซูลูถูกจัดให้เป็นประชาชนชั้น 2 และถูกดูถูกเหยียดหยามอย่างรุนแรง ปัจจุบันชาวซูลูเป็นชนเผ่าที่เป็นประชากรส่วนใหญ่ของประเทศแอฟริกาใต้และมีสิทธิเสรีภาพแห่งมนุษยชนเท่าเทียมกับประชาชนทุกเชื้อชาติและชนเผ่าในประเท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และซูลู · ดูเพิ่มเติม »

ปฏิทินไทย

ปฏิทินไทย (อังกฤษ: Thai calendar) เป็นปฏิทินชนิดที่เรียกว่าสุริยจันทรคติ โดยใช้ปฏิทินสุริยคติไทยในทางราชการและนิยมใช้ทั่วประเทศไทย ซึ่งขณะเดียวกัน ปฏิทินจันทรคติไทย มีการใช้งานในการนับวันสำคัญทางพุทธศาสนาและวันข้างขึ้นข้างแรม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และปฏิทินไทย · ดูเพิ่มเติม »

ประมาณ อดิเรกสาร

ลเอก พลตำรวจเอก ประมาณ อดิเรกสาร (31 ธันวาคม พ.ศ. 2456 - 20 สิงหาคม พ.ศ. 2553) นักการเมืองไทย อดีตรองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย กระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เคยเป็นสมาชิกพรรคเสรีมนังคศิลา เมื่อ..

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และประมาณ อดิเรกสาร · ดูเพิ่มเติม »

ประเสริฐ ทรัพย์สุนทร

นายประเสริฐ ทรัพย์สุนทร อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร อดีตกรรมการกลางพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย ในเวลาต่อมาได้เป็นวิทยากรให้กับวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร และมีส่วนร่วมในการกำหนดนโยบายซึ่งนำมาซึ่งคำสั่งที่ 66/2523 เรื่องนโยบายต่อสู้เพื่อเอาชนะคอมมิวนิสต์ในรัฐบาลพลเอกเปรม ติณสูลานนท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และประเสริฐ ทรัพย์สุนทร · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศบัลแกเรียใน ค.ศ. 1913

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1913 ในประเทศบัลแกเรี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และประเทศบัลแกเรียใน ค.ศ. 1913 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฟินแลนด์ใน ค.ศ. 1913

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1913 ในประเทศฟินแลน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และประเทศฟินแลนด์ใน ค.ศ. 1913 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศกรีซใน ค.ศ. 1913

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1913 ในประเทศกรีซ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และประเทศกรีซใน ค.ศ. 1913 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศกาตาร์ใน ค.ศ. 1913

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1913 ในประเทศกาตาร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และประเทศกาตาร์ใน ค.ศ. 1913 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศกาตาร์ใน ค.ศ. 1949

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1913 ในประเทศกาตาร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และประเทศกาตาร์ใน ค.ศ. 1949 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศมอลตาใน ค.ศ. 1913

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1913 ในประเทศมอลต.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และประเทศมอลตาใน ค.ศ. 1913 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสวีเดน

วีเดน (Sweden; สฺแวรฺแย) หรือชื่อทางการคือ ราชอาณาจักรสวีเดน (Kingdom of Sweden) เป็นประเทศกลุ่มนอร์ดิกตั้งอยู่บนคาบสมุทรสแกนดิเนเวีย ในยุโรปเหนือ เขตแดนทางตะวันตกจรดประเทศนอร์เวย์ ทางตะวันออกเฉียงเหนือจรดประเทศฟินแลนด์ และช่องแคบ สแกเกอร์แรก (Skagerrak) ทางตะวันตกเฉียงใต้จรดช่องแคบแคทีแกต (Kattegat) และทางตะวันออกจรดทะเลบอลติก และอ่าวบอทเนีย มีกรุงสต็อกโฮล์มเป็นเมืองหลวง ประเทศสวีเดนมีประชากรที่เบาบาง เว้นแต่ในเขตเมืองใหญ่ พื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศประกอบด้วยป่าไม้ และภูเขาสูง หลังจากสิ้นสุดยุคไวกิง สวีเดนกลายเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพคาลมาร์ ร่วมกับเดนมาร์กและนอร์เวย์ (ในช่วงเวลานี้ ฟินแลนด์เป็นส่วนหนึ่งของราชอาณาจักรสวีเดน) สวีเดนได้ออกจากสหภาพในช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 16 และได้รบสู้กับประเทศเพื่อนบ้านเป็นเวลาหลายปี โดยเฉพาะรัสเซีย และเดนมาร์กกับนอร์เวย์ที่ยังเป็นสหภาพอยู่ ซึ่งไม่ยอมรับการที่สวีเดนออกจากสหภาพ ในคริสศตวรรษที่ 17 สวีเดนได้ขยายเขตด้วยสงครามและกลายเป็นมหาอำนาจด้วยขนาด 2 เท่าของปัจจุบัน ถึง..

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และประเทศสวีเดน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสิงคโปร์

ประเทศสิงคโปร์ มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐสิงคโปร์ เป็นนครรัฐสมัยใหม่และประเทศเกาะที่มีขนาดเล็กที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งอยู่นอกปลายทิศใต้ของคาบสมุทรมลายูและอยู่เหนือเส้นศูนย์สูตร 137 กิโลเมตร ดินแดนของประเทศประกอบด้วยเกาะหลักรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน ซึ่งมักเรียกว่าเกาะสิงคโปร์ในภาษาอังกฤษ และเกาะอูจง (Pulau Ujong) ในภาษามลายู และเกาะที่เล็กกว่ามากอีกกว่า 60 เกาะ ประเทศสิงคโปร์แยกจากคาบสมุทรมลายูโดยช่องแคบยะฮอร์ทางทิศเหนือ และจากหมู่เกาะเรียวของประเทศอินโดนีเซียโดยช่องแคบสิงคโปร์ทางทิศใต้ ประเทศมีลักษณะแบบเมืองอย่างสูง และคงเหลือพืชพรรณดั้งเดิมเล็กน้อย ดินแดนของประเทศขยายอย่างต่อเนื่องโดยการแปรสภาพที่ดิน หมู่เกาะมีการตั้งถิ่นฐานในคริสต์ศตวรรษที่ 2 และต่อมาเป็นของจักรวรรดิท้องถิ่นต่าง ๆ สิงคโปร์สมัยใหม่ก่อตั้งใน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และประเทศสิงคโปร์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศออสเตรเลียใน ค.ศ. 1913

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1913 ในประเทศออสเตรเลี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และประเทศออสเตรเลียใน ค.ศ. 1913 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอิตาลีใน ค.ศ. 1913

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1913 ในประเทศอิตาลี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และประเทศอิตาลีใน ค.ศ. 1913 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 1913

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1913 ในประเทศอียิปต.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 1913 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศจีนใน ค.ศ. 1913

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1913 ในประเทศจีน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และประเทศจีนใน ค.ศ. 1913 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1913

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1913 ในประเทศนอร์เว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1913 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศโครเอเชียใน ค.ศ. 1913

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1913 ในประเทศโครเอเชี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และประเทศโครเอเชียใน ค.ศ. 1913 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทยใน พ.ศ. 2456

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2456 ในประเทศไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และประเทศไทยใน พ.ศ. 2456 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 2016 (พ.ศ. 2559) ในประเทศไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และประเทศไทยใน ค.ศ. 2016 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเม็กซิโก

ม็กซิโก (Mexico; México) หรือชื่อทางการคือ สหรัฐเม็กซิโก (United Mexican States; Estados Unidos Mexicanos) เป็นประเทศในทวีปอเมริกาเหนือ มีพรมแดนทางทิศเหนือจรดสหรัฐอเมริกา ทิศใต้และทิศตะวันตกจรดมหาสมุทรแปซิฟิก ทิศตะวันออกเฉียงใต้จรดกัวเตมาลา เบลีซ และทะเลแคริบเบียน ส่วนทิศตะวันออกจรดอ่าวเม็กซิโก เนื่องจากครอบคลุมพื้นที่ถึงเกือบ 2 ล้านตารางกิโลเมตร เม็กซิโกจึงเป็นประเทศที่มากที่สุดเป็นอันดับที่ 5 ของทวีปอเมริกา และเป็นอันดับที่ 15 ของโลก นอกจากนี้ยังมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 10 ของโลก โดยมีการประมาณไว้ว่า เมื่อ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2559 ประเทศนี้มีจำนวนประชากร 128,632,000 ล้านคน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และประเทศเม็กซิโก · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเลโซโทใน ค.ศ. 1913

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1913 ในประเทศเลโซโท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และประเทศเลโซโทใน ค.ศ. 1913 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเวียดนาม

วียดนาม (Việt Nam เหฺวียดนาม) มีชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม (Cộng hòa xã hội chủ nghĩa Việt Nam, ก่ง ฮหว่า สา โห่ย จู๋ เหงีย เหวียต นาม) เป็นประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งอยู่ทางด้านตะวันออกสุดของคาบสมุทรอินโดจีน มีพรมแดนติดกับประเทศจีน ทางทิศเหนือ ประเทศลาว และประเทศกัมพูชา ทางทิศตะวันตก และอ่าวตังเกี๋ย ทะเลจีนใต้ ทางทิศตะวันออกและใต้ หรือในภาษาเวียดนามเรียกเฉพาะทะเลทางทิศตะวันออกว่า ทะเลตะวันออก (Biển Đông, เบี๋ยน ดง) เวียดนามมีประชากรมากกว่า 89 ล้านคน ถือเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับ 13 ของโลก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และประเทศเวียดนาม · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเดนมาร์กใน ค.ศ. 1913

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1913 ในประเทศเดนมาร์ก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และประเทศเดนมาร์กใน ค.ศ. 1913 · ดูเพิ่มเติม »

ปลากระเบนโมโตโร่

ปลากระเบนโมโตโร่ (Ocellate river stingray) ปลากระเบนที่อาศัยอยู่ในน้ำจืดชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลากระเบนหางสั้น (Potamotrygonidae) มีลักษณะตัวกลมคล้ายจานข้าวหรือแผ่นซีดี ผิวลำตัวสีน้ำตาลอ่อนหรือเข้ม มีจุดกลมสีส้มอมเหลืองวงรอบด้วยสีน้ำตาลเข้มกระจายไปจนถึงโคนหาง มีเงี่ยงแหลมคม 2 ชิ้นที่โคนหาง ที่ปลายหางมีริ้วหนังบาง ๆ โดยที่จุดกลมเหล่านี้จะแตกต่างและมีปริมาณมากน้อยไม่เท่ากันในแต่ละตัว ขนาดเมื่อโตเต็มที่ในธรรมชาติจะมีเส้นผ่าศูนย์กลางลำตัวราว 1 เมตร น้ำหนัก 15 กิโลกรัม อาศัยอยู่ในแหล่งน้ำธรรมชาติของทวีปอเมริกาใต้ เช่น เปรู, อุรุกวัย, โคลัมเบีย, โบลิเวีย, อาร์เจนตินา, บราซิล ซึ่งคนพื้นถิ่นนิยมกินเนื้อเป็นอาหาร ปลากระเบนโมโตโร่ ได้รับความนิยมอย่างมากในฐานะของการเป็นปลาตู้สวยงาม โดยผู้เลี้ยงสามารถเพาะขยายพันธุ์ในที่เลี้ยงได้ โดยปลาที่จะเริ่มผสมพันธุ์ได้นั้นจะมีความยาวลำตัวประมาณ 2 ฟุต อายุราว 1 ปีครึ่ง และสามารถผสมพันธุ์ออกมาเป็นลูกปลาที่มีสีสันและลวดลายสวยแปลกตากว่าดั้งเดิมได้หลากหลาย และผสมกับปลากระเบนในสกุลเดียวกัน ของวงศ์เดียวกันนี้ได้อีกด้วย ซึ่งจะทำให้ได้ปลาสายพันธุ์ใหม่ขึ้นมา รวมถึงปลากระเบนเผือก ที่มีราคาซื้อขายแพงด้ว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และปลากระเบนโมโตโร่ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาหมอแคระอพิสโตแกรมมา

ปลาหมอแคระอพิสโตแกรมมา เป็นปลาในวงศ์ปลาหมอสี (Cichlidae) สกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Apistogramma (/อะ-พิส-โต-แกรม-มา/) จัดเป็นปลาขนาดเล็กในวงศ์นี้ จัดได้เป็นว่าปลาหมอแคระสกุลหนึ่ง มีถิ่นกำเนิดในทวีปอเมริกาใต้ แพร่กระจายพันธุ์และอาศัยอยู่ในแหล่งน้ำที่มีค่าความเป็นกรดของน้ำค่อนข้างต่ำ (ต่ำกว่า 6.5 pH) จัดเป็นปลาที่มีความหลากหลายทางพันธุกรรมอย่างมาก สามารถแบ่งออกได้เป็นหลายชนิด มีลักษณะรูปร่างโดยรวมคือ ลำตัวเพรียวยาว สีสันสดใสมากโดยเฉพาะในปลาเพศผู้ ครีบอกเรียวยาวปลายแหลม รวมทั้งครีบหลังที่ดูโดดเด่น ปลายหางแหลม มีความแตกต่างอย่างมากระหว่างเพศผู้กับเพศเมีย กล่าวคือ เพศผู้มีสีสันที่สดสวยกว่าและมีขนาดลำตัวที่สวยกว่า แต่เมื่อตกใจสีจะซีดได้ ขนาดเมื่อโตเต็มที่แล้วจะมีความยาวโดยเฉลี่ยประมาณ 2 นิ้ว เป็นปลาที่นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม โดยสามารถเพาะขยายพันธุ์ได้ในตู้เลี้ยง โดยเฉพาะการเลี้ยงในตู้ไม้น้ำ มีอุปนิสัยเรียบร้อย ไม่ก้าวร้าว และไม่ทำลายต้นไม้ในตู้ มีพฤติกรรมในการขยายพันธุ์ โดยวางไข่ติดกับผนังถ้ำหรือโขดหินในแบบกลับหัว ซึ่งรูปแบบการวางไข่อาจจะแตกต่างไปตามชนิด ซึ่งในฤดูผสมพันธุ์ ปลาเพศผู้จะอวดสีและครีบแข่งกันเพื่อดึงดูดความสนใจจากปลาเพศเมีย ปลาเพศเมียอายุน้อยอาจวางไข่ได้ประมาณ 20 ฟอง ขณะที่ตัวที่มีอายุมากและสมบูรณ์พร้อมจะวางไข่ได้ถึง 100 ฟอง เมื่อฟักออกเป็นตัวแล้ว เพศเมียจะเป็นฝ่ายดูแลลูก โดยไม่ให้ปลาเพศผู้เข้ามายุ่งเกี่ยว ถึงแม้ว่าอาจมีเพศผู้บางตัวสามารถเลี้ยงลูกได้เช่นกัน ในหลายชนิดสามารถผสมพันธุ์แบบหมู่ คือ เพศผู้หนึ่งตัวต่อเพศเมียหลายตัวได้ ในขณะที่บางชนิดจะผสมพันธุ์กันแบบคู่ต่อคู่ ปลาในสกุลนี้ชนิดที่นิยมเลี้ยงได้แก่ชนิด A. agassizii, A. hongsloi และ A. viejita เป็นต้น ปลาหมอสีในสกุลนี้ จัดเป็นปลาที่มีวงจรชีวิตสั้น หลายชนิดสามารถผสมพันธุ์ได้ตั้งแต่มีอายุเพียง 3-4 เดือน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และปลาหมอแคระอพิสโตแกรมมา · ดูเพิ่มเติม »

ปลาอินซีเน็ตดำ

ปลาอินซีเน็ตดำ (Black Prochilodus, Boquichico) ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Prochilodus nigricans อยู่ในวงศ์ปลาอินซีเน็ต (Prochilodontidae) มีรูปร่างยาวและลำตัวกลมกว่าปลาในสกุล Semaprochilodus ริมฝีปากหนาและขยับไปมาตลอดเวลาได้ เกล็ดมีขนาดเล็กละเอียดมีสีเงินและมีสีดำคล้ำเป็นแถบยาวตามแนวนอนลำตัว ยิ่งปลาที่มีขนาดเล็กจะเห็นได้ชัดเจน ขอบเกล็ดมีสีดำ ครีบหลังและครีบหางมีขนาดเล็ก ส่วนท้องป่องออก ขนาดโตเต็มที่ประมาณ 31 เซนติเมตร พบใหญ่สุดประมาณ 37 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์อยู่ในแม่น้ำอเมซอนและแม่น้ำโทแคนตินส์ ในบราซิลและอาร์เจนตินา เป็นปลาที่กินได้ทั้งพืชและสัตว์ โดยมักอยู่รวมกันเป็นฝูงใหญ่ในแหล่งน้ำ และหากินโดยใช้ปากที่ขยับไปมาตลอดนั้นตอดหากินบริเวณท้องน้ำ ผสมพันธุ์และวางไข่ในฤดูน้ำหลาก โดยมีอัตราการวางไข่เฉลี่ยครั้งละ 100,000 ฟอง เป็นปลาที่ใช้บริโภคกันในท้องถิ่น และยังมีการเลี้ยงเป็นปลาสวยงามอีกด้วย นับเป็นปลาที่หาได้ยากและมีราคาแพงชนิดหนึ่งของวงศ์นี้.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และปลาอินซีเน็ตดำ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาผีตุ่น

ปลาผีตุ่น (White knifefish, Oddball knifefish, White trumpet knifefish) ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาแบล็คโกสต์ (Apteronotidae) จัดเป็นปลาเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Orthosternarchus โดยที่ปลาชนิดนี้ถูกค้นพบโดย จอร์จ อัลเบิร์ต บุลเลเยอร์ ในปี ค.ศ. 1880 โดยใช้ชื่อครั้งแรกว่า Sternarchus tamandu ซึ่งคำว่า tamandua ซึ่งเป็นชื่อชนิดนั้นมาจากภาษาตูเปียนคำว่า tamanduá ซึ่งหมายถึง "ตัวกินมด" เนื่องจากมีจมูกและปากที่ยาวเป็นท่อเหมือนกัน มีรูปร่างเหมือนกับปลาชนิดอื่น ๆ ในวงศ์เดียวกัน แต่มีจุดเด่นคือ มีลำตัวสีขาวซีดตลอดทั้งตัว โดยไม่มีสีอื่นแซม เหมือนภาวะผิวเผือก และตาได้ลดรูปลงจนมีขนาดเล็กมาก เป็นจุดเล็ก ๆ เหมือนปลาถ้ำ เนื่องจากไม่ได้ใช้ประโยชน์ และมีช่วงจมูกและปากที่ยาวเหมือนท่อหรือทรัมเป็ต ช่องปากเป็นเพียงช่องเล็ก ๆ มีความยาวเต็มที่ประมาณ 44 เซนติเมตร อาศัยอยู่ในส่วนลึกของแม่น้ำที่ขุ่นและเชี่ยวมากในทวีปอเมริกาใต้ แถบประเทศเปรู แต่จะไม่พบในป่าที่น้ำท่วม มีพฤติกรรมชอบว่ายน้ำลอยตัวอยู่นิ่ง ๆ กินอาหารที่เป็นสิ่งมีชีวิตเล็ก ๆ ที่ลอยอยู่ในกระแสน้ำเท่านั้น โดยใช้กระแสไฟฟ้าที่สร้างขึ้นเป็นเครื่องหาอาหารและนำทาง จัดเป็นปลาที่ไม่อาจทำอันตรายต่อปลาตัวอื่นหรือสัตว์อื่นใดได้ และค่อนข้างจะบอบบาง อ่อนแอ และว่ายน้ำได้ช้ามาก นิยมเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงาม ด้วยความแปลกตา ซึ่งมีราคาซื้อขายกันที่แพงมาก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และปลาผีตุ่น · ดูเพิ่มเติม »

ปลาฉลามเสือดาว

ำหรับปลาฉลามเสือดาวอีกชนิดหนึ่ง ดูที่ ปลาฉลามเสือดาว (''Triakis semifasciata'') ปลาฉลามเสือดาว (Leopard shark, Zebra shark, Leppard shark) ปลาฉลามชนิดหนึ่งที่ไม่มีอันตรายต่อมนุษย์ มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Stegostoma fasciatum อยู่ในวงศ์ Stegostomatidae และถือเป็นปลาชนิดเดียวที่อยู่ในวงศ์นี้และสกุล Stegostoma ปลาฉลามเสือดาวเป็นปลาที่มีครีบหางยาวมาก มีส่วนหัวมนกลมสั้นทู่ พื้นลำตัวสีเหลืองสลับลายจุดสีดำคล้ายลายของเสือดาว ยกเว้นส่วนหัวและหาง จึงเป็นที่มาของชื่อสามัญ เมื่อยังเล็กอยู่ ลายบนลำตัวจะเป็นสีน้ำตาลดำคาดขาวคล้ายลายของม้าลาย บนลำตัวมีสันเป็นเหลี่ยมด้านละสองสัน ผิวหนังหยาบเป็นเม็ด เป็นปลาที่มีไม่มีฟันแหลมคมเหมือนปลาฉลามชนิดอื่น ๆ มีอุปนิสัยชอบนอนอยู่นิ่ง ๆ บนพื้นทรายและแนวปะการังใต้ทะเล ในความลึกตั้งแต่ 5-30 เมตร โดยพบในทะเลบริเวณแถบอินโด-แปซิฟิก และมหาสมุทรอินเดีย โดยใช้เวลาในช่วงกลางวันนอน กลางคืนออกหากิน อาหารได้แก่ สัตว์มีกระดอง และสัตว์น้ำขนาดเล็กกว่า เมื่อถูกรบกวนจะว่ายหนีไป โดยใช้อวัยวะคล้ายหนวดที่อยู่รอบ ๆ ปลายส่วนหัวซึ่งเป็นอวัยวะใช้รับสัมผัสในการนำทางและหาอาหาร ขนาดเมื่อโตเต็มที่ยาวได้ประมาณ 3 เมตร ปลาฉลามเสือดาวเป็นปลาฉลามที่ออกลูกเป็นไข่ โดยจะวางไข่ในเขตน้ำตื้น ลูกปลาขนาดเล็กอาจจะเข้าไปอยู่ในบริเวณน้ำกร่อยหรือน้ำจืด แถบป่าชายเลนหรือปากแม่น้ำได้ เมื่อโตขึ้นจึงค่อยย้ายลงสู่ทะเลลึก ดังนั้นลูกปลาขนาดเล็กจึงมักติดเบ็ดหรืออวนของชาวประมงอยู่บ่อย ๆ ซึ่งในทางประมงแล้ว ปลาฉลามชนิดนี้ไม่จัดว่าเป็นปลาที่ใช้ในการบริโภคแต่อย่างใด นอกจากนี้แล้วยังเป็นปลาที่นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม และมักพบเลี้ยงในพิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำต่าง ๆ ทั่วโลก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และปลาฉลามเสือดาว · ดูเพิ่มเติม »

ปลาแขยงทอง

ปลาแขยงทอง หรือ ปลาอิแกลาเอ๊ะ (ภาษาอินโดนีเซีย: Ikan nuayang) เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Pseudeutropius moolenburghae อยู่ในวงศ์ปลาหวีเกศ (Schilbeidae) มีรูปร่างเพรียวยาว นัยน์ตาโต มีหนวดทั้งหมด 4 คู่ ที่ระหว่างจมูกคู่หน้ากับคู่หลัง 1 คู่ ริมฝีปากบน 1 คู่ ริมฝีปากล่าง 1 คู่ และที่คาง 1 คู่ มีครีบไขมันขนาดเล็กอยู่ใกล้ครีบหาง ครีบท้องมีก้านครีบแขนง 42-49 ก้าน ครีบหางเว้าเป็นแฉกลึก ลำตัวมีสีเหลืองเหลือบทองจาง ๆ มีจุดสีดำที่บริเวณหน้าครีบหลัง มีขนาดความยาวเต็มที่ประมาณ 10 เซนติเมตร มีพฤติกรรมอยู่รวมกันเป็นฝูง กินอาหารจำพวก แมลง, แมลงน้ำ และกุ้งขนาดเล็ก ในประเทศไทยพบได้ที่แม่น้ำสาละวินในแถบจังหวัดแม่ฮ่องสอน ในต่างประเทศพบได้ที่ เกาะสุมาตราและบอร์เนียว โดยปลาชนิดนี้เป็นดัชนีชี้วัดคุณภาพของน้ำได้เป็นอย่างดี เป็นปลาที่ชาวพื้นเมืองที่จะนิยมนำมาบริโภคกันโดยจับได้ในปริมาณทีละมาก ๆ ใช้หมักเค็มกับเกลือ เป็นปลาที่ความสวยงามมากชนิดหนึ่ง นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม แต่ไม่ค่อยเป็นที่รู้จักกันอย่างกว้างขวางนัก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และปลาแขยงทอง · ดูเพิ่มเติม »

ปาร์มากัลโช 1913

en:Parma Calcio 1913 สมาคมกีฬาสมัครเล่นปาร์มากัลโช 1913 (Società Sportiva Dilettantistica Parma Calcio 1913) ก่อตั้งขึ้นในเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 1913 ตั้งอยู่ในเมืองปาร์มา แคว้นเอมีเลีย-โรมัญญา ประเทศอิตาลีโดยครั้งแรกใช้ชื่อว่าสโมสรฟุตบอลแวร์ดี ตามชื่อจูเซปเป แวร์ดี นักอุปรากรที่มีชื่อเสียงซึ่งเกิดที่เมืองปาร์มา ต่อมาในเดือนธันวาคมก็ได้เปลี่ยนชื่อเป็นสโมสรฟุตบอลปาร์มา สโมสรเริ่มเล่นบอลลีกครั้งแรกในช่วงปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และปาร์มากัลโช 1913 · ดูเพิ่มเติม »

ปูนซิเมนต์ไทย

อสซีจี หรือ บริษัท ปูนซิเมนต์ไทย จำกัด (มหาชน) (Siam Cement Group ชื่อย่อ: SCG) เอสซีจี หรือเรียกสั้นๆว่า "ปูนใหญ่" เป็นกลุ่มบริษัทชั้นนำในภูมิภาคอาเซียนที่ดำเนินธุรกิจมากว่า 100 ปี ก่อตั้งในประเทศไทยเมื่อปี 2456 ตามพระบรมราชโองการในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 เพื่อผลิตปูนซีเมนต์ วัสดุก่อสร้าง ปัจจุบันเอสซีจีประกอบด้วย 3 กลุ่มธุรกิจหลัก ได้แก่ เอสซีจี ซิเมนต์-ผลิตภัณฑ์ก่อสร้าง เอสซีจี เคมิคอลส์ และ เอสซีจี แพคเกจจิ้ง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และปูนซิเมนต์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

ปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ

ปฏิทินสำหรับปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ (เช่น พ.ศ. 2546, พ.ศ. 2557) ---- หมวดหมู่:สัปดาห์ หมวดหมู่:ปฏิทิน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ · ดูเพิ่มเติม »

นกกีวีสีน้ำตาล

นกกีวีสีน้ำตาล หรือ นกกีวีสีน้ำตาลใต้ หรือ นกกีวีธรรมดา (Brown kiwi, Southern brown kiwi, Common kiwi) เป็นนกกีวีชนิดหนึ่ง จัดเป็นนกกีวีชนิดที่รู้จักกันมากที่สุด มีรูปร่างลักษณะทั่วไปเหมือนกับนกกีวีสีน้ำตาลเกาะเหนือ (A. mantelli) ที่ถูกแยกชนิดกันชัดเจนเมื่อปี ค.ศ. 2000 คือ มีขนปกปุยปกคลุมลำตัวสีน้ำตาล จะงอยปากแหลมยาว ปีกมีขนาดสั้นซ่อนอยู่ภายใต้ขนที่หนา พบกระจายพันธุ์เฉพาะเกาะใต้ของนิวซีแลนด์ ตั้งแต่บริเวณทิศใต้จนถึงทิศตะวันตก และยังสามารถพบได้ในพื้นที่ที่ราบสูง โดยแบ่งออกได้เป็น 2 ชนิดย่อย คือ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และนกกีวีสีน้ำตาล · ดูเพิ่มเติม »

นอร์มัน ร็อกเวลล์

นอร์มัน ร็อกเวลล์ (Norman Percevel Rockwell) (3 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1894 – 8 พฤศจิกายน ค.ศ. 1978) เป็นจิตรกรและจิตรกรภาพประกอบชาวอเมริกันของคริสต์ศตวรรษที่ 20 ผู้มีชื่อเสียงจากการเขียนภาพหน้าปกนิตยสารที่เป็นภาพชีวิตประจำวันทั่วๆ ไปของชาวอเมริกันในนิตยสาร “The Saturday Evening Post” เป็นเวลากว่าสี่สิบปี ภาพที่มีชื่อเสียงก็ได้แก่ภาพชุดวิลลีส์ กิลลิส (Willie Gillis),ภาพชุดโรซีคนตอกหมุด (Rosie the Riveter) และภาพชุด เสรีภาพสี่อย่าง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และนอร์มัน ร็อกเวลล์ · ดูเพิ่มเติม »

นามสกุล

ื่อสกุล หรือ นามสกุล คือ ชื่อบอกตระกูล (หรือสกุล) เพื่อแสดงที่มาของบุคคลนั้น ว่ามาจากครอบครัวไหน ตระกูลใด ธรรมเนียมการใช้นามสกุลปรากฏอยู่ทั่วไปในหลาย ๆ ประเทศและวัฒนธรรม ซึ่งในแต่ละที่ก็อาจจะมีลักษณะเฉพาะแตกต่างกันไป ในหลาย ๆ วัฒนธรรม (เช่น ทางตะวันตก ตะวันออกกลาง และในทวีปแอฟริกา) นามสกุลจะอยู่ในลำดับหลังสุดของชื่อบุคคล แต่ในบางวัฒนธรรม โดยเฉพาะในเอเชียตะวันออก (จีน ญี่ปุ่น เกาหลี เวียดนาม) นามสกุลจะอยู่ในลำดับแรก ส่วนนามสกุลของไทยจะอยู่เป็นลำดับสุดท้ายเหมือนทางตะวันตก ในบางวัฒนธรรม จะใช้นามสกุลในการเรียกขานในโอกาสที่เป็นทางการ เช่น บารัก โอบามา (Barack Obama) จะถูกเรียกว่า คุณโอบามา (Mr. Obama) ไม่ใช่ คุณบารัก เป็นต้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และนามสกุล · ดูเพิ่มเติม »

นามสกุลพระราชทาน

ป็นนามสกุลที่ได้รับพระราชทานจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว โดยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขนานนามสกุลขึ้นเมื่อวันที่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2455 โดยให้มีผลใช้บังคับในวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2456 อย่างไรก็ตาม ได้มีการเลื่อนเวลาการบังคับใช้กฎหมาย 2 ครั้ง เพื่ออำนวยความการสะดวกแก่เจ้าพนักงานซึ่งจะทำทะเบียนและสะดวกแก่ผู้ที่จะเลือกตั้งนามสกุล โดยพระราชบัญญัติได้บังคับใช้เป็นกฎหมายโดยสมบูรณ์เมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2458 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามสกุลครั้งแรกเป็นจำนวน 102 นามสกุล เช่น นามสกุล "สุขุม" พระราชทานแก่ เจ้าพระยายมราช (ปั้น), นามสกุล "มาลากุล" พระราชทานแก่ พระยาวิสุทธสุริยศักดิ์ (หม่อมราชวงศ์เปีย) และ พระยาอนุรักษ์ราชมณเฑียร (หม่อมราชวงศ์ปุ้ม) และนามสกุล "พึ่งบุญ" พระราชทานแก่ พระยาประสิทธิ์ศุภการ (หม่อมหลวงเฟื้อ) นามสกุลที่ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานไว้มีทั้งสิ้น 6464 นามสกุล แยกเป็น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และนามสกุลพระราชทาน · ดูเพิ่มเติม »

นีลส์ บอร์

|นีลส์ โบร์ นีลส์ โบร์ กับ ไอน์สไตน์ นีลส์ โบร์ (Niels Hendrik David Bohr – 7 ตุลาคม พ.ศ. 2428-18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2505) นักฟิสิกส์ชาวเยอรมัน เกิดที่กรุงโคเปนเฮเกน จบการศึกษาจากมหาวิทยาลัยโคเปนเฮเกนแล้วจึงได้ไปทำงานที่ประเทศอังกฤษ ที่เมืองเคมบริดจ์ และแมนเชสเตอร์ ต่อมาได้ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการสถาบันฟิสิกส์ทฤษฎีที่โคเปนเฮเกนตั้งแต่ปี พ.ศ. 2463 จนถึงแก่กรรม นีลส์ โบร์ ได้ขยายต่อยอดทฤษฎีโครงสร้างอะตอมให้ก้าวหน้าไปเป็นอันมาก จากการให้การอธิบายสเปกตรัมของไฮโดรเจน โดยวิธีสร้างแบบจำลองไฮโดรเจนและทฤษฎีควอนตัม (พ.ศ. 2456) ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 บอร์ได้ไปช่วยโครงการวิจัยที่ สหรัฐอเมริกาและกลับโคเปนเฮเกนเมื่อสิ้นสงครามในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และนีลส์ บอร์ · ดูเพิ่มเติม »

แฟรงกลิน ดี. โรสเวลต์

แฟรงกลิน เดลาโน โรสเวลต์ (อังกฤษ: Franklin Delano Roosevelt) เกิดวันที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2425 (ค.ศ. 1882) เสียชีวิตวันที่ 12 เมษายน พ.ศ. 2488 (ค.ศ. 1945) เป็นประธานาธิบดีคนที่ 32 ของสหรัฐอเมริกา นอกจากนี้ยังเป็นประธานาธิบดีที่ดำรงตำแหน่งยาวนานที่สุด (พ.ศ. 2476-2488) และเป็นประธานาธิบดีเพียงคนเดียวของสหรัฐอเมริกาที่ได้รับเลือกถึงสี่สมัย ก่อนการประกาศญัตติข้อที่ 22 ในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และแฟรงกลิน ดี. โรสเวลต์ · ดูเพิ่มเติม »

แฟร์ดิน็อง เดอ โซซูร์

แฟร์ดิน็อง เดอ โซซูร์ (Ferdinand de Saussure) (26 พ.ย. 1857 – 22 ก.พ. 1913) เป็นนักภาษาศาสตร์ชาวสวิส ซึ่งแนวคิดของเขาได้ปูรากฐานที่สำคัญจำนวนมากในพัฒนาการของภาษาศาสตร์ในคริสต์ศตวรรษที่ 20 เขาได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางว่าเป็นหนึ่งในบิดาของภาษาศาสตร์ยุคศตวรรษที่ 20 และแนวคิดของเขามีผลกระทบอย่างมหาศาลต่อการทำวิจัยกับลิงใหญ่ (ape).

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และแฟร์ดิน็อง เดอ โซซูร์ · ดูเพิ่มเติม »

แกรนด์ดัชเชสมาเรีย อเล็กซานดรอฟนาแห่งรัสเซีย

แกรนด์ดัชเชสมาเรีย อเล็กซานดรอฟนา ในปีค.ศ.1870 แกรนด์ดัชเชสมาเรีย อเล็กซานดรอฟนาแห่งรัสเซีย (ต่อมาเป็น ดัชเชสแห่งเอดินเบอระ และ ดัชเชสแห่งแซ็กซ์-โคบูร์กและก็อตธา) (Grand Duchess Maria Alexandrovna of Russia, Duchess of Edinburgh and Duchess of Saxe-Coburg and Gotha) ประสูติเมื่อ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2396 ที่ ซากอย เซโล จักรวรรดิรัสเซีย เป็นพระราชธิดาในสมเด็จพระจักรพรรดิอเล็กซานเดอร์ที่ 2 แห่งรัสเซีย และพระจักรพรรดินีมาเรีย อเล็กซานดรอฟนาแห่งรัสเซีย ต่อมาได้อภิเษกสมรสกับเจ้าฟ้าชายอัลเฟรด ดยุคแห่งเอดินเบอระ พระราชโอรสองค์ที่ 2 ในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร และเจ้าฟ้าชายอัลเบิร์ตแห่งแซ็กซ์-โคบูร์กและโกธา เมื่อวันที่ 23 มกราคม พ.ศ. 2417 ณ พระราชวังฤดูหนาว กรุงเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก จักรวรรดิรัสเซีย ต่อมาได้สิ้นพระชนม์ในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2463 ที่เมืองซูริค ประเทศสวิสเซอร์แลนด์ รวมพระชนมายุ 67 พรรษ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และแกรนด์ดัชเชสมาเรีย อเล็กซานดรอฟนาแห่งรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

แรมง ปวงกาเร

แรมง ปวงกาเร (Raymond Poincaré; 20 สิงหาคม พ.ศ. 2403 - 15 ตุลาคม พ.ศ. 2477) เป็นรัฐบุรุษชาวฝรั่งเศส ที่ได้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี 3 สมัย และดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีตั้งแต..

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และแรมง ปวงกาเร · ดูเพิ่มเติม »

แหวนนพรัตน์

แหวนนพรัตน เป็นเครื่องยศชนิดหนึ่งทำจากทองคำเนื้อสูงฝังนพรัตน์ แหวนนพรัตน์เป็นหนึ่งในเครื่องยศที่สำคัญมากและใช้สวมใส่ในงานมงคลเท่านั้น การพระราชทานแหวนนพรัตน์มายกเลิกในสมัยรัชกาลที่ 5 เพราะได้มีการพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์แทน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และแหวนนพรัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

แอสตันมาร์ติน

แอสตันมาร์ติน (ชื่อเต็มของบริษัทคือ Aston Martin Lagonda Limited) เป็นชื่อบริษัทผลิตรถยนต์สปอร์ตหรูของสหราชอาณาจักร มีฐานการผลิตที่เมืองเกย์ดอน (Gaydon) ในอังกฤษ ชื่อยี่ห้อแอสตันมาร์ตินนี้ ตั้งชื่อตามนามสกุลของลีโอเนล มาร์ติน (Lionel Martin) ผู้ก่อตั้งบริษัท และตามชื่อสถานที่ เนินแอสตัน (Aston Hill) ใกล้กับหมู่บ้านแอสตันคลินตัน (Aston Clinton) ในเมืองบักกิงแฮมเชอร์ (Buckinghamshire) ตั้งแต่ พ.ศ. 2537 จนถึง พ.ศ. 2550 แอสตันมาร์ตินเป็นส่วนหนึ่งของ Premier Automotive Group ซึ่งเป็นกลุ่มกิจการของฟอร์ดมอเตอร์ และเมื่อวันที่ 12 มีนาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และแอสตันมาร์ติน · ดูเพิ่มเติม »

แอนดรูว์ คาร์เนกี

แอนดรูว์ คาร์เนกี (Andrew Carnegie, 25 พฤศจิกายน ค.ศ. 1835 - 11 สิงหาคม ค.ศ. 1919) เป็นนักอุตสาหกรรม นักธุรกิจและผู้ประกอบการชาวสกอต-อเมริกัน ผู้นำการขยายตัวอย่างใหญ่หลวงของอุตสาหกรรมเหล็กกล้าอเมริกาในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 เขายังเป็นหนึ่งในนักการกุศลคนสำคัญที่สุดในยุคของเขา คาร์เนกีเกิดในดันเฟิร์มลิน สกอตแลนด์ และอพยพสู่สหรัฐอเมริกากับครอบครัวเมื่อยังเป็นเด็ก อาชีพแรกของเขาในสหรัฐอเมริกา เป็นกรรมกรโรงงานในโรงงานหลอดด้าย ภายหลังเขาทำงานเป็นคนจดรายการ (bill logger) ให้กับเจ้าของบริษัท ไม่นานจากนั้นเขากลายเป็นเด็กส่งของ ท้ายสุด เขาก้าวหน้าเข้าทำงานในบริษัทโทรเลข และจนถึงคริสต์ทศวรรษ 1860 เขาได้ลงทุนในทางรถไฟ รถนอนทางรถไฟ สะพานและบ่อน้ำมัน เขาร่ำรวยขึ้นมาจากการเป็นผู้ขายพันธบัตรระดมเงินทุนแก่วิสาหกิจอเมริกาในยุโรป เขาก่อตั้ง Carnegie Steel Company ในคริสต์ทศวรรษ 1870 ซึ่งทำให้เขาได้รับการจารึกชื่อว่าเป็น "กัปตันแห่งอุตสาหกรรม" จนถึงคริสต์ทศวรรษ 1890 บริษัทของเขาเป็นวิสาหกิจอุตสาหกรรมที่ใหญ่ที่สุดและทำรายได้มากที่สุดในโลก ใน ค.ศ. 1902 เขาขายให้แก่ J.P. Morgan เป็นเงิน 480 ล้านดอลล่าร์สหรัฐ และก่อตั้ง U.S. Steel ภายหลังเขาหันไปเป็นผู้นักการกุศล และให้ความสนใจกับการศึกษา คาร์เนกีบริจาคเงินส่วนใหญ่ก่อตั้งห้องสมุด โรงเรียนและมหาวิทยาลัยจำนวนมากในสหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร แคนาดาและอีกหลายประเทศ เช่นเดียวกับจัดหาเงินบำนาญให้แก่อดีตลูกจ้าง เขามักถูกจัดให้เป็นบุคคลร่ำรวยที่สุดในประวัติศาสตร์อันดับสอง รองจากจอห์น ดี ร็อกกี้เฟลเลอร์ ในช่วงบั้นปลายชีวิต มูลค่าทรัพย์สินรวมของคาร์เนกีอยู่ที่ 475 ล้านดอลลาร์สหรัฐ แต่เมื่อเขาเสียชีวิตมูลค่าทรัพย์สินส่วนตัวได้ลดลงเหลือ 30 ล้านดอลล่าร์สหรัฐจากการบริจาคเงิน มูลค่าแท้จริงประเมินไว้ระหว่าง 75,000 ล้าน ถึง 297,800 ล้านดอลล่าร์สหรัฐ เมื่อปรับกับเงินเฟ้อเมื่อปลายคริสต์ทศวรรษ 2000 แล้ว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และแอนดรูว์ คาร์เนกี · ดูเพิ่มเติม »

โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์

รุสซีอาดอร์ทมุนท์ (Borussia Dortmund; ชื่อจัดตั้ง Ballspielverein Borussia 09 e.V. Dortmund) ย่อว่า เบเฟาเบ (BVB) หรือ ดอร์ทมุนท์ (Dortmund) เป็นสโมสรฟุตบอลจากเมืองดอร์ทมุนท์ รัฐนอร์ทไรน์-เว็สท์ฟาเลิน ประเทศเยอรมนี ปัจจุบันเล่นอยู่ในบุนเดสลีกา ลีกสูงสุดของประเท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และโบรุสซีอาดอร์ทมุนท์ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนพรหมานุสรณ์จังหวัดเพชรบุรี

รงเรียนพรหมานุสรณ์จังหวัดเพชรบุรี (Prommanusorn Phetchaburi School) (อักษรย่อ พ.บ. / P.B.) ตั้งอยู่เลขที่ 278 ถนนบันไดอิฐ ตำบลคลองกระแชง อำเภอเมืองเพชรบุรี จังหวัดเพชรบุรี เป็นโรงเรียนสหศึกษาทั้งระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และมัธยมศึกษาตอนปลาย อีกทั้งยังเป็นโรงเรียนประจำจังหวัดเพชรบุรี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และโรงเรียนพรหมานุสรณ์จังหวัดเพชรบุรี · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย

รงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย (Bangkok Christian College ย่อ: ก.ท, BCC) เรียกอย่างย่อว่า กรุงเทพคริสเตียน หรือ คริสเตียน เป็นโรงเรียนเอกชนชายล้วนขนาดใหญ่ ได้รับการสถาปนาขึ้นโดยคณะมิชชันนารีอเมริกันเพรสไบทีเรียน เมื่อปี พ.ศ. 2395 เป็นโรงเรียนแห่งแรกในเครือสภาคริสตจักรในประเทศไทย ซึ่งประกอบด้วย 28 โรงเรียน กับ 2 มหาวิทยาลัย ปัจจุบันโรงเรียนมีอายุ ปี เป็นโรงเรียนที่เก่าแก่ที่สุดของประเทศไทย เป็นโรงเรียนโปรแตสแตนท์ที่เก่าแก่ที่สุดของประเทศ และเป็นโรงเรียนเพียงแห่งเดียวในปัจจุบันที่ก่อตั้งขึ้นในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 โรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัยตั้งอยู่ เลขที่ 35 ถนนประมวญ แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร โรงเรียนมีศิษย์เก่าเป็นบุคคลที่มีชื่อเสียงหลายคน ทั้งองคมนตรี 4 คน นายกรัฐมนตรีไทย 2 คน รัฐมนตรีหลายกระทรวง นักร้อง นักแสดง ผู้จัดรายการหลายคน และ อำนวย เสี่ยงไทร์ แพทย์ชื่อดัง โรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัยเป็นโรงเรียนในเครือจตุรมิตร ซึ่งประกอบด้วย โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย, โรงเรียนเทพศิรินทร์, โรงเรียนอัสสัมชัญ และโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลั.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนกาฬสินธุ์พิทยาสรรพ์

รงเรียนกาฬสินธุ์พิทยาสรรพ์ (อังกฤษ: Kalasinpittayasan School) (อักษรย่อ: ก.พ.ส,K.P.S.) เป็นสถานศึกษาแห่งแรกของจังหวัดกาฬสินธุ์ ซึ่งแต่เดิมเป็นโรงเรียนชายล้วน ปัจจุบันจัดอยู่ในประเภทโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ รูปแบบสหศึกษา ทำการเรียนการสอนตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และระดับมัธยมศึกษาตอนปล.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และโรงเรียนกาฬสินธุ์พิทยาสรรพ์ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนมัญจาศึกษา

รงเรียนมัญจาศึกษา (อังกฤษ: Mancha Suksa School) (อักษรย่อ: ม.ศ.,M.C.) เป็นสถานศึกษาแห่งแรกของจังหวัดขอนแก่นที่ผ่านการประเมินโรงเรียนต้นแบบ โรงเรียนในฝัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และโรงเรียนมัญจาศึกษา · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนราชสีมาวิทยาลัย

กด้านบนบริเวณ โรงเรียนราชสีมาวิทยาลัย 15 มีนาคม 2489 ภาพถ่ายจากด้านบนบริเวณโรงเรียนราชสีมาวิทยาลัย ในสมัยก่อน ซึ่งน่าจะถ่ายก่อน ปี 2515 บริเวณโรงเรียนราชสีมาวิทยาลัย พ.ศ. 2552 (มุมสูง) บริเวณด้านหน้าตึก 1 และเป็นบริเวณเข้าแถว เสาธงต้นใหม ป็นเสาธงของสถานศึกษาระดับต่ำกว่าอุดมศึกษาที่มีขนาดใหญ่ที่สุด โรงเรียนราชสีมาวิทยาลัย(อักษรย่อ: ร.ส., R.S.)เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ ประเภทโรงเรียนชายล้วน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตั้งอยู่เลขที่ 1753 ถนนมิตรภาพ ตำบลในเมือง อำเภอเมืองจังหวัดนครราชสีม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และโรงเรียนราชสีมาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนร้อยเอ็ดวิทยาลัย

รงเรียนร้อยเอ็ดวิทยาลัย เป็นสถานศึกษาแห่งแรกของจังหวัดร้อยเอ็ดซึ่งแต่เดิมเป็นโรงเรียนชายล้วน ปัจจุบันจัดอยู่ในประเภทโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ รูปแบบสหศึกษาในมัธยมปลาย และ ชายล้วนในมัธยมต้น ทำการเรียนการสอนตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระดับช่วงชั้นที่ 3 และช่วงชั้นที่ 4 โดยมีเนื้อที่ 27 ไร่ 3 งาน 52 ตารางวา โดยในช่วงเวลา 100 ปีที่ผ่านมา ร้อยเอ็ดวิทยาลัยได้ทำหน้าที่ผลิตทรัพยากรบุคคลที่มีคุณค่าออกมาทำหน้าที่รับใช้สังคมและชุมชนอย่างมาก มาย ในฐานะสถานศึกษาที่เป็นผู้นำทางด้านวิชาการ กีฬา และคุณธรรมจริยธรรมทั้งระดับจังหวัดและระดับประเทศ ดังที่เนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์ ได้กล่าวไว้ว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และโรงเรียนร้อยเอ็ดวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนสมุทรสาครบูรณะ

รงเรียนสมุทรสาครบูรณะ เป็นโรงเรียนสตรีประจำจังหวัดสมุทรสาคร ปรัชญาของโรงเรียน: วิชาดี มีวินัย ใฝ่คุณธรรม พระพุทธรูปประจำโรงเรียน: พระศรีสมุทรสาครภูมิบาล.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และโรงเรียนสมุทรสาครบูรณะ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนสารคามพิทยาคม

รงเรียนสารคามพิทยาคม (Sarakham Pittayakhom School) ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2456 ซึ่งตั้งอยู่ที่เขตเทศบาลเมืองมหาสารคาม ตำบลตลาด อำเภอเมืองมหาสารคาม จังหวัดมหาสารคาม เป็นโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาขนาดใหญ่ พิเศษ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มหาสารคาม เขต 1 กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่ที่ถนนนครสวรรค์ เทศบาลเมืองมหาสารคาม ตำบลตลาด อำเภอเมืองมหาสารคาม จังหวัดมหาสารคาม มีบริเวณพื้นที่ทั้งหมด 36 ไร่ 2 งาน เดิมเปิดสอนเฉพาะนักเรียนชายในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ส่วนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย รับทั้งนักเรียนหญิงและนักเรียนชาย ในปีการศึกษา 2538 กรมสามัญศึกษาอนุญาตให้เปิดสอนสหศึกษา ในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และโรงเรียนสารคามพิทยาคม · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนคณะราษฎรบำรุง จังหวัดยะลา

รงเรียนคณะราษฎรบำรุง จังหวัดยะลา เป็นโรงเรียนประจำจังหวัดยะลา ประเภทสหศึกษา เปิดสอนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 1 ถึง มัธยมศึกษาปีที่ 6 สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) กระทรวงการศึกษาธิการ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และโรงเรียนคณะราษฎรบำรุง จังหวัดยะลา · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์

รงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์ เป็นโรงเรียนรัฐบาลสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่เลขที่ 222 ถนนชุมพล ตำบลหน้าเมือง อำเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา โรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์ ฉะเชิงเทรา เป็นโรงเรียนมัธยมสหศึกษา ซึ่งได้ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2435 เป็นโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษประเภทสหศึกษา แต่เดิมโรงเรียนนี้เคยเป็นโรงเรียนประจำมณฑลปราจีน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และโรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนเบญจมราชาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และโรงเรียนเบญจมราชาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนเบญจมราชูทิศ

อกสารการพระราชทานชื่อ "เบญจมราชูทิศ" ของมณฑลนครศรีธรรมราช โรงเรียนเบญจมราชูทิศ เป็นชื่อโรงเรียนในระดับมัธยมศึกษา ซึ่งจัดตั้งตามพระราชประสงค์ของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 5) โดยชื่อโรงเรียนเป็นนามที่ได้รับพระราชทานมาจาก พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 6) โดยชื่อ "เบญจมราชูทิศ" มีความหมายว่า สร้างอุทิศแก่พระมหากษัตริย์องค์ที่ 5 ซึ่งก็คือ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เนื่องจากในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว กระทรวงธรรมการได้รับพระบรมราชานุญาตให้จัดการเรี่ยไรเงินจัดสร้างโรงเรียน มณฑลต่างๆ จึงได้จัดให้มีการเรี่ยไรเงินจัดสร้างโรงเรียนถวายเป็นพระราชกุศล และได้มีการจัดสร้างขึ้น 6 แห่ง ใน 6 มณฑล ได้รับพระราชทานนามว่า "เบญจมราชูทิศ" ทั้งหมด ในปี พ.ศ. 2456 คือ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และโรงเรียนเบญจมราชูทิศ · ดูเพิ่มเติม »

โรเบิร์ต อี. ลี

รเบิร์ต เอ็ดเวิร์ด ลี โรเบิร์ต เอ็ดเวิร์ด ลี (Robert Edward Lee) (19 มกราคม ค.ศ. 1807 – 12 ตุลาคม ค.ศ. 1870) เป็นนายพลที่มีชื่อเสียงโด่งดังคนหนึ่งของอเมริกา เขามีบทบาทสำคัญมากในสงครามเม็กซิกัน-อเมริกัน และ สงครามกลางเมืองอเมริกา โดยนายพลลีได้สละหน้าที่การงานของเขาในสหรัฐอเมริกา เพื่อกลับมาร่วมสู้กับบ้านเกิดที่เวอร์จิเนีย ซึ่งอยู่ฝ่ายสมาพันธรัฐอเมริกา เขาสามารถนำชัยชนะมาสู่ฝ่ายใต้ของเขานับไม่ถ้วน ทั้ง ๆ ที่ฝ่ายใต้มีแสนยานุภาพในหลาย ๆ ด้านด้อยกว่าฝ่ายเหนือมากก็ตาม แต่ถึงแม้นายพลลีจะเก่งกาจปานใด เขาก็ต้องฝ่ายแพ้ฝ่ายเหนือในยุทธการเกตตีสเบิร์ก นำไปสู่ความพ่ายแพ้ของฝ่ายใต้ในที.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และโรเบิร์ต อี. ลี · ดูเพิ่มเติม »

โอสถ โกศิน

นายโอสถ โกศิน อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ และอดีตนายกสภามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และโอสถ โกศิน · ดูเพิ่มเติม »

โทกูงาวะ โยชิโนบุ

ทกูงาวะ โยชิโนบุ (28 ตุลาคม ค.ศ. 1837 - 22 พฤศจิกายน ค.ศ. 1913) เป็นโชกุนลำดับที่ 15 และโชกุนคนสุดท้ายของรัฐบาลโชกุนโทกูงาวะแห่งประเทศญี่ปุ่น โยชิโนบุเป็นผู้มีบทบาทสำคัญในรัฐบาลโชกุนโทกูงาวะมาหลายสมัย และได้เคลื่อนไหวเพื่อปฏิรูปรัฐบาลโชกุนซึ่งกำลังอยู่ในภาวะเสื่อมถอย แต่จบลงด้วยความล้มเหลวอย่างรุนแรงยิ่ง ภายหลังเมื่อสละตำแหน่งและถวายอำนาจของโชกุนคืนแก่จักรพรรดิเมจิแล้ว โยชิโนบุได้เกษียณตนเองและใช้ชีวิตโดยหลบเลี่ยงจากสายตาของสาธารณชนตลอดช่วงชีวิตที่เหลืออยู่ จนกระทั่งเสียชีวิตด้วยวัย 76 ปี นับว่าเป็นโชกุนผู้มีอายุยืนที่สุดในประวัติศาสตร์ญี่ปุ่น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และโทกูงาวะ โยชิโนบุ · ดูเพิ่มเติม »

โซชีเอตาสปอร์ตีวาลาซีโอ

ซชีเอตาสปอร์ตีวาลัตซีโย (Società Sportiva Lazio) สโมสรลัตซีโยก่อตั้งขึ้นในปี ค.ศ. 1900 ตามชื่อแคว้นลัตซีโยที่ซึ่งเป็นที่ตั้งเมืองหลวงคือกรุงโรมในประเทศอิตาลี สีของทีมลัตซีโยใช้สีฟ้าขาวซึ่งได้แรงบรรดาลใจมาจากธงประเทศกรีซ ทีมฟุตบอลลัตซีโยเป็นทีมขนาดใหญ่ทีมหนึ่งในช่วง 20 ปีที่ผ่านมามีผลงานอยู่ในอันดับบนของตารางมาโดยตลอด สามารถคว้าแชมป์สคูเดตโต้ได้ 2 สมัย คือในฤดูกาลปี 1973-1974 และ ฤดูกาล 1999-2000 สโมสรกีฬาลัตซีโย (Società Sportiva Lazio, S.S. Lazio) เป็นสโมสรกีฬาที่มีทั้งหมด 37 ชนิด โดยกีฬาฟุตบอลเป็นกีฬาที่โดดเด่นที่สุดของสโมสร โดยสัญลักษณ์ที่ใช้คือ นกอินทรีฟ้าขาว ทีมฟุตบอลลัตซีโยเป็นทีมเก่าแก่ทีมแรกของกรุงโรม โดยก่อตั้งก่อนทีมสโมสรฟุตบอลโรมา 27 ปี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และโซชีเอตาสปอร์ตีวาลาซีโอ · ดูเพิ่มเติม »

ไทม์สแควร์

ูนย์กลางเศรษฐกิจ และความบันเทิงของโลก ไทม์สแควร์ (Times Square) เป็นจุดตัดสำคัญของถนนใน แมนฮัตตัน นครนิวยอร์ก โดยเป็นจุดตัดของถนนบรอดเวย์ กับ ถนนเซเวนท์ เอเวนิว อีกทั้งยังเป็นจุดที่อยู่ระหว่าง ถนนเวสต์ โฟตี เซเคอนด์ สตรีท กับ ถนนเวสต์ โฟตี เซเวนท์ สตรีท ซึ่งไทม์สแควร์ทอดตัวยาวอยู่บนพื้นที่ในบล็อกระหว่างถนนซิกท์ เอเวนิว กับ ถนนเอกท์ เอเวนิว ในความยาวแนวตะวันออก - ตะวันตก และอยู่บนพื้นที่ระหว่างถนนเวสต์ โฟตีท์ สตรีท กับ ถนนเวสต์ ฟิฟท์ตี เทิร์ด สตรีท ในแนวเหนือ - ใต้ โดยไทมสแควร์เองได้กลายเป็นจุดสำคัญจุดหนึ่งบนฝั่งตะวันตกของย่านธุรกิจการค้าในเขตมิดทาวน์ แมนฮัตตัน เดิมทีในอดีตไทม์สแควร์มีชื่อว่า ลองแกร์ สแควร์ โดยภายหลังได้เปลี่ยนชื่อเป็น ไทม์สแควร์ ภายหลังจากที่ได้มีการก่อสร้างตึกไทม์ (ปัจจุบัน:ตึกวันไทม์สแควร์) แล้วเสร็จ ซึ่งเป็นที่ตั้งสำนักงานใหญ่ของหนังสือพิมพ์ เดอะนิวยอร์กไทมส์ ในเดือนเมษายน ค.ศ. 1904 ไทม์สแควร์ได้กลายสถานะเป็นสถานที่ที่สำคัญของโลกและได้กลายเป็นสัญลักษณ์ของนครนิวยอร์ก ซึ่งเป็นผลมาจากที่ไทม์สแควร์เป็นสถานที่ที่ดูทันสมัย ล้ำยุค เพราะมีจอโฆษณาขนาดใหญ่มากมายติดอยู่ตามบริเวณโดยรอบ นอกจากนี้ไทม์สแควร์ ยังเป็นจุดปลายสุดทางฝั่งตะวันออกของ ลินคอล์น ไฮเวย์ หรือ ทางหลวงลินคอล์น อันเป็นทางหลวงสายแรกที่ตัดผ่านสหรัฐอเมริกา บริเวณโดยรอ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และไทม์สแควร์ · ดูเพิ่มเติม »

ไตรภูมิพระร่วง

ปกหนังสือเก่าที่พิมพ์แจกในงานพระเมรุ เมื่อ พ.ศ. 2456 ไตรภูมิพระร่วง มีหลายชื่อเรียกได้แก่ "ไตรภูมิพระร่วง" "เตภูมิกถา" "ไตรภูมิกถา" "ไตรภูมิโลกวินิจฉัย" และ "เตภูมิโลกวินิจฉัย" เป็นวรรณกรรมศาสนาพุทธที่แต่งในสมัยสุโขทัยประมาณ..

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และไตรภูมิพระร่วง · ดูเพิ่มเติม »

เบิร์ต แลนแคสเตอร์

เบอร์ตัน สตีเฟน "เบิร์ต" แลนแคสเตอร์ (Burton Stephen "Burt" Lancaster) (2 พฤศจิกายน ค.ศ. 1913 - 20 ตุลาคม ค.ศ. 1994) เป็นนักแสดงภาพยนตร์ชาวอเมริกัน ที่มีรูปร่างหุ่นนักกีฬา รอยยิ้มอันโดดเด่น (ที่เขาเรียกว่า ยิ้มยิงฟัน) และต่อมาเขาหันมาเล่นบทบาทคนร้ายที่ขัดต่อภาพพจน์ที่ผ่านมา โดยเฉพาะอย่างยิ่ง "Mr Muscles and Teeth" ต่อมาเขาละทิ้งจากภาพลักษณ์อเมริกัน และค่อย ๆ ได้รับการนับถือในฐานะหนึ่งในนักแสดงที่ยอดเยี่ยมที่สุดในรุ่นของเขา แลนแคสเตอร์ได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลออสการ์ 4 ครั้ง ได้รับรางวัล 1 ครั้งจากผลงานเรื่อง Elmer Gantry ในปี 1960 เขายังได้รับรางวัลลูกโลกทองคำและรางวัลบาฟต้าจากการแสดงในเรื่อง The Birdman of Alcatraz (1962) และ Atlantic City (1980) หมวดหมู่:นักแสดงอเมริกัน หมวดหมู่:นักแสดงนำชายยอดเยี่ยม รางวัลออสการ์ หมวดหมู่:บุคคลจากนครนิวยอร์ก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และเบิร์ต แลนแคสเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เกรียงไกร อัตตะนันทน์

อมพลเกรียงไกร อัตตะนันทน์ อดีตผู้บังคับกองพันทหารอาสาสมัครของไทยชุดแรกในสงครามเกาหลี อดีตผู้บังคับการกรมทหารราบที่ 1 มหาดเล็กรักษาพระองค์ อดีตผู้บัญชาการกองพลที่ 1 รักษาพระองค์ และอดีตแม่ทัพภาคที่ 1 ท่านเป็นนายทหารที่ได้รับพระราชทานยศจอมพลเป็นคนสุดท้ายของกองทัพไทย ก่อนที่จะมีการระงับการพระราชทานยศชั้นดังกล่าวในช่วงหลังเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และเกรียงไกร อัตตะนันทน์ · ดูเพิ่มเติม »

เกออร์กี ฟลิโอรอฟ

เกออร์กี นีโคลาเยวิช ฟลิโอรอฟ (Georgy Nikolayevich Flyorov; Гео́ргий Никола́евич Флёров; 2 มีนาคม ค.ศ. 1913 – 19 พฤศจิกายน ค.ศ. 1990) เป็นนักฟิสิกส์ชาวรัสเซีย/โซเวียต เกิดที่เมืองรอสตอฟ-นา-โดนู เรียนที่สถาบันสารพัดช่างเลนินกราด (ปัจจุบันคือมหาวิทยาลัยสารพัดช่างเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก) ในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และเกออร์กี ฟลิโอรอฟ · ดูเพิ่มเติม »

เภสัชกรรมไทย

ัชกรรมไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และเภสัชกรรมไทย · ดูเพิ่มเติม »

เมนาเฮม เบกิน

''(1978)'' เมนาเฮม เบกิน เมนาเฮม วูล์โฟวิช เบกิน (Menachem Wolfovich Begin - 16 สิงหาคม พ.ศ. 2456 - 9 มีนาคม พ.ศ. 2535) หัวหน้าองค์กรลับใต้ดิน "อิรกูน" ของลัทธิไซออนชาวโปแลนด์เชื้อสายยิว ผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ นายกรัฐมนตรีคนแรกของอิสราเอลที่สังกัดพรรคลิคุด (พ.ศ. 2520-2526).

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และเมนาเฮม เบกิน · ดูเพิ่มเติม »

เลขอะตอม

เลขอะตอม (atomic number) หมายถึงจำนวนโปรตอนในนิวเคลียสของธาตุนั้นๆ หรือหมายถึงจำนวนอิเล็กตรอนที่วิ่งวนรอบนิวเคลียสของอะตอมที่เป็นกลาง เช่น ไฮโดรเจน (H) มีเลขอะตอมเท่ากับ 1 เลขอะตอม เดิมใช้หมายถึงลำดับของธาตุในตารางธาตุ เมื่อ ดมิทรี อีวาโนวิช เมนเดลีเยฟ (Dmitry Ivanovich Mendeleev) ทำการจัดกลุ่มของธาตุตามคุณสมบัติร่วมทางเคมีนั้น เขาได้สังเกตเห็นว่าเมื่อเรียงตามเลขมวลนั้น จะเกิดความไม่ลงรอยกันของคุณสมบัติ เช่น ไอโอดีน (Iodine) และเทลลูเรียม (Tellurium) นั้น เมื่อเรียกตามเลขมวล จะดูเหมือนอยู่ผิดตำแหน่งกัน ซึ่งเมื่อสลับที่กันจะดูเหมาะสมกว่า ดังนั้นเมื่อเรียงธาตุในตารางธาตุตามเลขอะตอม ตารางจะเรียงตามคุณสมบัติทางเคมีของธาตุ เลขอะตอมนี้ถึงแม้โดยประมาณ แล้วจะแปรผันตรงกับมวลของอะตอม แต่ในรายละเอียดแล้วเลขอะตอมนี้จะสะท้อนถึงคุณสมบัติของธาตุ เฮนรี โมสลีย์ (Henry Moseley) ได้ค้นพบความสัมพันธ์ระหว่างการกระเจิงของ สเปกตรัมของรังสีเอ็กซ์ (x-ray) ของธาตุ และตำแหน่งที่ถูกต้องบนตารางธาตุ ในปี ค.ศ. 1913 ซึ่งต่อมาได้ถูกอธิบายด้วยเลขอะตอม ซึ่งอธิบายถึงปริมาณประจุในนิวเคลียส หรือ จำนวนโปรตอนนั่นเอง ซึ่งจำนวนของโปรตอนนี้เป็นตัวกำหนดคุณสมบัติทางเคมีของธาตุ หมวดหมู่:อะตอม ลเขอะตอม ลเขอะตอม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และเลขอะตอม · ดูเพิ่มเติม »

เลขา อภัยวงศ์

ณหญิงเลขา อภัยวงศ์ (นามเดิม: เจน เล็ก คุณะดิลก; 10 ธันวาคม พ.ศ. 2456 - พ.ศ. 2526) เป็นนักการเมือง และนักธุรกิจชาวไทย เป็นภริยาของควง อภัยวงศ์ นายกรัฐมนตรีไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และเลขา อภัยวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเวลาของคณิตศาสตร์

้นเวลาของคณิตศาสตร์บริสุทธิ์และคณิตศาสตร์ประยุกต์ (timeline of mathematics).

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และเส้นเวลาของคณิตศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

เอเชียนเกมส์

อเชียนเกมส์ (Asian Games; ชื่อย่อ: Asiad) เป็นการแข่งขันกีฬาหลากชนิด ระหว่างประเทศในทวีปเอเชีย ซึ่งมีการจัดขึ้นในทุกสี่ปี เริ่มกำหนดการแข่งขันโดย สหพันธ์เอเชียนเกมส์ (The Asian Games Federation; AGF) ตั้งแต่การแข่งขันครั้งแรกถึงครั้งที่ 8 และตั้งแต่เอเชียนเกมส์ครั้งที่ 9 เป็นต้นมา บริหารจัดการแข่งขันโดย สภาโอลิมปิกแห่งเอเชีย (Olympic Council of Asia; OCA) ภายใต้การรับรองโดย คณะกรรมการโอลิมปิกสากล (International Olympic Committee; IOC) และยังถือได้ว่าเป็นการแข่งขันกีฬาหลากชนิด ซึ่งมีขนาดใหญ่เป็นอันดับสองรองจากกีฬาโอลิมปิกด้วย ในประวัติศาสตร์ของเอเชียนเกมส์ มีชาติเจ้าภาพจัดการแข่งขันแล้ว 9 ประเทศ โดยมี 46 ประเทศเข้าร่วม ยกเว้นอิสราเอลซึ่งถูกกีดกันออกจากเอเชียนเกมส์ หลังจากที่เข้าร่วมเป็นคราวสุดท้ายใน เอเชียนเกมส์ ครั้งที่ 7 ที่ประเทศอิหร่าน สำหรับเอเชียนเกมส์ครั้งหลังสุดได้จัดขึ้นที่นครอินช็อนของเกาหลีใต้ระหว่างวันที่ 19 กันยายน-4 ตุลาคม พ.ศ. 2557 (ค.ศ. 2014) และการแข่งขันครั้งต่อไป จะจัดขึ้นที่กรุงจาการ์ตาของอินโดนีเซีย ในปี พ.ศ. 2561 (ค.ศ. 2018).

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และเอเชียนเกมส์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ. อาร์. อาร์. โทลคีน

. อาร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และเจ. อาร์. อาร์. โทลคีน · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายอัลเฟรด ดยุกแห่งซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา

้าชายอัลเฟรด ดยุกแห่งซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา(พระนามเต็ม อัลเฟรด เออร์เนส อัลเบิร์ต ประสูติ 6 สิงหาคม พ.ศ. 2387 สิ้นพระชนม์ 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2443) พระราชชนนีคือ สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย พระธิดาพระองค์เดียวในเจ้าชายเอ็ดเวิร์ด ดยุกแห่งเคนต์และสแตรเธิร์น และ เจ้าหญิงวิกตอเรียแห่งซัคเซิน-โคบูร์ก-ซาลเฟลด์ พระราชชนกคือ เจ้าชายอัลเบิร์ตแห่งซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา พระโอรสในเออร์เนสที่ 1 ดยุกแห่งซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา และ เจ้าหญิงหลุยส์ แห่งซัคเซิน-โกทา-อัลเทนเบิร์ก ทรงเป็น ดยุกแห่งเอดินบะระ มาตั้งแต่พ.ศ. 2409 และเป็น ดยุกแห่งซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา เมื่อพ.ศ. 2436.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และเจ้าชายอัลเฟรด ดยุกแห่งซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายเมอร์เซียแห่งโรมาเนีย

้าชายเมอร์เซียแห่งโรมาเนีย(3 มกราคม พ.ศ. 2456 - 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2459) เจ้าชายเมอร์เซียเป็นพระโอรสองค์ที่สามและบุตรองค์เล็กของเจ้าหญิงมารีแห่งเอดินบะระ กับ สมเด็จพระราชาธิบดีเฟอร์ดินานด์ที่ 1 แห่งโรมาเนีย เจ้าชายเมอร์เซียทรงสิ้นพระชนม์ด้วยโรคไข้รากสาดน้อย ในฤดูใบไม้ร่วงปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และเจ้าชายเมอร์เซียแห่งโรมาเนีย · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าบุษบง ณ ลำปาง

้าบุษบง ณ ลำปาง (พ.ศ. 2456 - พ.ศ. 2546) ราชธิดาองค์สุดท้ายในเจ้าบุญวาทย์วงศ์มานิต เจ้าผู้ครองนครลำปาง องค์ที่ 13 กับหม่อมเล็ก เป็นเจ้านายชั้นราชธิดาในเจ้าผู้ครองนครผู้มีอายุยืนนานที่สุด และพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ทรงพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้าฯ รับพระศพไว้ในพระบรมราชานุเคราะห์ พร้อมพระราชทานหีบทองราชนิกูลลายก้านแย่ง ชั้น "หม่อมเจ้า".

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และเจ้าบุษบง ณ ลำปาง · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยาบดินทรเดชานุชิต (หม่อมราชวงศ์อรุณ ฉัตรกุล)

อมพล เจ้าพระยาบดินทรเดชานุชิต (หม่อมราชวงศ์อรุณ ฉัตรกุล) (14 เมษายน พ.ศ. 2399 - 25 สิงหาคม พ.ศ. 2464) ผู้บัญชาการกรมยุทธนาธิการ ระหว่างวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2457 - 25 สิงหาคม พ.ศ. 2464 เป็นพระโอรสในหม่อมเจ้านิล ฉัตรกุล (พระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าฉัตร กรมหมื่นสุรินทรรักษ์) กับหม่อมราชวงศ์ สุ่น ปาลกะวงศ์ (นัดดาในพระสัมพันธวงศ์เธอ พระองค์เจ้าปาน กรมหมื่นนราเทเวศร์).

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และเจ้าพระยาบดินทรเดชานุชิต (หม่อมราชวงศ์อรุณ ฉัตรกุล) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยาพระเสด็จสุเรนทราธิบดี (หม่อมราชวงศ์เปีย มาลากุล)

ลาพระเสด็จสุเรนทราธิบดี ภายในโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2468 เพื่อเป็นอนุสรณ์แด่เจ้าพระยาพระเสด็จสุเรนทราธิบดี โรงเรียนมัธยมวัดเบญจมบพิตร เจ้าพระยาพระเสด็จสุเรนทราธิบดีจัดทำหลักสูตรการสอน ตามพระราชดำริพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มหาอำมาตย์เอก เจ้าพระยาพระเสด็จสุเรนทราธิบดี นามเดิม หม่อมราชวงศ์เปีย มาลากุล (16 เมษายน พ.ศ. 2410 - 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2459) อดีตเสนาบดีกระทรวงธรรมการ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และเจ้าพระยาพระเสด็จสุเรนทราธิบดี (หม่อมราชวงศ์เปีย มาลากุล) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยาภาณุวงศ์มหาโกษาธิบดี (ท้วม บุนนาค)

้าพระยาภาณุวงศ์มหาโกษาธิบดี (ท้วม บุนนาค) เกิดเมื่อปี พ.ศ. 2373 ในสมัยรัชกาลที่ 3 เป็นบุตรสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาประยูรวงศ์ (ดิศ) กับหม่อมพึ่ง ธิดาเจ้าพระยาพลเทพ (บุญนาก บ้านแม่ลา) เข้ารับราชการในรัชกาลที่ 4 เป็นนายไชยขรรค์ หุ้มแพรมหาดเล็ก แล้วเป็นจมื่นทิพรักษา และจมื่นราชามาตย์ ปลัดกรมพระตำรวจในซ้าย ตามลำดับ จนในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และเจ้าพระยาภาณุวงศ์มหาโกษาธิบดี (ท้วม บุนนาค) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา)

มหาอำมาตย์เอก เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา) (30 ตุลาคม พ.ศ. 2428 - 25 กันยายน พ.ศ. 2519) ป.., ม.ป.., ม.ว.ม., ร..ม. (ศ.) ขุนนาง 5 แผ่นดิน อดีตประธานศาลฎีกา เสนาบดีกระทรวงยุติธรรม และรัฐมนตรีหลายกระทรวง เคยดำรงตำแหน่ง ประธานรัฐสภา และประธานสภาผู้แทนราษฎร ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่งองคมนตรี ประธานองคมนตรี และเป็นคนสุดท้ายที่ได้รับสถาปนาเป็นเจ้าพระยา ภายหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ มีบทบาทในคณะรัฐมนตรีหลายคณะ โดยดำรงตำแหน่งเป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม กระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงสาธารณสุข และ กระทรวงการคลัง ภายหลังพ้นภารกิจทางการเมืองแล้ว ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่งองคมนตรี และเคยดำรงตำแหน่ง ประธานองคมนตรี ในรัชกาลที่ 9 นอกจากได้รับราชการและทำงานด้านการเมือง เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศยังมีความสำคัญกับวงการประกันชีวิตของไทย โดยเมื่อ ปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และเจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงวิกตอเรีย พระราชกุมารี

้าหญิงวิกตอเรีย พระวรราชกุมารี หรือพระนามเต็ม วิกตอเรีย อเดเลด แมรี หลุยซา (ประสูติ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2383 สวรรคต 5 สิงหาคม พ.ศ. 2444) พระราชธิดาพระองค์แรกในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย และเจ้าฟ้าชายอัลเบิร์ต แห่งแซ็กซ์-โคบูร์กและก็อตธา เป็นพระเชษฐภคินีในสมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และเจ้าหญิงวิกตอเรีย พระราชกุมารี · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงอเล็กซานดรา ดัชเชสที่ 2 แห่งไฟฟ์

้าหญิงอเล็กซานดรา ดัชเชสที่ 2 แห่งไฟฟ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และเจ้าหญิงอเล็กซานดรา ดัชเชสที่ 2 แห่งไฟฟ์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงอเล็กซานดราแห่งซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา

้าหญิงอเล็กซานดราแห่งเอดินบะระและซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา หรือ อเล็กซานดรา หลุยส์ โอลกา วิกตอเรีย (HRH Princess Alexandra of Edinburgh and Saxe-Coburg and Gotha; 1 กันยายน พ.ศ. 2421 - 16 เมษายน พ.ศ. 2485) ทรงเป็นสมาชิกพระองค์หนึ่งในพระราชวงศ์อังกฤษ โดยเป็นพระราชนัดดาองค์หนึ่งในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และเจ้าหญิงอเล็กซานดราแห่งซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงแคทเธอรีนแห่งกรีซและเดนมาร์ก

้าหญิงแคทเธอรีนแห่งกรีซและเดนมาร์ก (Princess Katherine of Greece and Denmark) หรือว่า เลดี้ แคทเธอรีน แบรนด์แรม (Lady Katherine Brandram; 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2456 - 2 ตุลาคม พ.ศ. 2550) เป็นพระราชธิดาพระองค์ที่สามและองค์เล็กในสมเด็จพระราชาธิบดีคอนสแตนตินที่ 1 แห่งกรีซ (พ.ศ. 2411 - พ.ศ. 2466) และ เจ้าหญิงโซฟีแห่งปรัสเซีย (พ.ศ. 2413 - พ.ศ. 2475) และเป็นพระราชปนัดดาหญิงซึ่งทรงพระชนม์ชีพอยู่พระองค์สุดท้ายในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร (โดยพระราชปนัดดาชายพระองค์สุดท้ายที่ยังทรงพระชนม์ชีพอยู่ขณะนี้คือ เค้านท์ คาร์ล โยฮัน เบอร์นาด็อต (พระชนมายุ 91 ชันษา).

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และเจ้าหญิงแคทเธอรีนแห่งกรีซและเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงโซเฟียแห่งปรัสเซีย

้าหญิงโซเฟียแห่งปรัสเซีย (Princess Sophia of Prussia) (โซเฟีย โดโรเธีย อุลริเคอ อลิซ; 14 มิถุนายน พ.ศ. 2413 - 13 มกราคม พ.ศ. 2475) ทรงเป็นสมเด็จพระราชินีแห่งกรีซ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และเจ้าหญิงโซเฟียแห่งปรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงไอรีนแห่งเฮ็สเซินและไรน์

้าหญิงไอรีนแห่งเฮ็สเซินและไรน์ เจ้าหญิงไอรีนแห่งเฮ็สเซินและไรน์ (Princess Irene of Hesse and by Rhine พระนามเต็ม ไอรีน หลุยส์ มาเรีย แอนนา; ประสูติ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2409 สิ้นพระชนม์ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2496) เป็นพระธิดาในลำดับที่สามของเจ้าหญิงอลิซแห่งสหราชอาณาจักรและแกรนด์ดยุคลุดวิจที่ 4 แห่งเฮ็สเซินและไรน์ และมีพระอัยกาและอัยยิกาฝ่ายพระชนนีคือ สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย และ เจ้าชายอัลเบิร์ตแห่งซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา ส่วนพระอัยกาและอัยยิกาฝ่ายพระชนกคือ เจ้าชายคาร์ลแห่งเฮ็สเซินและไรน์ และ เจ้าหญิงเอลิซาเบธแห่งปรัสเซีย พระองค์เป็นพระชายาในเจ้าชายไฮน์ริชแห่งปรัสเซีย พระญาติชั้นที่หนึ่ง และนอกจากนี้ก็ทรงเป็นพาหะของโรคเฮโมฟีเลียเช่นเดียวกับพระกนิษฐาคือ เจ้าหญิงอลิกซ์ โดยพระโอรสสองในสามพระองค์ประชวรเป็นโรคเฮโมฟีเลียด้วย เจ้าหญิงอลิกซ์ พระขนิษฐาทรงเป็นสมเด็จพระจักรพรรดินีแห่งรัสเซีย โดยทรงเปลี่ยนมาใช้พระนามใหม่ว่า อเล็กซานดรา เฟโอโดรอฟนา พระอัครมเหสีในสมเด็จพระจักรพรรดินิโคลาสที่ 2 แห่งรัสเซีย และเจ้าชายแอนสท์ ลุดวิจ พระอนุชาทรงเป็นแกรนด์ดยุคครองรัฐแห่งเฮ็สเซินและไรน์ ส่วนเจ้าหญิงวิกตอเรีย พระภคินีองค์โตได้อภิเษกสมรสกับ เจ้าชายหลุยส์แห่งบัทเทนแบร์ก ซึ่งต่อมาทั้งสองทรงเป็นมาร์ควิสและมาร์ชเนสแห่งมิลฟอร์ดฮาเว็น และเจ้าหญิงเอลิซาเบธ พระภคินีอีกพระองค์หนึ่ง (ซึ่งต่อมาทรงได้รับการยกย่องจากศาสนจักรออร์โธด็อกซ์รัสเซียให้เป็นนักบุญเอลิซาเบธ ผู้เสียสละ) อภิเษกสมรสกับ แกรนด์ดยุคเซอร์เกย์ อเล็กซานโดรวิชแห่งรัสเซี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และเจ้าหญิงไอรีนแห่งเฮ็สเซินและไรน์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงเบียทริซแห่งซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา

้าหญิงเบียทริซแห่งเอดินเบอระและแซ็กซ์-โคบูร์กและก็อตธา เจ้าหญิงเบียทริซแห่งเอดินเบอระและแซ็กซ์-โคบูร์กและก็อตธา หรือ เบียทริซ เลโอโพลดีน วิกตอเรีย (20 เมษายน พ.ศ. 2427 - 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2509) ทรงเป็นสมาชิกพระองค์หนึ่งในพระราชวงศ์อังกฤษ โดยเป็นพระราชนัดดาในสมเด็จพระบรมราชินีนาถวิกตอเรีย และต่อมาได้อภิเษกสมรสไปสู่พระราชวงศ์สเปน และเป็นพระชายาในเจ้าชายอัลฟองโซแห่งออร์เลอ็อง-บอร์บอน เจ้าชายแห่งสเปน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และเจ้าหญิงเบียทริซแห่งซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าอุตรการโกศล (ศุขเกษม ณ เชียงใหม่)

ร้อยตรี เจ้าอุตรการโกศล (ศุขเกษม ณ เชียงใหม่) หรือ เจ้าน้อยศุขเกษม (250px) (พ.ศ. 2420-พ.ศ. 2453) ราชโอรสองค์ใหญ่ใน พลตรีเจ้าแก้วนวรัฐ สมรสกับ เจ้าบัวชุม ณ เชียงใหม่ พระญาติในราชวงศ์ทิพย์จักร ดำรงฐานันดรศักดิ์เป็น "เจ้าอุตรการโกศล" ถือศักดินา 1,600 เจ้าน้อยศุขเกษม ถูกกล่าวถึงในบทเพลง มะเมี้ยะ ของ จรัล มโนเพ็ชร ซึ่งกล่าวถึงตำนานรักต้องห้ามระหว่าง เจ้าชายเมืองเหนือ กับ มะเมียะ สาวชาวพม่า แห่ง เมืองมะละแหม่ง ที่จบลงด้วยความเศร้.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และเจ้าอุตรการโกศล (ศุขเกษม ณ เชียงใหม่) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าผู้ครองนครพะเยา (ยุคฟื้นฟู)

้าผู้ครองนครพะเยา (ยุคฟื้นฟู) (พ.ศ. 2387 - พ.ศ. 2456) เป็นตำแหน่งที่เกิดขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยเจ้าหลวงน้อยอินทร์, เจ้าผู้ครองนครลำปาง องค์ที่ ๘ กับ พระเจ้ามโหตรประเทศ, พระเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ ๕ ขณะดำรงพระยศ เจ้าอุปราชนครเชียงใหม่ ได้ทูลขอตั้งเมืองเชียงรายโดยให้เป็นเมืองขึ้นของเชียงใหม่ และตั้งเมืองงาว เมืองพะเยา เป็นเมืองขึ้นของนครลำปาง ด้วยเหตุนี้ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งให้เจ้าหลวงวงศ์เป็น "พระยาประเทศอุดรทิศ" ผู้ครองเมืองพะเยา ตั้งแต่นั้นมา จนถึงรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์ทรงเปลี่ยนอำนาจการบริหารปกครองประเทศใหม่โดยยกเลิกมณฑลเปลี่ยนมาเป็นจังหวัด อำเภอ ตำบล หมู่บ้าน ตำแหน่งเจ้าผู้ครองเมืองจึงได้ยกเลิกไป พระยาประเทศอุดรทิศเจ้าเมืองพะเยาองค์สุดท้ายได้กราบบังคมทูลลาออกจากตำแหน่ง ทางการจึงตั้งนายคลาย บุษยบรรณ มาเป็นนายอำเภอเมืองพะเยา จังหวัดเชียงร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และเจ้าผู้ครองนครพะเยา (ยุคฟื้นฟู) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจอมมารดาเที่ยง ในรัชกาลที่ 4

้าจอมมารดาเที่ยง ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (พ.ศ. 2374 - พ.ศ. 2456) เป็นเจ้าจอมมารดาของ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมาวดี ศรีรัตนราชธิดา กรมหลวงสมรรัตนสิริเชษฐ์ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากมลาสเลอสรรค์ กรมหมื่นราชศักดิ์สโมสร และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าไชยานุชิต กรมหมื่นพงศาดิศรมหิป เจ้าจอมมารดาเที่ยง เกิดเมื่อ..

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และเจ้าจอมมารดาเที่ยง ในรัชกาลที่ 4 · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจักรคำขจรศักดิ์

ลตรี มหาอำมาตย์โท เจ้าจักรคำขจรศักดิ์ (120px) เป็นเจ้าผู้ครองนครลำพูน องค์ที่ 10 แห่งราชวงศ์ทิพย์จักร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และเจ้าจักรคำขจรศักดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าไชยสุริวงศ์ ณ เชียงใหม่

้าไชยสุริวงศ์ ณ เชียงใหม่ (170px) (4 มกราคม พ.ศ. 2456 - 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2547) เกิดในสายตระกูลเจ้าเจ็ดตน ซึ่งมีพระยาสุลวฦาชัยสงคราม หรือเจ้าหนานทิพย์ช้าง ผู้เป็นบรรพบุรุษของเจ้าชาย 7 องค์ ที่เป็นต้นสกุลสำคัญฝ่ายเหนือ อันได้แก่ ณ เชียงใหม่ ณ ลำพูน ณ ลำปาง สิโรรส ธนันชยานนท์ และลังกาพินธุ์ โดยท่านอยู่ในสายตรงของเจ้านครเชียงใหม่ องค์ที่ 2 คือ พระเจ้าช้างเผือกธรรมลังก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และเจ้าไชยสุริวงศ์ ณ เชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าเครือแก้ว ณ เชียงใหม่

้าเครือแก้ว ณ เชียงใหม่ (5 มกราคม พ.ศ. 2456 - 21 ธันวาคม พ.ศ. 2546) ศิลปินแห่งชาติสาขาศิลปะการแสดง (คีตศิลป์พื้นเมืองล้านนา) ประจำปีพุทธศักราช 2541.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และเจ้าเครือแก้ว ณ เชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลนครนครศรีธรรมราช

นครศรีธรรมราช เป็นเทศบาลนครที่ตั้งอยู่ในเขตอำเภอเมืองนครศรีธรรมราช จังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นเมืองที่เจริญเติบโตมายาวนาน และได้รับการจัดตั้งเป็นเทศบาลนครแห่งแรกของภาคใต้ เทศบาลนครนครศรีธรรมราชได้รับการยกฐานะเมื่อปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และเทศบาลนครนครศรีธรรมราช · ดูเพิ่มเติม »

เขื่อนเจ้าพระยา

ื่อนเจ้าพระยา เป็นเขื่อนทดน้ำขนาดใหญ่ที่สร้างขึ้นเป็นแห่งแรกของประเทศไทย ตั้งอยู่ที่บริเวณคุ้งบางกระเบียน หมู่ที่ 4 ตำบลบางหลวง อำเภอสรรพยา จังหวัดชัยนาท พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ได้เสด็จพระราชดำเนินเป็นองค์ประธานเปิดเขื่อนเจ้าพระยาเมื่อวันที่ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 เขื่อนเจ้าพระยามีลักษณะเป็นเขื่อนคอนกรีตเสริมเหล็ก ยาว 237.50 เมตร สูง 16.5 เมตร ติดตั้งบานประตูเหล็กรูปโค้งสูง 7.50 เมตร มีช่องระบายให้น้ำไหลผ่านขนาดกว้าง 12.50 เมตร จำนวน 16 ช่อง ประตูน้ำสำหรับเรือสัญจรติดกับเขื่อนด้านขวากว้าง 14 เมตร ยาว 170.50 เมตร เรือขนาดใหญ่สามารถผ่านเข้าออกได้ บนสันเขื่อนมีสะพานกว้าง 7 เมตร รับรถน้ำหนักบรรทุกไม่เกิน 20 ตัน และมีทางระบายน้ำล้นฉุกเฉินสร้างบนคันกั้นน้ำซ้ายมือเหนือเขื่อนเจ้าพระยา กว้าง 10 เมตร ยาว 1,000 เมตร เพื่อช่วยระบายน้ำเมื่อเกิดอุทกภัย อัตราการระบายน้ำผ่านเขื่อนสูงสุดประมาณ 3,300 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที แต่การปล่อยน้ำจะควบคุมให้อยู่ในระดับไม่เกิน 2,500 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที เพื่อมิให้กระทบต่อพื้นที่ลุ่มต่ำริมแม่น้ำเจ้าพระยา ทัศนียภาพรอบเขื่อนสวยงาม ช่วงเดือนมกราคมในบริเวณแม่น้ำเหนือเขื่อนจะมีฝูงนกเป็ดน้ำนับหมื่นมาอาศัยหากิน เขื่อนนี้ใช้ประโยชน์ด้านการชลประทาน การทดน้ำเพื่อการเกษตร โดยระบายน้ำจากแม่น้ำในภาคเหนือสู่ภาคกลางและอ่าวไทย ส่งน้ำไปในพื้นที่เพาะปลูกภาคกลางเข้าคลองส่งน้ำสายใหญ่รวม 5 สาย คือ แม่น้ำน้อย แม่น้ำท่าจีน คลองมะขามเฒ่า-อู่ทอง คลองชัยนาท-ป่าสัก และคลองชัยนาท-อยุธยา และยังใช้ผลิตไฟฟ้าสำหรับจ่ายในจังหวั.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และเขื่อนเจ้าพระยา · ดูเพิ่มเติม »

เขี้ยวนรกดับตะวัน

ี้ยวนรกดับตะวัน (From Dusk Till Dawn 3: The Hangman's Daughter) เป็นภาพยนตร์แอคชั่นสัญชาติอเมริกา สร้างขึ้นเมื่อปี ค.ศ. 2000 กำกับโดย สก๊อตต์ สปิเกล นำแสดงโดย โรเบิร์ต แพทริค, โบ ฮอบกินส์ ภาพยนตร์เรื่องนี้เป็นภาพยนตร์ภาคสาม และเป็นภาคสุดท้ายของภาพยนตร์ไตรภาคฟรอมดัสค์ทิวดอว์น ต่อจาก ผ่านรกทะลุตะวัน และ พันธุ์นรกผ่าตะวัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และเขี้ยวนรกดับตะวัน · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นโบราณมงคลนพรัตนราชวราภรณ์

รื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นโบราณมงคลนพรัตนราชวราภรณ์ มีอักษรย่อว่า น.ร. เป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่มีความเป็นมาสืบแต่ครั้งกรุงศรีอยุธยา ต่อมา พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างดารานพรัตนขึ้นสำหรับใช้ประดับที่เสื้อ ซึ่งทรงเรียกว่า "เครื่องประดับสำหรับยศ" นอกจากนี้ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้สร้างแหวนนพรัตนสำหรับพระราชทานแก่พระราชวงศ์ฝ่ายหน้า และฝ่ายใน ตลอดจนข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ซึ่งเป็นพุทธมามกะ ต่อมา ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้สร้างดวงตรามหานพรัตน สำหรับห้อยสายสะพายขึ้นเป็นครั้งแรกของเครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย เครื่องราชอิสริยาภรณ์ตระกูลนี้ มีเฉพาะชั้นสายสะพายชั้นเดียว ทั้งนี้ ผู้รับพระราชทานต้องเป็นพุทธมามกะ และจะประดับเครื่องราชอิสริยาภรณ์นี้ในงานมงคล หรืองานที่มีหมายกำหนดการระบุไว้เท่านั้นราชกิจจานุเบกษา,, เล่ม ๑๑๕, ตอนพิเศษ ๑๑๘ ง เล่มที่ ๒, ๔ ธันวาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นโบราณมงคลนพรัตนราชวราภรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

เงาะป่า (วรรณคดี)

งาะป่า เป็นวรรณคดีไทย ประเภท บทละครร้อยกรอง พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ทรงพระราชนิพนธ์ขึ้นในระหว่างการพักฟื้นหลังทรงพระประชวร โดยใช้เวลาเพียง 8 วันเท่านั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และเงาะป่า (วรรณคดี) · ดูเพิ่มเติม »

เต่าเหลือง

ต่าเหลือง หรือ เต่าเทียน หรือ เต่าแขนง หรือ เต่าขี้ผึ้ง (Elongated tortoise) เป็นเต่าบกชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Indotestudo elongata จัดเป็นเต่าบกขนาดกลาง เมื่อโตเต็มที่มีน้ำหนักประมาณ 2 กิโลกรัม กระดองโค้งสูงพอสมควร ทั่วตัวมีสีขาวหรือเหลืองเป็นส่วนใหญ่ มีแต้มสีดำบ้างประปราย ขอบกระดองของบางตัวมีสีเหลืองใสดูคล้ายขี้ผึ้งหรือเทียน จึงเป็นที่มาของชื่อ ในบางตัวเมื่อโตเต็มที่อาจมีสีน้ำตาลแก่ปน ขามีสีเทาดำ ขาหน้ามีเกล็ดใหญ่ ๆ อยู่ด้านบน ขาหลังสั้นทู่ ขาหน้าและขาหลังไม่มีพังผืดระหว่างนิ้ว แต่มีนิ้วแข็งแรงมาก ตัวผู้มีเกล็ดกระดองเว้าและลึก ขณะที่ตัวเมียราบเรียบกว่า พบกระจายพันธุ์อยู่ทั่วไปในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และบางส่วนในเอเชียใต้ ในประเทศไทยพบได้ทุกภาค กินพืชและผลไม้เป็นอาหารหลัก แต่ก็สามารถกินเนื้อ เช่น ซากสัตว์หรือหอยได้ด้วย เป็นเต่าที่ชอบความชื้น แต่ไม่ชอบที่จะแช่น้ำ พบได้ในป่าแทบทุกสภาพ แม้กระทั่งในสวนยางพาราหรือสวนปาล์มน้ำมัน วางไข่ครั้งละ 2-4 ฟอง โดยมีฤดูผสมพันธุ์ระหว่างเดือนกันยายน-ตุลาคม จากนั้นในเดือนธันวาคมจึงจะวางไข่ โดยจะขุดหลุมลึกประมาณครึ่งตัว ใช้เวลาฟักประมาณ 146 วัน ลูกเต่าที่เกิดมาใหม่กระดองจะมีความนิ่ม จะแข็งเมื่ออายุได้ราวหนึ่งปี เต่าชนิดนี้ ในประเทศไทย สามารถพบเห็นได้ง่าย คือ ที่หมู่บ้านบ้านกอก อำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น ห่างจากตัวอำเภอเมืองราว 50 กิโลเมตร โดยจะพบเต่าเหลืองอาศัยและเดินไปเดินมาทั่วไปในหมู่บ้าน โดยที่ชาวบ้านไม่ทำอันตรายหรือนำไปรับประทาน เต่าจึงอาศัยอยู่ร่วมกับมนุษย์ได้เป็นอย่างดี ซึ่งชาวบ้านที่นี่เชื่อว่าเต่าเหลืองเป็นเต่าเจ้า เป็นสัตว์ศักดิ์สิทธิ์ และเรียกชื่อเต่าชนิดนี้เป็นภาษาถิ่นว่า "เต่าเพ็ก" จนได้รับชื่อเรียกว่าเป็น "หมู่บ้านเต่า" เต่าเหลือง มีสถานะเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535 และนิยมเลี้ยงกันเป็นสัตว์เลี้ยง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และเต่าเหลือง · ดูเพิ่มเติม »

เฉิด สุดารา

ฉิด สุดารา (14 ธันวาคม พ.ศ. 2456 - 10 กันยายน พ.ศ. 2558) หรือรู้จักกันในชื่อ "มาสเตอร์ เฉิด สุดารา" (ม.เฉิด สุดารา) เป็นอดีตครูโรงเรียนอัสสัมชัญ ผู้ริเริ่มการแปรอักษรขึ้นเป็นครั้งแรกในประเทศไทย ซึ่งใช้ครั้งแรก ในการแข่งขันฟุตบอลรุ่นกลางชิงชนะเลิศระหว่างทีมโรงเรียนอัสสัมชัญกับทีมโรงเรียนช่างก่อสร้างอุเทนถวาย ปี พ.ศ. 2485 จนต่อมาก็ได้มีการนำวิธีเชียร์นี้ไปใช้ ในการแข่งขันฟุตบอลประเพณี จตุรมิตรสามัคคี มาสเตอร์เฉิด สุดารา เข้าศึกษาที่โรงเรียนอัสสัมชัญตั้งแต่ชั้นมูลจนจบ ม.8 มีหมายเลขประจำตัว 6035 หลังจากจบไป ก็ได้เข้ามาสอนอยู่ในโรงเรียนอัสสัมชัญ ด้วยความที่เป็นครูโรงเรียนอัสสัมชัญในระยะเวลาอันยาวนาน บวกกับเป็นครูที่ได้ทำกิจกรรมร่วมกับนักเรียนอยู่บ่อย ๆ โดยเฉพาะด้านกีฬา ม.เฉิด เป็นโค้ชทีมบาสเกตบอลและทีมฟุตบอลของโรงเรียน จึงทำให้นักเรียนเก่าเป็นจำนวนมากรู้จักท่านดี จนเมื่อปี พ.ศ. 2508 ม.เฉิด ก็ได้ออกจากโรงเรียนอัสสัมชัญ และได้ก่อตั้งโรงเรียนสยามวิทยา ขึ้น โดยดำรงตำแหน่งผู้จัดการโรงเรียน ถึงอย่างไรก็ตามปัจจุบันโรงเรียนแห่งนี้ก็ได้ยุติการสอนลงแล้ว เมื่อการเชียร์แบบแปรอักษรได้เผยแพร่ออกไป ก็ได้ความนิยมมากขึ้น นอกเหนือจากโรงเรียนในเครือจตุรมิตร (โรงเรียนอัสสัมชัญ, โรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย, โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย และ โรงเรียนเทพศิรินทร์) แล้ว ก็ได้มีการเผยแพร่ไปสู่ งานฟุตบอลประเพณีจุฬาฯ-ธรรมศาสตร์ ซึ่งนำมาปรับใช้โดย ร.ดร.สุรพล สุดารา บุตรชายของ ม.เฉิด สุดารา ซึ่งในขณะเป็นอาจารย์คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และยังมีอีกหลายงานฟุตบอล ที่นำระบบการเชียร์นี้เข้ามาใช้ ด้วยเหตุนี้เอง จึงมีการยกย่อง ม.เฉิด สุดารา ให้เป็น "บิดาแห่งการแปรอักษร".

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และเฉิด สุดารา · ดูเพิ่มเติม »

1 มิถุนายน

วันที่ 1 มิถุนายน เป็นวันที่ 152 ของปี (วันที่ 153 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 213 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และ1 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

1 ตุลาคม

วันที่ 1 ตุลาคม เป็นวันที่ 274 ของปี (วันที่ 275 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 91 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และ1 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

1 เมษายน

วันที่ 1 เมษายน เป็นวันที่ 91 ของปี (วันที่ 92 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 274 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และ1 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

10 กรกฎาคม

วันที่ 10 กรกฎาคม เป็นวันที่ 191 ของปี (วันที่ 192 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 174 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และ10 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

10 สิงหาคม

วันที่ 10 สิงหาคม เป็นวันที่ 222 ของปี (วันที่ 223 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 143 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และ10 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

11 พฤษภาคม

วันที่ 11 พฤษภาคม เป็นวันที่ 131 ของปี (วันที่ 132 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 234 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และ11 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

11 ตุลาคม

วันที่ 11 ตุลาคม เป็นวันที่ 284 ของปี (วันที่ 285 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 81 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และ11 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

12 สิงหาคม

วันที่ 12 สิงหาคม เป็นวันที่ 224 ของปี (วันที่ 225 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 141 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และ12 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

13 พฤศจิกายน

วันที่ 13 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 317 ของปี (วันที่ 318 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 48 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และ13 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

14 กรกฎาคม

วันที่ 14 กรกฎาคม เป็นวันที่ 195 ของปี (วันที่ 196 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 170 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และ14 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

14 ธันวาคม

วันที่ 14 ธันวาคม เป็นวันที่ 348 ของปี (วันที่ 349 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 17 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และ14 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

18 มีนาคม

วันที่ 18 มีนาคม เป็นวันที่ 77 ของปี (วันที่ 78 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 288 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และ18 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

20 กันยายน

วันที่ 20 กันยายน เป็นวันที่ 263 ของปี (วันที่ 264 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 102 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และ20 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

20 มีนาคม

วันที่ 20 มีนาคม เป็นวันที่ 79 ของปี (วันที่ 80 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 286 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และ20 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

20 สิงหาคม

วันที่ 20 สิงหาคม เป็นวันที่ 232 ของปี (วันที่ 233 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 133 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และ20 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

21 ธันวาคม

วันที่ 21 ธันวาคม เป็นวันที่ 355 ของปี (วันที่ 356 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 10 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และ21 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

22 กุมภาพันธ์

วันที่ 22 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 53 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 312 วันในปีนั้น (313 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และ22 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

22 มีนาคม

วันที่ 22 มีนาคม เป็นวันที่ 81 ของปี (วันที่ 82 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 284 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และ22 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

22 เมษายน

วันที่ 22 เมษายน เป็นวันที่ 112 ของปี (วันที่ 113 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 253 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และ22 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

24 ตุลาคม

วันที่ 24 ตุลาคม เป็นวันที่ 297 ของปี (วันที่ 298 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 68 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และ24 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

26 พฤษภาคม

วันที่ 26 พฤษภาคม เป็นวันที่ 146 ของปี (วันที่ 147 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 219 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และ26 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

26 มิถุนายน

วันที่ 26 มิถุนายน เป็นวันที่ 177 ของปี (วันที่ 178 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 188 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และ26 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

26 เมษายน

วันที่ 26 เมษายน เป็นวันที่ 116 ของปี (วันที่ 117 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 249 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และ26 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

27 กรกฎาคม

วันที่ 27 กรกฎาคม เป็นวันที่ 208 ของปี (วันที่ 209 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 157 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และ27 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

27 มีนาคม

วันที่ 27 มีนาคม เป็นวันที่ 86 ของปี (วันที่ 87 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 279 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และ27 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

28 กันยายน

วันที่ 28 กันยายน เป็นวันที่ 271 ของปี (วันที่ 272 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 94 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และ28 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

28 มกราคม

วันที่ 28 มกราคม เป็นวันที่ 28 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 337 วันในปีนั้น (338 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และ28 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

28 สิงหาคม

วันที่ 28 สิงหาคม เป็นวันที่ 240 ของปี (วันที่ 241 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 125 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และ28 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

29 มกราคม

วันที่ 29 มกราคม เป็นวันที่ 29 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 336 วันในปีนั้น (337 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และ29 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

29 เมษายน

วันที่ 29 เมษายน เป็นวันที่ 119 ของปี (วันที่ 120 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 246 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และ29 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

3 ตุลาคม

วันที่ 3 ตุลาคม เป็นวันที่ 276 ของปี (วันที่ 277 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 89 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และ3 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

30 กันยายน

วันที่ 30 กันยายน เป็นวันที่ 273 ของปี (วันที่ 274 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 92 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และ30 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

30 มกราคม

วันที่ 30 มกราคม เป็นวันที่ 30 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 335 วันในปีนั้น (336 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และ30 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

31 สิงหาคม

วันที่ 31 สิงหาคม เป็นวันที่ 243 ของปี (วันที่ 244 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 122 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และ31 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

4 กุมภาพันธ์

วันที่ 4 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 35 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 330 วันในปีนั้น (331 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และ4 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

5 พฤศจิกายน

วันที่ 5 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 309 ของปี (วันที่ 310 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 56 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และ5 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

5 มกราคม

วันที่ 5 มกราคม เป็นวันที่ 5 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 360 วันในปีนั้น (361 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และ5 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

6 เมษายน

วันที่ 6 เมษายน เป็นวันที่ 96 ของปี (วันที่ 97 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 269 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และ6 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

7 กรกฎาคม

วันที่ 7 กรกฎาคม เป็นวันที่ 188 ของปี (วันที่ 189 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 177 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และ7 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

9 กรกฎาคม

วันที่ 9 กรกฎาคม เป็นวันที่ 190 ของปี (วันที่ 191 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 175 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2456และ9 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

พ.ศ. ๒๔๕๖ค.ศ. 1913

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »