โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พ.ศ. 2474

ดัชนี พ.ศ. 2474

ทธศักราช 2474 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1931 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

403 ความสัมพันธ์: Almayบ. บุญค้ำชอกกอธบุญชง วีสมหมายบุญช่วย ศรีสารคามบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2549บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2552บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2556บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2557บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2558บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2561บุคคลแห่งปีของนิตยสารไทม์ชูเอา ชิลเบร์ตูบ๊อบ อารัมฟรันซิสโก ฟรังโกพ.ศ. 2394พ.ศ. 2407พ.ศ. 2417พ.ศ. 2426พ.ศ. 2448พ.ศ. 2498พ.ศ. 2539พ.ศ. 2549พ.ศ. 2550พ.ศ. 2552พ.ศ. 2556พ.ศ. 2557พ.ศ. 2558พ.ศ. 2561พระพรหมมังคลาจารย์ (ปั่น ปทุมุตฺตโร)พระมงคลกิตติธาดา (อมร เขมจิตฺโต)พระมงคลวุฒ (เครื่อง สุภทฺโท)พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน)พระยาอนุมานราชธน (ยง เสฐียรโกเศศ)พระราชพรหมเถร (วีระ คณุตฺตโม)พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระราชสันตติวงศ์ในพระเจ้าคริสเตียนที่ 9 แห่งเดนมาร์กพระราชสันตติวงศ์ในซาร์นีโคไลที่ 1 แห่งรัสเซียพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอลงกฏ กรมหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์พระอุดมญาณโมลี (จันทร์ศรี จนฺททีโป)พระธรรมปัญญาบดี (ถาวร ติสฺสานุกโร)พระครูวิสุทธิกิจจาทร (ชม กสโร)พระครูธรรมาภินันท์ (ปล้อง สุสีโล)พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากมลาสเลอสรรค์ กรมหมื่นราชศักดิ์สโมสรพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรวรรณากร กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวุฒิไชยเฉลิมลาภ กรมหลวงสิงหวิกรมเกรียงไกรพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมาวดี ศรีรัตนราชธิดา กรมหลวงสมรรัตนสิริเชษฐ์พระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวีพระเจ้าอัลฟอนโซที่ 13 แห่งสเปน...พระเทพโมลี (สำรอง คุณวุฑฺโฒ)พระเทวัญอำนวยเดช (เสรี สุวรรณานุช)พลอย เลี้ยงประเสริฐพจนานุกรมกฎหมายกรมสรรพสามิตกระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)กรณีมุกเดนกฤษณ์ สีวะรากล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนชนิดส่องผ่านกล้องโทรทรรศน์วิทยุกว่างโจวการบุกครองแมนจูเรียของญี่ปุ่นการพักรบตางกูการเลิกล้มราชาธิปไตยกิตติ สีหนนทน์กุ้งขาวญิบรอน เคาะลีล ญิบรอนฝันอเมริกันภาพยนตร์ไทยมหาวิทยาลัยโอซากะมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชามหาตมา คานธีมะซะอะกิ ฮะซึมิมัลคอล์ม บราวน์มาร์ชาเรอัลมาตราเมร์กัลลีมิ โกมิกกี แมนเทิลมณฑลพายัพมณฑลมหาราษฎร์มณฑลเฮย์หลงเจียงยุทธการทะเลสาบคาซานรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทยราชวงศ์ราชวงศ์บูร์บงราชสันตติวงศ์ในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียรายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2474รายชื่อธงในประเทศสเปนรายชื่อธงในประเทศอินเดียรายชื่อธงในประเทศแคนาดารายชื่อธงในประเทศเบลเยียมรายชื่อโรงเรียนประจำจังหวัดในประเทศไทยรายชื่อโรงเรียนในจังหวัดนครนายกรายพระนามพระมหากษัตริย์สเปนรายพระนามคู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์สเปนรายพระนามคู่อภิเษกสมรสในราชวงศ์มูฮัมหมัดอาลีรายพระนามและรายนามอภิรัฐมนตรีและกรรมการองคมนตรีไทยรายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน น.ร.รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานปฐมจุลจอมเกล้ารายการเครื่องราชอิสริยาภรณ์ต่างประเทศของพระราชวงศ์ไทยแยกตามประเทศรายนามอธิบดีกรมประมงรายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยรายนามคู่สมรสและคู่ครองประธานาธิบดีฝรั่งเศสรายนามประธานาธิบดีฟินแลนด์รายนามประธานาธิบดีสาธารณรัฐฝรั่งเศสรายนามประธานาธิบดีสาธารณรัฐจีนรายนามนายกรัฐมนตรีญี่ปุ่นรายนามนายกรัฐมนตรีฝรั่งเศสรายนามนายกรัฐมนตรีสหราชอาณาจักรรางวัลออสการ์รางวัลออสการ์ สาขานักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยมรางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์รางวัลโนเบลสาขาเคมีรุจน์ รณภพลัทธิเหนือจริงลาร์รี แฮคแมนวรรณคดีสโมสรวัดพระบาทมิ่งเมืองวรวิหารวัดพระแม่สกลสงเคราะห์วัดฤทธิ์ศิริราษฎร์เจริญธรรมวัดสุทธจินดาวรวิหารวัดหนองนกชุมวัดท่าถนน (อุตรดิตถ์)วัดปากน้ำ ภาษีเจริญวัดป่าวิเวกธรรมวัดโพธิ์ตากวาสนา บุญภูพันธ์ตันติวิชิต แสงทองวิกตอเรีย ยูจีนีแห่งบัทเทนแบร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งสเปนวิม อันเดอรีเซิน จูเนียร์วิลสัน เบนต์ลีย์วิหารพระมงคลบพิตรวิจิตร สุคันธพันธุ์วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นพรัตน์วชิระวิเชียร นีลิกานนท์สกุลชินวัตรสมศาสตร์ รัตนสัคสมุทร มงคลกิติสมเดช ยนตรกิจสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิตสมเด็จพระเจ้าศรีสว่างวัฒนาสวัสดิ์ โชติพานิชสวนโมกขพลารามสหราชอาณาจักรใน ค.ศ. 1931สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่สองสำนักงานแม่กองบาลีสนามหลวงสิปปนนท์ เกตุทัตสุมาลี จาติกวณิชสุรพล โทณะวณิกสุนทร คงสมพงษ์สงวน เล็กสกุลสงครามกลางเมืองสเปนสงครามอิตาลี-อะบิสซิเนียครั้งที่สองสงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สองสงครามโลกครั้งที่สองสโมสรฟุตบอลกรานาดาสโมสรฟุตบอลเรอัลมาดริดส้วมในประเทศไทยหม่อมหลวงปิ่น มาลากุลหม่อมหลวงเดช สนิทวงศ์หม่อมเจ้าจงจิตรถนอม ดิศกุลหลวงอิศรางกูรเสนีย์ (หม่อมหลวงแช่ม อิศรางกูร)หลวงไพเราะเสียงซอ (อุ่น ดูรยชีวิน)อลิซ มุนโรอะสึโกะ อิเกะดะอับดิเราะห์มาน อาห์เมด อาลี ตูร์อับดุล กลามอัลแบร์ตุส มาญุสอาบาชิริอาร์เธอร์ ชนิตซ์เลอร์อาคม มกรานนท์อำพล เสนาณรงค์อำเภอวังชิ้นอำเภอสวรรคโลกอำเภอสามพรานอำเภอทุ่งสงอำเภอเมืองตรังอิกอร์ สตราวินสกีอิมโนเดเรียโกอินฟันตามารีอา กริสตีนาแห่งสเปนอุสมาน ศรแดงอีนิด ไบลตันอดิศักดิ์ โภคกุลกานนท์อเล็กซานดราแห่งเดนมาร์กฮุมัยด์ บิน รอชิด อันนุอัยมีจอร์จ อีสต์แมนจอห์น แนนซ์ การ์เนอร์จักรพรรดินีวั่นหรงจักรพรรดินีโคจุงจักรพรรดิโชวะจักรวรรดิญี่ปุ่นจังหวัดกาฬสินธุ์จังหวัดมีนบุรีจังหวัดอุตรดิตถ์จังหวัดตะกั่วป่าจังหวัดนนทบุรีจังหวัดน่านจำกัด พลางกูรจิม โจนส์ธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอุซเบกธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตทาจิกถนอม นวลอนันต์ถนนกรุงเทพฯ-นนทบุรีถนนวังเดิมถนนท่าดินแดงถนนประชาราษฎร์ถนนเชียงใหม่ทฤษฎีบทความไม่สมบูรณ์ของเกอเดลทอมัส เอดิสันทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 306ทูมัส ทรานสเตรอเมอร์ทซาธอกกวาดอน คิงดอนิงตันพาร์กดิวเทอเรียมดีพวันคลื่นสึนามิความเคลื่อนไหวสู่การปฏิวัติสยามคาบาเร่ต์ (ภาพยนตร์)คาร์ล แจนสกีคาซาบลังกา (ภาพยนตร์)คุณพ่อขายาว (นวนิยาย)งานประกาศผลรางวัลออสการ์งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 4ตึกไครสเลอร์ตึกเอ็มไพร์สเตตฉัตรชัย วิเศษสุวรรณภูมิฉันท์ซุลเซอร์ปฏิกิริยาโฟโตฟอสโฟรีเลชันประวัติศาสตร์สเปนประเสริฐ พิจารณ์โสภณประเสริฐ นาสกุลประเทศบัลแกเรียใน ค.ศ. 1931ประเทศลักเซมเบิร์กใน ค.ศ. 1931ประเทศลาวใน ค.ศ. 1931ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ใน ค.ศ. 1931ประเทศสเปนใน ค.ศ. 1931ประเทศออสเตรเลียประเทศออสเตรเลียใน ค.ศ. 1931ประเทศอัฟกานิสถานใน ค.ศ. 1931ประเทศอาร์เจนตินาใน ค.ศ. 1931ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1931ประเทศนิวซีแลนด์ใน ค.ศ. 1931ประเทศโคลอมเบียใน ค.ศ. 1931ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1931ประเทศไทยใน พ.ศ. 2448ประเทศไทยใน พ.ศ. 2474ประเทศเซอร์เบียและมอนเตเนโกรประเทศเปรูใน ค.ศ. 1931ปราง เส็งปลาบึกปลาบึก (สกุล)ปลาลิ้นหมาน้ำจืดปลาหมูค้อปลาจาดปลาทรงเครื่องปลาตะพัดปลาตะพากปลาตะพากเหลืองปลาตาดำปลาซิวหัวตะกั่วสุโขทัยปลาซิวใบไผ่เขียวปลาน้ำฝายปลาน้ำฝายหลังดำปลาน้ำหมึกปลาน้ำหมึกโคราชปลาใบไม้ปลาเทพาปอร์เช่ปอล ดูแมร์ปัญหาของฮิลแบร์ทปัญจะ เกสรทองปารีส-แบร็สต์-ปารีสปาล พนมยงค์นักบุญจอร์จและมังกร (ราฟาเอล)นิพนธ์ ศศิธรนิกร ดุสิตสินนิวตรอนนิโคลา เทสลานีกีตา ครุชชอฟแม่ชีเทเรซาแรมเซย์ แมคโดนัลแสวง ธีระสวัสดิ์แอลัน ทัวริงแองเตอร์นาซิอองนาลฉบับภาษาจีนแผนการยังแท็บ ฮันเตอร์แดนนี่ คิดแซรอสดวงอาทิตย์ที่ 114โมฮัมเหม็ด อาลี ซามาตาร์โรลส์-รอยซ์ แฟนทอมโรงเรียนชลกันยานุกูลโรงเรียนพิจิตรพิทยาคมโรงเรียนกัลยาณีศรีธรรมราชโรงเรียนกาฬสินธุ์พิทยาสรรพ์โรงเรียนราชินีโรงเรียนวัดบวรนิเวศโรงเรียนวัดราชโอรสโรงเรียนวัดสุทธิวรารามโรงเรียนวัดจุกกะเฌอ (พินิจ เริ่มอำรุง)โรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์โรงเรียนสตรีภูเก็ตโรงเรียนสตรีจุลนาคโรงเรียนอัสสัมชัญธนบุรีโรงเรียนขอนแก่นวิทยายนโรงเรียนโพธินิมิตวิทยาคมโรงเรียนเบ็ญจะมะมหาราชโรงเรียนเมืองพัทยา 9 (วัดโพธิสัมพันธ์)โรงเรียนเศรษฐบุตรบำเพ็ญโรแบร์ แลงกาต์โฮจิมินห์โฮเซ ซูไลมังโทรทัศน์ในประเทศไทยไชยศิริ เรืองกาญจนเศรษฐ์ไพรัช สังวริบุตรไกรสร นันทมานพไคลด์ ทอมบอเชิด ทรงศรีเบียร์ไทเกอร์เพลงชาติไทยเพลงลูกกรุงเกรียงไกร อัตตะนันทน์เกรทโอลด์วันเมนาเฮม เบกินเลโอนิด เบรจเนฟเส้นเวลาของยุคใหม่เส้นเวลาของคณิตศาสตร์เอ็นเอชเคเฮลซิงกิเจมส์ เอิร์ล โจนส์เจ้าชายชาลส์ เอ็ดเวิร์ด ดยุกแห่งซัคเซิน-โคบูร์กและโกทาเจ้าชายนิโคลัสแห่งโรมาเนียเจ้าชายแอนดรูว์แห่งกรีซและเดนมาร์กเจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา)เจ้าพระยาสุรศักดิ์มนตรี (เจิม แสง-ชูโต)เจ้าพงศ์ธาดา ณ ลำพูนเจ้าราชบุตร (หมอกฟ้า ณ น่าน)เจ้าหญิงมารี-โจเซแห่งเบลเยียมเจ้าหญิงมาเรียแห่งโรมาเนีย (1870-1874)เจ้าหญิงลูอีส พระราชกุมารีเจ้าหญิงอลิซ เคาน์เตสแห่งแอธโลนเจ้าหญิงอีเลียนาแห่งโรมาเนียเจ้าหญิงอเล็กซานดราแห่งซัคเซิน-โคบูร์กและโกทาเจ้าหญิงธีโอโดราแห่งกรีซและเดนมาร์กเจ้าหญิงแมรี พระราชกุมารีและเคาน์เตสแห่งแฮร์วูดเจ้าหญิงเบียทริซแห่งสเปนเจ้าหญิงเบียทริซแห่งซัคเซิน-โคบูร์กและโกทาเจ้าจอมมารดาเหม ในรัชกาลที่ 5เจ้าไชยสงคราม (สมพมิตร ณ เชียงใหม่)เขมรแดงเขตมีนบุรีเขตลาดกระบังเขตหนองจอกเขตคลองสามวาเดลีเดือน บุนนาคเครื่องพิมพ์ดีดเต่านาเซนต์เจมส์พาร์ก (เอ็กซิเตอร์)1 พฤษภาคม1 กรกฎาคม10 ธันวาคม10 เมษายน11 กุมภาพันธ์12 กรกฎาคม15 ตุลาคม16 กรกฎาคม17 สิงหาคม17 ตุลาคม18 พฤษภาคม18 กันยายน18 ตุลาคม2 มีนาคม2 ธันวาคม20 พฤศจิกายน20 กันยายน20 สิงหาคม20 ตุลาคม21 กันยายน22 มีนาคม27 พฤศจิกายน27 พฤษภาคม27 กรกฎาคม27 กันยายน27 ธันวาคม28 มีนาคม3 กันยายน30 พฤศจิกายน30 กันยายน30 ธันวาคม31 (แก้ความกำกวม)4 พฤษภาคม5 มกราคม6 มกราคม6 สิงหาคม8 กรกฎาคม8 มกราคม8 มิถุนายน8 ธันวาคม9 กรกฎาคม ขยายดัชนี (353 มากกว่า) »

Almay

Almay เป็นแบรนด์โดยเครื่องสำอางของ Revlon พร้อมกับแบรนด์อื่น ๆ รวมทั้ง Revlon, Ultima II, ColorStay, Flex, New Complexion, Revlon Age Defying และ Charlie.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และAlmay · ดูเพิ่มเติม »

บ. บุญค้ำ

ญสิงห์ บุญค้ำ ศึกษาธิการจังหวัดเชียงราย จังหวัดลานช้างและสหรัฐไทยเดิม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และบ. บุญค้ำ · ดูเพิ่มเติม »

ชอกกอธ

อกกอธ (Shoggoth บางครั้งก็สะกดว่า shaggoth) เป็นสัตว์ประหลาดในเรื่องชุดตำนานคธูลู โดยเอช. พี. เลิฟคราฟท์ได้กล่าวถึงครั้งแรกในซอนเน็ต ชุด Fungi from Yuggoth (พ.ศ. 2472-73)ก่อนจะได้รับการขยายความในนิยาย At the Mountains of Madness (พ.ศ. 2474).

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และชอกกอธ · ดูเพิ่มเติม »

บุญชง วีสมหมาย

นายบุญชง วีสมหมาย (13 มีนาคม พ.ศ. 2474 - 19 เมษายน พ.ศ. 2546) อดีตเลขาธิการนายกรัฐมนตรี ในสมัยของพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดศรีสะเกษ อดีตรองประธานสภาผู้แทนราษฎร อดีตสมาชิกว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และบุญชง วีสมหมาย · ดูเพิ่มเติม »

บุญช่วย ศรีสารคาม

นายบุญช่วย ศรีสารคาม (3 กรกฎาคม พ.ศ. 2474 - 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2553) อดีตอธิบดีกรมราชทัณฑ์ อดีตรองปลัดกระทรวงมหาดไทย และอดีตผู้ว่าราชการจังหวัดประจวบคีรีขันธ์,ขอนแก่น, อุบลราชธานี, ชลบุรี, และจันทบุรี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และบุญช่วย ศรีสารคาม · ดูเพิ่มเติม »

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2549

้านล่างนี้เป็นบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2549.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550

้านล่างนี้เป็นบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2552

้านล่างนี้เป็นบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2552.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2552 · ดูเพิ่มเติม »

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2556

้านล่างนี้เป็นบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2556.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2556 · ดูเพิ่มเติม »

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2557

้านล่างนี้เป็นบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2557.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2557 · ดูเพิ่มเติม »

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2558

้านล่างนี้เป็นบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2558.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2558 · ดูเพิ่มเติม »

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2561

้านล่างนี้เป็นบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2561.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2561 · ดูเพิ่มเติม »

บุคคลแห่งปีของนิตยสารไทม์

ลแห่งปี (Person of the Year หรือเดิม Man of the Year) เป็นฉบับประจำปีของนิตยสารข่าวไทม์ของสหรัฐอเมริกา ซึ่งเสนอและพรรณนาถึงบุคคล กลุ่ม แนวคิดหรือวัตถุซึ่ง "ไม่ว่าจะเกิดอะไรก็ตาม...ได้มีอิทธิพลมากที่สุดต่อเหตุการณ์ในปีนั้น".

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และบุคคลแห่งปีของนิตยสารไทม์ · ดูเพิ่มเติม »

ชูเอา ชิลเบร์ตู

ูเอา ชิลเบร์ตู ปราดู เปเรย์รา จี โอลีเวย์รา (João Gilberto Prado Pereira de Oliveira; เกิด 10 มิถุนายน ค.ศ. 1931) หรือ ชูเอา ชิลเบร์ตู นักร้องและนักกีตาร์ชาวบราซิล เป็นหนึ่งในผู้ให้กำเนิดดนตรีแนวบอสซาโนวาร่วมกับอังโตนีอู การ์ลูช โชบิง และวีนีซีอุช จี โมไรช์ เมื่อปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และชูเอา ชิลเบร์ตู · ดูเพิ่มเติม »

บ๊อบ อารัม

อบ อารัม บ๊อบ อารัม (Bob Arum) มีชื่อจริงว่า โรเบิร์ต บ๊อบ อารัม (Robert Bob Arum) เกิดเมื่อวันที่ 8 ธันวาคม ค.ศ. 1931 ที่นิวยอร์ก ซิตี้ จบการศึกษากฎหมายจากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด และเคยหาเสียงให้กับประธานาธิบดีจอห์น เอฟ. เคนเนดี้มาก่อนด้วย และก่อตั้งสำนักงานทนายความขึ้นมา บ๊อบ อารัม เริ่มมีชื่อเสียงจากการเป็นโปรโมเตอร์ ในปี ค.ศ. 1980 ซึ่งสามารถจัดคู่มวยที่เป็นที่สนใจของแฟนมวยทั่วโลกให้ชกกัน เช่น โธมัส เฮิร์นส์, โรเบร์โต ดูรัน, มาร์วิน แฮ็กเลอร์ เป็นต้น บ๊อบ อารัม มีบริษัทเป็นของตนเองชื่อ "ท็อป แรงก์ โปรโมชั่น" (Top Rank Promotion) นับได้ว่าเป็นคู่แข่งคนสำคัญของดอน คิง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วง 10 ปีหลังนี้ นักมวยในสังกัดของบ๊อบ อารัม เป็นที่สนใจและชื่นชอบของแฟนมวยมากกว่าดอน คิง เช่น ออสการ์ เดอ ลา โฮยา, อีริค โมราเลส, ฟลอยด์ เมย์เวทเธอร์ จูเนียร์ เป็นต้น และเมื่อชกเดิมพันกันเมื่อไหร่ ก็ปรากฏว่ามวยของฝ่ายบ๊อบ อารัม เป็นฝ่ายชนะเสียส่วนใหญ่ รวมทั้งประกบคู่มวยได้น่าสนใจกว่าด้ว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และบ๊อบ อารัม · ดูเพิ่มเติม »

ฟรันซิสโก ฟรังโก

ฟรันซิสโก เปาลีโน เอร์เมเนคิลโด เตโอดูโล ฟรังโก อี บาอามอนเด ซัลกาโด ปาร์โด (Francisco Paulino Hermenegildo Teódulo Franco y Bahamonde Salgado Pardo) หรือที่เป็นที่รู้จักกันในชื่อ จอมพลฟรันซิสโก ฟรังโก (Francisco Franco) และ เอลโกว์ดีโย หรือ "ท่านผู้นำ" (El Coudillo) (เกิด 4 ธันวาคม พ.ศ. 2435 - ถึงแก่กรรม 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2518) เป็นจอมพลและผู้เผด็จการชาวสเปนในช่วงปี พ.ศ. 2479-2518 เกิดที่เมืองเอลเฟร์โรล แคว้นกาลิเซีย ทางภาคตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศสเปน จบการศึกษาจากโรงเรียนนายร้อยโตเลโดในปี พ.ศ. 2453 ได้รับประสบการณ์ในการรบเป็นอย่างมากในสงครามโมร็อกโก และได้เป็นนายพลที่หนุ่มที่สุดของประเทศสเปนเมื่อปี พ.ศ. 2469 ระหว่างสมัยสาธารณรัฐสเปนที่ 2 (พ.ศ. 2474-2479) ฟรังโกได้เป็นผู้นำทำการปราบปรามกบฏชาวเหมืองอัสตูรีอัส และในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และฟรันซิสโก ฟรังโก · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2394

ทธศักราช 2394 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1851 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และพ.ศ. 2394 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2407

ทธศักราช 2407 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1864.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และพ.ศ. 2407 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2417

ทธศักราช 2417 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1874.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และพ.ศ. 2417 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2426

ทธศักราช 2426 ตรงกั.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และพ.ศ. 2426 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2448

ทธศักราช 2448 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1905 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิต.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และพ.ศ. 2448 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2498

ทธศักราช 2498 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1955 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และพ.ศ. 2498 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2539

ทธศักราช 2539 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1996 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และพ.ศ. 2539 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2549

ทธศักราช 2549 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2006 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และพ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2550

ทธศักราช 2550 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2007 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2552

ทธศักราช 2552 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2009 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีสุดท้ายในคริสต์ทศวรรษ 2000.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และพ.ศ. 2552 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2556

ทธศักราช 2556 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2013 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และพ.ศ. 2556 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2557

ทธศักราช 2557 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2014 วันแรกของปีตรงกับวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน นับเป็นปีที่ 2014 ตามกำหนดสากลศักราช และปีที่ 2557 ตามกำหนดพุทธศักร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และพ.ศ. 2557 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2558

ทธศักราช 2558 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2015 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน นับเป็นปีที่ 2015 ตามกำหนดสากลศักร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และพ.ศ. 2558 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2561

ทธศักราช 2561 เป็นปีปัจจุบัน ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2018 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และพ.ศ. 2561 · ดูเพิ่มเติม »

พระพรหมมังคลาจารย์ (ปั่น ปทุมุตฺตโร)

ระพรหมมังคลาจารย์ (ปั่น ปทุมุตฺตโร) (11 พฤษภาคม พ.ศ. 2454 — 10 ตุลาคม พ.ศ. 2550) หรือที่รู้จักกันทั่วไปว่า หลวงพ่อปัญญานันทภิกขุ ท่านเป็นที่รู้จักในฐานะพระสงฆ์ผู้ปฏิรูปแนวทางการเผยแผ่พระพุทธศาสนาของพระสงฆ์ไทย ผู้เป็นสหธรรมิกร่วมอุดมการณ์คนสำคัญของพระธรรมโกศาจารย์ (เงื่อม อินทปัญโญ) และผู้อุทิศชีวิตให้กับการเผยแผ่พระพุทธศาสนาจนวาระสุดท้ายของชีวิต.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และพระพรหมมังคลาจารย์ (ปั่น ปทุมุตฺตโร) · ดูเพิ่มเติม »

พระมงคลกิตติธาดา (อมร เขมจิตฺโต)

ระมงคลกิตติธาดา (อมร เขมจิตโต) (2474-2553) อดีตเจ้าอาวาสวัดป่าวิเวก (ธรรมชาน์) และเจ้าคณะอำเภอม่วงสามสิบ จังหวัดอุบลราชธานี พระผู้เปี่ยมด้วยเมตตาและศิษยานุศิษย์ให้ความเคารพนับถือเป็นอย่างมาก ท่านเป็นพระปฏิบัติด้านวิปัสสนากรรมฐาน โดยเป็นลูกศิษย์รุ่นแรกๆ ของพระโพธิญาณเถร (ชา สุภทฺโท) วัดหนองป่าพง อ.วารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และพระมงคลกิตติธาดา (อมร เขมจิตฺโต) · ดูเพิ่มเติม »

พระมงคลวุฒ (เครื่อง สุภทฺโท)

หมวดหมู่:บุคคลจากจังหวัดศรีสะเกษ‎ ค หมวดหมู่:พระภิกษุในนิกายเถรวาท (ธรรมยุติกนิกาย).

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และพระมงคลวุฒ (เครื่อง สุภทฺโท) · ดูเพิ่มเติม »

พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน)

ระยาพหลพลพยุหเสนา (แถวหน้าซ้ายมือ) นำคณะรัฐมนตรีของไทยเข้าเยือนประเทศญี่ปุ่น และพบกับ ฮิเดกิ โตโจ (แถวหน้าตรงกลาง) นายกรัฐมนตรีญี่ปุ่น เมื่อปี พ.ศ. 2485 ช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง พลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา เดิมชื่อว่า "พจน์ พหลโยธิน" เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 2 เกิดวันที่ 29 มีนาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และพระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน) · ดูเพิ่มเติม »

พระยาอนุมานราชธน (ยง เสฐียรโกเศศ)

ตราจารย์ พระยาอนุมานราชธน (14 ธันวาคม พ.ศ. 2431 - 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2512) นักปราชญ์และนักการศึกษาคนสำคัญของไทย ผู้มีผลงานดีเด่นทางด้านวัฒนธรรมและเป็นหนึ่งในบุคคลสำคัญของโลกชาวไทย ประจำปี พ.ศ. 2531 ขององค์การศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) เกิดเมื่อวันศุกร์ที่ 14 ธันวาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และพระยาอนุมานราชธน (ยง เสฐียรโกเศศ) · ดูเพิ่มเติม »

พระราชพรหมเถร (วีระ คณุตฺตโม)

ระราชพรหมเถร (วีระ คณุตฺตโม) รองเจ้าอาวาส และพระอาจารย์ใหญ่ฝ่ายวิปัสสนาธุระ วัดปากน้ำ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และพระราชพรหมเถร (วีระ คณุตฺตโม) · ดูเพิ่มเติม »

พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

นี่คือ พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รายพระนามพระราชโอรส พระราชธิดา และพระราชนั.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และพระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระราชสันตติวงศ์ในพระเจ้าคริสเตียนที่ 9 แห่งเดนมาร์ก

มเด็จพระราชาธิบดีคริสเตียนที่ 9 เจ้าหญิงหลุยส์แห่งเฮสส์-คาสเซิล ราชสันตติวงศ์ในสมเด็จพระราชาธิบดีคริสเตียนที่ 9 (Descendants of King Christian IX) เป็นเรื่องราวของการสืบสายพระโลหิตของพระราชโอรสและธิดาทั้งหมด 6 พระองค์ในสมเด็จพระราชาธิบดีคริสเตียนที่ 9 แห่งเดนมาร์ก (8 เมษายน พ.ศ. 2361 - 29 มกราคม พ.ศ. 2449 เสวยราชสมบัติ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2406) โดยมีพระราชนัดดา 39 พระองค์ และพระราชปนัดดา (เหลน) 84 พระองค์ แต่ละพระองค์จึงเป็นทั้งพี่น้องกันหรือพระญาติชั้นที่หนึ่งซึ่งกันและกัน (first cousin) และด้วยการอภิเษกสมรสเข้าไปยังราชสำนักต่างๆ ของทวีปยุโรป พระองค์จึงทรงมีผลกระทบต่อโชคชะตาของราชวงศ์ยุโรปอย่างมาก โดยทรงเกี่ยวข้องทางสายพระโลหิตและการอภิเษกสมรสกับราชวงศ์อังกฤษ นอร์เวย์ เบลเยียม กรีซ โรมาเนีย ยูโกสลาเวีย สเปน และรัสเซีย จึงทำให้ทรงได้รับพระราชสมัญญาว่า พระสัสสุระแห่งยุโรป (Father-in-Law of Europe) สมเด็จพระราชาธิบดีคริสเตียนที่ 9 ทรงครองราชบัลลังก์แห่งเดนมาร์กเป็นเวลานานเกือบ 50 ปี ในระหว่างปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และพระราชสันตติวงศ์ในพระเจ้าคริสเตียนที่ 9 แห่งเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

พระราชสันตติวงศ์ในซาร์นีโคไลที่ 1 แห่งรัสเซีย

ระจักรพรรดินิโคลาสที่ 1 แห่งรัสเซีย เจ้าฟ้าหญิงชาร์ล็อตแห่งปรัสเซีย พระราชสันตติวงศ์ในสมเด็จพระจักรพรรดินิโคลาสที่ 1 (Descendants of Emperor Nicholas I) เป็นเรื่องราวของการสืบสายพระโลหิต เริ่มจากการอภิเษกสมรสของสมเด็จพระจักรพรรดินิโคลาสที่ 1 แห่งรัสเซีย (6 กรกฎาคม พ.ศ. 2339 - 2 มีนาคม พ.ศ. 2398 เสวยราชสมบัติ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2368 สืบต่อจากสมเด็จพระจักรพรรดิอเล็กซานเดอร์ที่ 1 พระบรมเชษฐาธิราช) พระราชโอรสลำดับที่ 9 ในสมเด็จพระจักรพรรดิพอลที่ 1 แห่งรัสเซีย (พระราชโอรสในสมเด็จพระจักรพรรดินีแคเธอรีนที่ 2 แห่งรัสเซีย หรือ แคเธอรีนมหาราชินี) กับ สมเด็จพระจักรพรรดินีมารี เฟโอโดรอฟนาแห่งรัสเซีย (พระอิสริยยศเดิม เจ้าหญิงโซฟี-โดโรเธียแห่งเวือร์ทเท็มแบร์ก) ในวันที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2360 ณ พระราชวังฤดูหนาว กรุงเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก กับ เจ้าฟ้าหญิงชาร์ล็อตแห่งปรัสเซีย (ฟรีเดริเค หลุยซา ชาร์ล็อต วิลเฮลมินา; 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2341 - 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2403 ซึ่งทรงเปลี่ยนพระนามเป็น แกรนด์ดัชเชสอเล็กซานดรา เฟโอโดรอฟนาแห่งรัสเซีย หลังจากการเข้ารีตในนิกายออร์โธด็อกซ์รัสเซีย เมื่อวันที่ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2460) และมีพระราชโอรสธิดาทั้งหมด 7 พระองค์ พระราชนัดดา 31 พระองค์ และพระราชปนัดดาจำนวนหลายพระองค์ แต่ละพระองค์จึงเป็นพี่น้องกันหรือพระญาติชั้นที่หนึ่งซึ่งกันและกัน (first cousin) พระราชโอรสและพระราชธิดาที่สำคัญคือ สมเด็จพระจักรพรรดิอเล็กซานเดอร์ที่ 2 แห่งรัสเซีย แกรนด์ดัชเชสโอลกา นิโคไลเยฟนาแห่งรัสเซีย (สมเด็จพระราชินีแห่งเวือร์ทเท็มแบร์ก) ส่วนพระราชนัดดาที่สำคัญคือ สมเด็จพระจักรพรรดิอเล็กซานเดอร์ที่ 3 แห่งรัสเซีย แกรนด์ดัชเชสโอลกา คอนสแตนตินอฟนาแห่งรัสเซีย (ต่อมา สมเด็จพระราชินีแห่งกรีซ) และแกรนด์ดัชเชสอนาสตาเซีย มิคาอิลอฟนาแห่งรัสเซีย (ต่อมาคือ แกรนด์ดัชเชสแห่งเม็คเล็นบูร์ก-ชเวริน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และพระราชสันตติวงศ์ในซาร์นีโคไลที่ 1 แห่งรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอลงกฏ กรมหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์

ลเอก พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอลงกฎ กรมหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์ พลเอก พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอลงกฎ กรมหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์ (24 ตุลาคม พุทธศักราช 2423 - 19 ธันวาคม พุทธศักราช 2495) อดีตรองเสนาบดีกระทรวงกลาโหมและอดีตประธานองคมนตรี ประสูติ ณ วังท้ายวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม เมื่อวันอาทิตย์ แรม 6 ค่ำ เดือน 11 ปีมะโรง จุลศักราช 1242 ตรงกับวันที่ 24 ตุลาคม พุทธศักราช 2423 เมื่อประสูติทรงเป็นหม่อมเจ้าลำดับที่ 5 ของจำนวนพระโอรสและพระธิดาทั้งสิ้น 37 พระองค์ ใน พลโท พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศุขสวัสดี กรมหลวงอดิศรอุดมเดช และเป็นลำดับที่ 3 ในจำนวน 3 พระองค์ของหม่อมมารดา คือ หม่อมขาบ พุทธศักราช 2473 ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้า ฯ ให้สถาปนาพระอิสริยยศเป็น พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า โดยมีคำนำพระนามตามจารึกในพระสุพรรณบัฏว่า พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอลงกฎ ครุฑนาม ทรงศักดินา 3000 ตามพระราชกำหนดอย่างพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า พุทธศักราช 2495 ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้า ฯ ให้เฉลิมพระยศเป็นพระองค์เจ้าต่างกรม มีพระนามตามจารึกในพระสุพรรณบัฏว่า พระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์ ครุฑนาม ทรงศักดินา 11000 ตามอย่างธรรมเนียม พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าต่างกรมทั้งปวง และให้ทรงตั้งเจ้ากรมเป็นหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์ ถือศักดินา 500 ปลัดกรมเป็นพันบริรักษ์ภูเบศร ถือศักดินา 300 สมุห์บัญชีเป็นพันวิเศษพลขันธ์ ถือศักดินา 200 พลเอก พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอลงกฎ กรมหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์ ประชวรด้วยพระโรคไข้ไทฟอยด์ โดยมีพระอาการหนักจนถึงสิ้นพระชนม์ ณ โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า ในวันที่ 19 ธันวาคม พุทธศักราช 2495 สิริรวมพระชันษา 72 ปี 1 เดือน 26 วัน ประกอบพิธีพระราชทานเพลิงพระศพออกเมรุ ณ วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม วันที่ 14 มิถุนายน พุทธศักราช 2496 ในระหว่างพระชนม์ชีพ พลเอก พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอลงกฎ กรมหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์ ได้ทรงปฏิบัติหน้าที่ราชการสนองคุณมาตั้งแต่แผ่นดินพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยเสด็จออกไปจัดระเบียบกองทหารสำหรับประจำรักษาหัวเมืองในมณฑลภาคพายัพ ตามพระบรมราโชบายเพื่อรักษาความปลอดภัยแห่งพระราชอาณาเขต อันเป็นผลสืบเนื่องมาจากการก่อความไม่สงบของพวกเงี้ยวในภาคเหนือ จนได้ดำรงพระยศและพระตำแหน่งเป็นนายพลตรีผู้บัญชาการกองพลที่ 7 มณฑลพิษณุโลก ต่อมาในแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในรัชกาลที่ 6 ได้ทรงเป็นแม่ทัพกองที่ 2 และนายพลโทแม่ทัพกองทัพน้อยทหารบกที่ 2 ครั้นถึงรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในรัชกาลที่ 7 ได้รับพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้า ฯ ให้ย้ายกลับเข้ามาในพระนครเพื่อให้ทรงเป็น จเรทหารบก เสนาธิการทหารบก และรองเสนาบดีกระทรวงกลาโหม จนกระทั่งพ้นจากหน้าที่ราชการเมื่อคณะราษฎรได้เปลี่ยนแปลงการปกครองแผ่นดิน ดำรงพระฐานะเป็น "นายทหารนอกราชการ" และ "นายทหารพ้นราชการ" อยู่นานถึงประมาณ 15 ปี จนกระทั่ง ปีพุทธศักราช 2490ในรัชกาลของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช จึงทรงได้รับพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้า ฯ ให้กลับมารับพระราชทานสนองพระราชภาระงานฝ่ายพระมหากษัตริย์ให้ทรงดำรงตำแหน่งต่าง ๆ คือ อภิรัฐมนตรี คณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ องคมนตรี และประธานองคมนตรี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอลงกฏ กรมหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

พระอุดมญาณโมลี (จันทร์ศรี จนฺททีโป)

ระอุดมญาณโมลี นามเดิม จันทร์ศรี แสนมงคล ฉายา จนฺททีโป หรือ หลวงปู่ใหญ่ (10 ตุลาคม 2454-14 ธันวาคม 2559) เป็นพระราชาคณะเจ้าคณะรองฝ่ายธรรมยุติกนิกาย ชาวจังหวัดอุดรธานี อดีตเจ้าอาวาสวัดโพธิสมภรณ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และพระอุดมญาณโมลี (จันทร์ศรี จนฺททีโป) · ดูเพิ่มเติม »

พระธรรมปัญญาบดี (ถาวร ติสฺสานุกโร)

ระธรรมปัญญาบดี นามเดิม ถาวร เจริญพานิช ฉายา ติสฺสานุกโร (27 พฤษภาคม พ.ศ. 2459 - 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2557) เป็นพระราชาคณะเจ้าคณะรองฝ่ายมหานิกาย อดีตเจ้าอาวาสวัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร และอดีตที่ปรึกษาเจ้าคณะเขตพระนคร กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และพระธรรมปัญญาบดี (ถาวร ติสฺสานุกโร) · ดูเพิ่มเติม »

พระครูวิสุทธิกิจจาทร (ชม กสโร)

ระครูวิสุทธิกิจจาทร (หลวงพ่อชม กสโร) อดีตเจ้าอาวาสวัดนพทองดีศรีพฤฒาราม (วัดโป่ง) เกจิดังของตำบลโป่ง อำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี สังขารท่านไม่เน่าเปื่อยและยังอยู่ในโรงแก้วจนถึงปัจจุบัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และพระครูวิสุทธิกิจจาทร (ชม กสโร) · ดูเพิ่มเติม »

พระครูธรรมาภินันท์ (ปล้อง สุสีโล)

ระครูธรรมาภินันท์ หรือ หลวงพ่อปล้อง สุสีโล (ตุลาคม พ.ศ. 2419 - 25 สิงหาคม พ.ศ. 2484) ผู้มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักกันแพร่หลายทั่วประเทศ นอกจากหลวงพ่อจะเป็นพระที่มีศีลาจารวัตรน่าศรัทธาเลื่อมใสแล้ว ยังมีคุณลักษณะพิเศษได้รับการยกย่องให้เป็นพระเกจิอาจารย์ 1 ใน 108 รูป ของประเทศไทยในขณะนั้นด้วย ชื่อเสียงของหลวงพ่อปล้องโด่งดังมากในช่วงสมัยสงครามอินโดจีน (พ.ศ. 2483 - 2484) กรณีไทยเรียกร้องดินแดนบางส่วนคืนจากฝรั่งเศส ทหารประจำการและทหารกองหนุนทุกคนต้องออกไปรบ หน่วยทหารจากจังหวัดราชบุรีก็เช่นเดียวกันผู้ที่วัตถุมงคลของท่านต่างรอดพ้นอันตรายกลับมาทุกคน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และพระครูธรรมาภินันท์ (ปล้อง สุสีโล) · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากมลาสเลอสรรค์ กรมหมื่นราชศักดิ์สโมสร

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นราชศักดิ์สโมสร มีพระนามเดิมว่า พระองค์เจ้ากมลาสเลอสรรค์ เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่ 27 ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาเที่ยง ประสูติเมื่อวันจันทร์ เดือน 12 ขึ้น 6 ค่ำ ปีมะโรงอัฐศก..

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากมลาสเลอสรรค์ กรมหมื่นราชศักดิ์สโมสร · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรวรรณากร กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ มีพระนามเดิมว่า พระองค์เจ้าวรวรรณากร เป็นพระบิดาแห่งการละครร้อง เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว กับ เจ้าจอมมารดาเขียน ทรง เป็นกวีและนักประพันธ์ ทรงเข้ารับราชการในแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงดำรงตำแหน่งรองเสนาบดี กระทรวงพระคลังมหาสมบัติ ทรงเป็นต้นราชสกุลวรวรรณ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรวรรณากร กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวุฒิไชยเฉลิมลาภ กรมหลวงสิงหวิกรมเกรียงไกร

ลเอก พลเรือเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวุฒิไชยเฉลิมลาภ กรมหลวงสิงหวิกรมเกรียงไกร (ประสูติ: 5 ธันวาคม พ.ศ. 2426 — สิ้นพระชนม์: 18 ตุลาคม พ.ศ. 2490) เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาทับทิม เป็นต้นราชสกุลวุฒิชัย ณ อยุธยา พระองค์เจ้าวุฒิไชยเฉลิมลาภ เสด็จเข้ารับการศึกษาในยุโรป ในคราวที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จประพาสยุโรปครั้งแรก เมื่อ..

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวุฒิไชยเฉลิมลาภ กรมหลวงสิงหวิกรมเกรียงไกร · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมาวดี ศรีรัตนราชธิดา กรมหลวงสมรรัตนสิริเชษฐ์

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมาวดี ศรีรัตนราชธิดา กรมหลวงสมรรัตนสิริเชษฐ์ (19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2395 — 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2474) พระราชธิดาพระองค์ที่ 7 ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 กับพระองค์แรกในเจ้าจอมมารดาเที่ยง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมาวดี ศรีรัตนราชธิดา กรมหลวงสมรรัตนสิริเชษฐ์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี

ระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี (เปอร์เซีย: محمدرضا شاه پهلوی, พระราชสมภพ 26 ตุลาคม ค.ศ. 1919 ณ เตหะราน ประเทศอิหร่าน – สวรรคต 27 กรกฎาคม ค.ศ. 1980 ณ ไคโร ประเทศอียิปต์) หรือ จักรพรรดิชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี พระองค์ทรงเป็นชาห์แห่งอิหร่านซึ่งเป็นชาห์องค์สุดท้ายที่ปกครองอิหร่าน โดยพระองค์เป็นพระราชโอรสในพระเจ้าชาห์ เรซา ปาห์ลาวี ผู้ก่อตั้งราชวงศ์ปาห์ลาวีซึ่งเป็นราชวงศ์สุดท้ายที่ปกครองประเทศอิหร่านก่อนการปฏิวัติอิสลาม พระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี ได้รับการขนานพระนามเป็น ชาฮันชาห์ (Shahanshah ราชันย์แห่งราชา เทียบเท่าตำแหน่งจักรพรรดิ), อัรยาเมหร์ (Aryamehr แสงแห่งอารยัน) และ บอซอร์ก อาร์เตสตาราน (Bozorg Arteshtārān จอมทัพ, เปอร์เซีย:بزرگ ارتشتاران).

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และพระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าอัลฟอนโซที่ 13 แห่งสเปน

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และพระเจ้าอัลฟอนโซที่ 13 แห่งสเปน · ดูเพิ่มเติม »

พระเทพโมลี (สำรอง คุณวุฑฺโฒ)

ระเทพโมลี (สำรอง คุณวุฑฺโฒ) อดีตเจ้าอาวาสวัดอโศการาม หมู่ 2 ซ.สุขาภิบาล 58.สุขุมวิท (กม.31) ต.ท้ายบ้าน อ.เมือง.สมุทรปราการ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และพระเทพโมลี (สำรอง คุณวุฑฺโฒ) · ดูเพิ่มเติม »

พระเทวัญอำนวยเดช (เสรี สุวรรณานุช)

นาวาอากาศโท พระเทวัญอำนวยเดช นาวาอากาศโท พระเทวัญอำนวยเดช (เสรี สุวรรณานุช) เป็นนายทหารนักบินไทยในสงครามโลกครั้งที่ 1 และอธิบดีกรมสหกรณ์ที่ดินคนแรก เดิมชื่อ "หลี" เกิดเมื่อวันที่ 26 มีนาคม พุทธศักราช 2438 ณ บ้านเลขที่ 6 ตำบลบางเลน อำเภอสองพี่น้อง จังหวัดสุพรรณบุรี เป็นบุตรคนที่ 4 ในจำนวนบุตรธิดาทั้งหมด 4 คน ของนายคำและนางยวง สุวรรณานุช ภายหลังสำเร็จการศึกษาจากโรงเรียนนายร้อยทหารบกในปีพุทธศักราช 2457 ได้รับพระราชทานยศให้เป็นนายร้อยตรีแล้ว ได้เข้ารับราชการในตำแหน่งผู้บังคับหมวดในกองร้อยที่ 1 กรมทหารราบที่ 3 พุทธศักราช 2460 ได้สมัครเข้าเป็นกองทหารอาสาในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เพื่อเข้าร่วมรบกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ในตำแหน่งนายร้อยโท ผู้บังคับหมวดในกองย่อยรถยนต์ กองใหญ่รถยนต์ที่ 4 พุทธศักราช 2461 เดินทางไปราชการในสงครามโลกครั้งที่ 1 ประจำการ ณ ประเทศฝรั่งเศส และด้วยที่มีใจรักทางการบิน จึงเข้าฝึกเป็นนักบินในโรงเรียนการบินทหารบกและโรงเรียนการทิ้งระเบิดแห่งประเทศฝรั่งเศส พุทธศักราช 2462 สำเร็จการฝึกเป็นนักบิน เข้าประจำการในกองทัพยึดดินแดนเมืองนอยสตาดท์ สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี ทำหน้าที่เป็นนักบินและผู้ทิ้งลูกระเบิด โดยปฏิบัติการอยู่ประมาณ 4 เดือน เมื่อสงครามสงบได้เดินทางกลับประเทศไทยแล้วย้ายสังกัดไปอยู่ กรมอากาศยานทหารบก ในตำแหน่งผู้บังคับหมวด กองศึกษาและฝึกหัด กองบินใหญ่ที่ 3 ตำบลหนองบัว อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา ซึ่งกรมอากาศยานทหารบกนี้ ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็น “กรมอากาศยาน” และได้มีการพัฒนาปรับเปลี่ยนขยายหน่วยงานจนได้รับการยกฐานะเป็น “กองทัพอากาศ” ในปัจจุบัน พุทธศักราช 2464 ได้รับพระราชทานยศให้เป็นเรืออากาศเอก ตำแหน่งผู้ช่วยผู้บังคับกองศึกษาและฝึกหัด กองบินใหญ่ที่ 3 พุทธศักราช 2467 ได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็น “หลวงเทวัญอำนวยเดช” และเป็นผู้รั้งตำแหน่งปลัดกองบินใหญ่ที่ 3 พุทธศักราช 2468 เป็นผู้รักษาการในตำแหน่งผู้บังคับกองบินใหญ่ที่ 3 พุทธศักราช 2469 เป็นผู้บังคับกองบินน้อยที่ 2 กองบินใหญ่ที่ 3 ปีพุทธศักราช 2470 ได้รับพระราชทานยศให้เป็นนาวาอากาศตรี และเป็นผู้บังคับกองบินน้อยที่ 1 กองบินใหญ่ที่ 2 พุทธศักราช 2473 ประจำกองอากาศยานเพื่อเข้าศึกษาในโรงเรียนเสนาธิการทหารบก พุทธศักราช 2474 ได้รับพระราชทานยศให้เป็นนาวาอากาศโท พุทธศักราช 2475 เข้าศึกษาในโรงเรียนการบินขั้นสูง และได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็น “พระเทวัญอำนวยเดช” พุทธศักราช 2476 ได้รับแต่งตั้งให้เป็นผู้ช่วยเจ้ากรมอากาศยาน ฝ่ายธุรการ และได้เกิดความขัดแย้งทางการเมืองกรณี “กบฏบวรเดช” มีการใช้กำลังทหารต่อสู้กันระหว่างฝ่ายของ พลเอก พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช กับฝ่ายรัฐบาลของคณะราษฎร เป็นผลให้นาวาอากาศโท พระเทวัญอำนวยเดช ต้องพ้นจากราชการ และเปลี่ยนฐานะเป็น “นักโทษการเมือง” ต่อมา พุทธศักราช 2480 ได้มีการออกกฎหมายนิรโทษกรรมนักโทษการเมืองในกรณีดังกล่าว และพิจารณาให้กลับเข้ารับราชการ โดยให้ไปเป็นข้าราชการพลเรือนปฏิบัติงานในกระทรวงทบวงกรมอื่น พุทธศักราช 2481 ได้รับบรรจุเป็นเสมียนพนักงาน กองสหกรณ์ภาคใต้ กรมสหกรณ์ แล้วเข้าศึกษาในโรงเรียนการอบรมกรมสหกรณ์ที่ดิน หลังจากนั้นได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งพนักงานสหกรณ์จัตวา กองควบคุมสหกรณ์ กรมสหกรณ์ พุทธศักราช 2482 ได้เลื่อนตำแหน่งเป็นพนักงานสหกรณ์ตรี กองควบคุมสหกรณ์ กรมสหกรณ์ ปฏิบัติหน้าที่ประจำเขตอำเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี พุทธศักราช 2489 ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งหัวหน้ากองขยายการสหกรณ์ กรมสหกรณ์ พุทธศักราช 2494 ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งหัวหน้ากองสหกรณ์นิคม กรมสหกรณ์ พุทธศักราช 2495 ได้มีพระราชกฤษฎีกาประกาศปรับปรุงการจัดตั้งกระทรวงทบวงกรม ให้มีการจัดตั้งกระทรวงการสหกรณ์ขึ้น และมี กรมสหกรณ์ที่ดิน เป็นหน่วยงานหนึ่งในสังกัด โดย นาวาอากาศโท พระเทวัญอำนวยเดช ได้รับแต่งตั้งให้รักษาการในตำแหน่งอธิบดี พุทธศักราช 2496 ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งอธิบดีกรมสหกรณ์ที่ดิน โดยนับเป็นอธิบดีคนแรกเมื่อมีการประกาศแบ่งส่วนราชการนี้ขึ้น (ปัจจุบันเปลี่ยนชื่อหน่วยงานเป็น "กรมส่งเสริมสหกรณ์" สังกัด กระทรวงเกษตรและสหกรณ์) พุทธศักราช 2501 เกษียณอายุราชการเพื่อรับบำนาญ ในตอนปลายของชีวิต นาวาอากาศโท พระเทวัญอำนวยเดช ใช้เวลาอยู่กับการปลูกและดูแลต้นไม้ซึ่งเป็นสิ่งที่รักเป็นชีวิตจิตใจ ต่อมาสุขภาพทรุดโทรมลง และเริ่มมีอาการป่วยจนถึงแก่กรรมในที่สุดจากเหตุตับวาย ณ โรงพยาบาลรามาธิบดี เมื่อวันอาทิตย์ที่ 26 กันยายน พุทธศักราช 2514 เวลา 19.05 นาฬิกา สิริอายุ 76 ปี 6 เดือน จัดการพระราชทานเพลิงศพ ณ ฌาปนสถานกองทัพบก วัดโสมนัสวิหาร ราชวรวิหาร เมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน พุทธศักราช 2516.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และพระเทวัญอำนวยเดช (เสรี สุวรรณานุช) · ดูเพิ่มเติม »

พลอย เลี้ยงประเสริฐ

ลอย เลี้ยงประเสริฐ เกิดเมื่อประมาณ พ.ศ. 2450 ที่บ้านท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และพลอย เลี้ยงประเสริฐ · ดูเพิ่มเติม »

พจนานุกรมกฎหมาย

แถวพจนานุกรมกฎหมายฉบับภาษาอังกฤษและภาษารัสเซีย พจนานุกรมกฎหมาย (law dictionary) เป็นพจนานุกรมประเภทหนึ่งซึ่งจัดทำขึ้นเพื่อให้นิยามสำหรับบรรดาคำที่ใช้ในทางกฎหมาย พจนานุกรมมีหลายรูปแบบแล้วแต่เกณฑ์การจัด เช่น เกณฑ์ภาษา ได้แก่ พจนานุกรมแบบเอกภาษา (monolingual) และแบบทวิภาษา (bilingual) เป็นต้น, เกณฑ์ความครอบคลุม ได้แก่ พจนานุกรมแบบครอบจักรวาล (single-field dictionary) ซึ่งครอบคลุมสาขาทั้งหมดในทางกฎหมาย ขณะอันซึ่งครอบคลุมบางสาขาจะเรียก พจนานุกรมแบบสาขาย่อย (sub-field dictionary), และเกณฑ์การกำหนดศัพท์ ได้แก่ แบบขั้นสูง (maximizing dictionary) คือที่กำหนดศัพท์ครอบคลุมทุกสาขาของกฎหมาย และแบบขั้นต่ำ (minimizing dictionary) เป็นต้น แซนโดร นีลเซน (Sandro Nielsen) ว่าใน ค.ศ. 1994 (พ.ศ. 2537) ว่า พจนานุกรมกฎหมายสามารถปฏิบัติหน้าที่ได้หลายแขนง ทั้งช่วยให้ผู้อ่านเข้าใจในบทบัญญัติที่ตนต้องการทำความเข้าใจด้วย เรียกว่าเป็นประโยชน์ในทางสื่อสาร (communicative benefit) และช่วยให้ผู้อ่านได้รับสารประโยชน์และความรู้ทางกฎหมายตามแต่ความสนใจ เรียกว่าเป็นประโยชน์ในทางเรียนรู้ (cognitive benefit) ซึ่งประโยชน์เหล่านี้มักปรากฏในพจนานุกรมกฎหมายแบบเอกภาษามากกว่า ขณะที่แบบทวิภาษานั้นมักประกอบด้วยคำศัพท์หรือคำอธิบายศัพท์ในสองภาษา อันจะช่วยยังความรู้เกี่ยวกับกฎหมายในภาษาต่างประเทศได้เป็นอย่างดี โดยเฉพาะเกี่ยวกับกฎหมายของต่างประเทศ ตลอดจนช่วยในการแปลกฎหมายจากภาษาหนึ่งเป็นภาษาหนึ่งด้วย อนึ่ง ตำราศัพทวิทยาทางกฎหมาย (legal terminology textbook) จะต่างจากพจนานุกรมกฎหมายซึ่งมีการเรียงคำศัพท์และให้คำอธิบายศัพท์ตามลำดับอักษร ตรงที่ตำราศัพทวิทยาจะลำดับศัพท์ตามหมวดหมู่หรือหัวเรื่องเป็นต้น ซึ่งผู้สนใจในคำศัพท์กฎหมายในหมวดหมู่หนึ่ง ๆ มักเปิดตำราศัพทวิทยาทางกฎหมายมากกว่าพจนานุกรมกฎหมาย สำหรับพจนานุกรมกฎหมายฉบับแรกของประเทศไทย คือ พจนานุกรมกฎหมายของ ขุนสมาหารหิตะคดี (โป๊ โปรคุปต์) ซึ่งมีคำโฆษณาบนปกว่า "พจนานุกรมกฎหมายเล่มแรกของประเทศไทย บรรจุคำตั้งแต่โบราณกาลถึงปัจจุบันกาล สำหรับความสะดวกในผู้ใคร่ศึกษาและผู้ต้องการทราบ" อย่างไรก็ดี ที่ว่า "ปัจจุบันกาล" บนปกนั้นหมายถึงกาลที่พจนานุกรมพิมพ์ขึ้น คือ พ.ศ. 2474 เท่านั้น แม้ว่าจะได้รับการพิมพ์ซ้ำเป็นครั้งที่สองใน พ.ศ. 2549 แต่พจนานุกรมฉบับนี้ยังมิได้รับการปรับปรุงนับแต่บัดนั้นจนบัดนี้ อย่างไรก็ดี ยังมีพจนานุกรมกฎหมายอีกหลายเล่มในภาษาไทยที่มีการปรับปรุงเสมอ เช่น พจนานุกรมศัพท์กฎหมายไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน ฯลฯ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และพจนานุกรมกฎหมาย · ดูเพิ่มเติม »

กรมสรรพสามิต

กรมสรรพสามิต (The Excise Department) เป็นหน่วยงานระดับกรม สังกัดกระทรวงการคลัง เป็นหน่วยงานที่ดำเนินการจัดเก็บ ภาษีสรรพสามิต เป็นภาษีที่จัดเก็บจากสินค้าและบริการซึ่งมีเหตุผลสมควรที่จะต้องรับภาระภาษีสูงกว่าปกติ เช่น บริโภคแล้วอาจก่อให้เกิดผลเสียต่อสุขภาพและศีลธรรมอันดี มีลักษณะฟุ่มเฟือย และสินค้าและบริการที่ได้รับผลประโยชน์เป็นพิเศษจากกิจการของรัฐ เป็นต้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และกรมสรรพสามิต · ดูเพิ่มเติม »

กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)

กระทรวงการต่างประเทศ (Ministry of Foreign Affairs) เป็นหน่วยงานราชการไทยประเภทกระทรวง มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับราชการต่างประเทศและราชการอื่น ตามที่มีกฎหมายกำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของกระทรวงการต่างประเทศ หรือส่วนราชการที่สังกัดกระทรวงการต่างประเท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และกระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

กรณีมุกเดน

ในวันที่ 18 กันยายน ค.ศ. 1931 ใกล้กับเมืองมุกเดน (หรือ เสิ่นหยางในปัจจุบัน) ทางแมนจูเรียตอนใต้ ส่วนหนึ่งของรางรถไฟซึ่งกองทัพญี่ปุ่นยังคงยึดครองอยู่ในขณะนั้นเกิดการระเบิดขึ้น กองทัพญี่ปุ่นจึงได้ใช้ข้ออ้างดังกล่าวในการรุกรานแมนจูเรีย และนำไปสู่การก่อตั้งแมนจูกัวในปีต่อมา ซึ่งเหตุการณ์ครั้งนี้เป็นส่วนหนึ่งของการรบในสงครามจีน-ญี่ปุ่นครั้งที่สอง ถึงแม้ว่าสงครามครั้งนี้จะปะทุขึ้นมาในปี ค.ศ. 1937 ก็ตาม เหตุการณ์ดังกล่าวมีชื่อเรียกกันหลายแบบ เช่น กรณีมุกเดน (Mukden Incident) ในญี่ปุ่นเรียก กรณีแมนจูเรีย (Manchurian Incident, 滿洲事變 หรือ 満州事変) ส่วนในจีนเรียก เหตุการณ์ 18 กันยายน (九•一八事变/九•一八事變 → Jiǔyībā Shìbiàn) หรือ เหตุการณ์หลิ่วเถียวโกว (柳条沟事变/柳條溝事變 → Liǔtiáogōu Shìbiàn).

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และกรณีมุกเดน · ดูเพิ่มเติม »

กฤษณ์ สีวะรา

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก กฤษณ์ สีวะรา อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม ผู้บัญชาการทหารบกคนที่ 19 ของไทย อดีตแม่ทัพภาคที่ 1 ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในเหตุการณ์ 14 ตุลา ในฐานะ ผู้อำนวยการรักษาความสงบ ภายหลังการลาออกจากทุกตำแหน่งและเดินทางออกนอกประเทศ ของจอมพล ถนอม กิตติขจร จอมพลประภาส จารุเสถียร พันเอกณรงค์ กิตติขจร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และกฤษณ์ สีวะรา · ดูเพิ่มเติม »

กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนชนิดส่องผ่าน

กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องผ่าน ปีค.ศ.1960 กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องผ่าน (TEM) (Transmission Electron microscope) ประดิษฐ์ขึ้นครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2474 โดยเอิร์นท์ รุสกา และคณะ โดยวัตถุที่นำมาส่องต้องมีขนาดเล็ก และเฉือนให้บางมาก ๆ ประมาณ 60 ถึง 90 ไมโครเมตร เหมาะสำหรับการศึกษาโครงสร้างภายในของเซลล์ ภาพที่ปรากฏบนจอเรืองแสงเป็นภาพ 2 มิติ มีกำลังขยายสูงมากถึง 500,000 ถึง 1,000,000 เท่า นอกจากจะใช้ศึกษาสิ่งมีชีวิต ยังใช้สำหรับส่องรูปผลึกของสารต่าง ๆ ในการวิเคราะห์ทางเคมีได้.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนชนิดส่องผ่าน · ดูเพิ่มเติม »

กล้องโทรทรรศน์วิทยุ

กล้องโทรทรรศน์วิทยุ Very Large Array ที่ รัฐนิวเม็กซิโก สหรัฐอเมริกา กล้องโทรทรรศน์วิทยุ เป็นอุปกรณ์ทางดาราศาสตร์ ใช้บันทึกและวัดสัญญาณคลื่นวิทยุจากวัตถุท้องฟ้าต่าง ๆ กล้องโทรทรรศน์วิทยุต่างจากกล้องโทรทรรศน์เชิงแสงตรงที่ปฏิบัติงานในความถี่ของคลื่นวิทยุที่ความยาวคลื่นตั้งแต่ 10 มิลลิเมตร ไปจนถึง 10-20 เมตร โดยทั่วไปจานเสาอากาศของกล้องโทรทรรศน์วิทยุจะมีรูปร่างเป็นพาราโบลา อาจอยู่เดี่ยว ๆ หรือประกอบกันเป็นแถวลำดับ ทำหน้าที่เปรียบเทียบได้กับกระจกของกล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสง กล้องโทรทรรศน์วิทยุนำไปสู่การค้นพบวัตถุใหม่และปรากฏการณ์ เช่น เควซาร์ พัลซาร์ และไมโครเวฟพื้นหลัง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และกล้องโทรทรรศน์วิทยุ · ดูเพิ่มเติม »

กว่างโจว

กว่างโจว กวางโจว หรือ กวางเจา (จีนตัวเต็ม: 廣州, จีนตัวย่อ: 广州 Guǎngzhōu หรือ Gwong2 zau1 ในภาษาจีนกวางตุ้ง) เป็นเมืองเอกของมณฑลกวางตุ้ง กว่างโจวเป็นเมืองใหญ่สุดทางภาคใต้ของสาธารณรัฐประชาชนจีนซึ่งเป็นมณฑลซึ่งเป็นที่ตั้งของเขตเศรษฐกิจพิเศษทั้ง 3 แห่งของจีน คือ เซินเจิ้น จูไห่ และ ซัวเถา นอกจากนั้นเมืองกว่างโจวยังมีสำเนียงเฉพาะถิ่นที่ถือว่าเป็นมาตรฐานของ ฮ่องกง และมาเก๊า เรียกว่า สำเนียงกว่างโจวอีกด้วย เมืองกว่างโจวตั้งอยู่ปากแม่น้ำจูเจียง และเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดทางตอนใต้ของสาธารณรัฐประชาชนจีน มีความประวัติศาสตร์ ยาวนานกว่า 2,800 ปี เป็นจุดเริ่มของเส้นทางสายไหมทางทะเลในครั้งอดีต และยังเคยเป็นเมืองท่าเสรีแห่งแรกและแห่งเดียวที่เปิดต้อนรับชาวตะวันตกที่เข้ามาติดต่อค้าขาย กว่างโจวแม้จะเป็นศูนย์กลางในการปฏิรูปเศรษฐกิจจีน แต่กว่างโจวยังมีภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ที่ยาวนานในรูปสถานที่สำคัญต่าง ๆ ปัจจุบันกว่างโจวมีบทบาทเป็นเมืองในเขตเศรษฐกิจการค้าที่มีความเจริญรุ่งเรืองมากที่สุดในภาคใต้ของจีน และยังได้รับสถานะเป็นหนึ่งในสามเมืองท่าที่สำคัญที่สุดของจีน อีกทั้งยังเป็นเมืองที่มีผลผลิตโดยรวมมากที่สุดด้วย นอกจากนั้นยังมีการคมนาคมขนส่งที่สะดวก ทันสมัย มีระบบรถไฟใต้ดินครอบคลุมเมืองชั้นในทั้งหมด รวมทั้งด้านภูมิอากาศ อาหาร การดำรงชีวิต ตลอดจนความเป็นอยู่ก็มีความคล้ายคลึงกับประเทศไทย กว่างโจวมีภาพลักษณ์ค่อนข้างแตกต่างจากเมืองทางเหนือ ซึ่งบรรยากาศที่เต็มไปด้วย "ราชการและเป็นทางการ" แต่ในกว่างโจวจะรู้สึกและรับรู้ได้ถึง "การค้าและความวุ่นวาย" กว่างโจว เคยใช้เป็นสถานที่หลักที่ใช้จัดการแข่งขันกีฬา เอเชียนเกมส์ 2010 ที่จีนเป็นเจ้าภาพ เมื่อปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และกว่างโจว · ดูเพิ่มเติม »

การบุกครองแมนจูเรียของญี่ปุ่น

การรุกรานแมนจูเรียของญี่ปุ่น เป็นเหตุการณ์ที่กองทัพคันโตของจักรวรรดิญี่ปุ่น เข้ารุกรานดินแดนแมนจูเรียของจีน ในเหตุการณ์สงครามจีน-ญี่ปุ่นครั้งที่ 2 เริ่มต้นขึ้นในวันที่ 18 กันยายน ค.ศ. 1931 ภายหลังการบุกยึดดินแดนมุกเดน ต่อมาเกิดการเจรจาพักรบตางกู ญี่ปุ่นได้ครอบครองดินแดนแมนจูเรียกระทั่งสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่สอง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และการบุกครองแมนจูเรียของญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

การพักรบตางกู

การเจรจาที่ตางกู การพักรบตางกู (Tangku Truce), เป็นการพักรบ ระหว่างประเทศจีนกับจักรวรรดิญี่ปุ่น ที่อำเภอตางกู เทียนจิน เมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม ค.ศ. 1933 อย่างเป็นทางการ ภายหลังญี่ปุ่นรุกรานแมนจูเรียเมื่อสองปีที่แล้ว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และการพักรบตางกู · ดูเพิ่มเติม »

การเลิกล้มราชาธิปไตย

ในประวัติศาสตร์โลก มีการล้มล้างสถาบันพระมหากษัตริย์ในหลายประเทศทั่วโลก สาเหตุการล่มสลายของราชวงศ์อาจเป็นผลมาจากการปฏิวัติ, การตั้งสาธารณรัฐ, การลงประชามติของประชาชน, การรัฐประหาร หรือจากสงคราม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และการเลิกล้มราชาธิปไตย · ดูเพิ่มเติม »

กิตติ สีหนนทน์

นายกิตติ สีหนนทน์ (14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2453 - 24 มกราคม พ.ศ. 2527) อดีตองคมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมในสมัยรัฐบาลนายสัญญา ธรรมศักดิ์ และอดีตรองประธานศาลฎีก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และกิตติ สีหนนทน์ · ดูเพิ่มเติม »

กุ้งขาว

กุ้งขาว (ชื่อวิทยาศาสตร์: Litopenaeus vannamei) มีลำตัวขาวใส ขามีสีขาว หางสีแดง โดยเฉพาะบริเวณปลายหางจะมีสีแดงเข้ม กรีจะมีแนวตรงปลายงุ้มลงเล็กน้อย เมื่อโตขึ้นฟันกรีด้านบนจะมี 8 ฟัน และด้านล่าง 2 ฟัน ความยาวของกรี จะยาวกว่าลูกตาไม่มาก ที่สังเกตเห็นเด่นชัดที่สุดคือลำไส้ของกุ้งชนิดนี้จะโตเห็นได้ชัด และตัวเมียจะใหญ่กว่าตัวผู้ กุ้งขาวแปซิฟิก (Litopenaeus Vannamei) หรือ Pacific white Shrimp หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า White Leg Shrimp เป็นกุ้งพื้นเมืองในทวีปอเมริกาใต้ พบอยู่ทั่วไปในบริเวณชายฝั่งของมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันออก จากตอนเหนือของประเทศเม็กซิโกจนถึงตอนเหนือของประเทศเปรู กุ้งชนิดนี้มีการเลี้ยงกันมากในประเทศเอกวาดอร์ เม็กซิโก เปรู ปานามา ฮอนดูรัส โคลัมเบีย และประเทศบราซิล ซึ่งประเทศบราซิลเป็นประเทศที่เริ่มเลี้ยงกุ้งขาวไม่กี่ปีมานี้ แต่มีผลผลิตเป็นจำนวนมาก เนื่องจากรัฐบาลประเทศบราซิลให้การสนับสนุนการเลี้ยงกุ้งขาวแปซิฟิกอย่างจริงจัง ทำให้ผลผลิตของประเทศบราซิลเพิ่มอย่างรวดเร็วจนเป็นอันดับ 1 ของประเทศในทวีปอเมริกาใต้ในขณะนี้.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และกุ้งขาว · ดูเพิ่มเติม »

ญิบรอน เคาะลีล ญิบรอน

ญิบรอน เคาะลีล ญิบรอน (جبران خليل جبران) หรือ คาห์ลีล จิบราน (Kahlil Gibran,; 6 มกราคม พ.ศ. 2426 – 10 เมษายน พ.ศ. 2474) เป็นกวี, นักเขียน และศิลปินชาวเลบานอน มีผลงานที่เป็นที่รู้จักกันดีคือ ปรัชญาชีวิต (The Prophet) ซึ่งเป็นตัวอย่างของงานเขียนแนวสร้างแรงบันดาลใจ (inspirational fiction) เขาเป็นกวีที่มีผลงานขายดีตลอดกาลเป็นอันดับ 3 รองจากเชกสเปียร์และเล่าจื๊อ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และญิบรอน เคาะลีล ญิบรอน · ดูเพิ่มเติม »

ฝันอเมริกัน

งชาติของสหรัฐฯ ในวอชิงตัน ดี.ซี. ธงแบบเบสซี รอสที่แขวนลงเป็นธงคลาสสิก “โอลด์กลอรี” รุ่น 50 รัฐ ความหมายโดยทั่วๆ ไปแต่เดิมของ “ความฝันอเมริกัน” อาจนิยามได้ว่าเป็น “ความเท่าเทียมทางโอกาสและเสรีภาพที่เอื้อให้พลเมืองบรรลุถึงเป้าหมายในชีวิตด้วยการทำงานหนักและด้วยความมุ่งมั่น ปัจจุบัน ความหมายโดยทั่วไปได้ปรับเปลี่ยนเป็นว่า ความมั่งคั่งของบุคคลขึ้นอยู่กับขีดความสามารถและการทำงานหนัก ไม่ขึ้นอยู่กับโครงสร้างระดับชั้นที่ตายตัวของสังคม ซึ่งความหมายนี้ไปเปลี่ยนไปตามเวลาของประวัติศาสตร์ สำหรับบางคน อาจหมายถึงโอกาสที่จะบรรลุความมั่งคั่งได้มากกว่าที่เคยได้ในประเทศเดิมที่ตนย้ายถิ่นมา บางคนอาจหมายถึงโอกาสที่บุตรหลานที่จะเจริญเติบโตในสิ่งแวดล้อมที่ดีและได้รับการศึกษาที่สูงขึ้นในสหรัฐฯ รวมทั้งโอกาสการได้งานที่ดี สำหรับบางคนอาจเป็นการได้โอกาสที่จะเป็นปัจจเกชนที่ปราศจากการกีดกันด้วยชนชั้นทางสังคม จากวรรณะ เชื้อชาติ เผ่าพันธุ์ หรือชาติพันธุ์ นิยามของความฝันอเมริกันดังกล่าว ณ ปัจจุบันยังคงเป็นหัวข้อที่ยังถกเถียงอภิปรายกันมากอยู่ และเช่นกันที่ “ชุดของความเชื่อ การตั้งข้อสมมุติฐานและรูปแบบของการประพฤติปฏิบัติที่เกี่ยวข้องกับความฝันอเมริกันที่เกาะตัวกันอย่างหลวมๆ ในขณะนี้ ซึ่งประกอบด้วย (1) เสรีภาพของบุคคลในการเลือกวิถีการดำเนินชีวิต (2) โอกาสที่จะเข้าถึงความมั่งคั่งได้โดยเสรี และ (3) การเสาะแสวงหาและการแลกเปลี่ยนเป้าประสงค์ร่วมระหว่างบุคคลกับสังคมของตน” Zangrando, Joanna Schneider and Zangrando, Robert L. "Black Protest: A Rejection of the American Dream".

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และฝันอเมริกัน · ดูเพิ่มเติม »

ภาพยนตร์ไทย

นตร์ไทย มีประวัติความเป็นมาที่ยาวนาน ภาพยนตร์ไทยเรื่องแรกถ่ายทำในเมืองไทย คือ เรื่อง นางสาวสุวรรณ ผู้สร้าง คือ บริษัทภาพยนตร์ ยูนิเวอร์ซัล ภาพยนตร์เรื่องนี้ใช้ผู้แสดงทั้งหมดเป็นคนไทย"" เว็บไซต์ rimpingfunds.com พ.ศ. 2470 ภาพยนตร์เรื่อง โชคสองชั้น เป็นภาพยนตร์ขนาด 35 มิลลิเมตร ขาว-ดำ ไม่มีเสียง ได้รับการยอมรับให้เป็นภาพยนตร์ประเภทเรื่องแสดงเพื่อการค้าเรื่องแรกที่สร้างโดยคนไทย ในช่วงหลัง พ.ศ. 2490 ถือเป็นช่วงยุคเฟื่องฟูของภาพยนตร์ไทย สตูดิโอถ่ายทำและภาพยนตร์มีจำนวนเพิ่มมากขึ้น หลังจากนั้นประเทศไทยเข้าสู่ช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ถือเป็นช่วงซบเซาของภาพยนตร์ไทย เมื่อสงครามโลกครั้งที่ 2 ยุติลง กิจการภาพยนตร์ในประเทศไทยค่อย ๆ ฟื้นคืนกลับมา ได้เปลี่ยนไปสร้างเป็นภาพยนตร์ขนาด 16 มิลลิเมตรแทน และเมื่อบ้านเมืองเข้าสู่ภาวะคับขัน ภาพยนตร์ไทยหลายเรื่องได้แสดงบทบาทของตนในฐานะกระจกสะท้อนปัญหาการเมือง และสังคม ในช่วงเวลาระหว่างปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และภาพยนตร์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยโอซากะ

มหาวิทยาลัยโอซากะ หรือย่อว่า ฮันได เป็นมหาวิทยาลัยในประเทศญี่ปุ่นในลักษณะของมหาวิทยาลัยวิจัย ตั้งอยู่ที่จังหวัดโอซากะ มีพื้นที่แยกออกเป็น 4 วิทยาเขต ใน ซุอิตะ โทะโยะนะกะ มิโน และ นะงะโนะชิมะ มีนักวิทยาศาสตร์ที่มีชื่อเสียงคือ ฮิเดะกิ ยุกะวะ นักฟิสิกส์รางวัลโนเบล.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และมหาวิทยาลัยโอซากะ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา

วิทยาเขตศรีราชา เป็นวิทยาเขตแห่งหนึ่งที่มีการเรียนการสอนของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เพื่อตอบสนองภาคอุตสาหกรรมและการท่องเที่ยวของประเทศไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา · ดูเพิ่มเติม »

มหาตมา คานธี

มหาตมา คานธี ใน ค.ศ. 1876 มหาตมา คานธี ใน ค.ศ. 1900 มหาตมา คานธี ใน ค.ศ. 1915 มหาตมา คานธี (Mahatma Gandhi) มีชื่อเต็มว่า โมหันทาส กะรัมจันท คานธี (મોહનદાસ કરમચંદ ગાંધી; Mohandas Karamchand Gandhi) เป็นผู้นำและนักการเมืองที่มีชื่อเสียงชาวอินเดียและศาสนาฮินดู.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และมหาตมา คานธี · ดูเพิ่มเติม »

มะซะอะกิ ฮะซึมิ

มะซาอะกิ ฮะซึมิ (ชื่อเดิม โยชิอะกิ ฮะซึมิ) เกิดเมื่อวันที่ 2 ธันวาคม ค.ศ. 1931 ที่เมืองโนดะ เริ่มฝึกเคนโดเมื่ออายุ 7 ปีกับพ่อของท่าน และเริ่มฝึกยูโดและคาราเต้ ต่อมาเมื่อเข้าขั้นมัธยมต้นท่านก็เริ่มเข้าไปฝึกมวยสากล และ ต่อมาเมื่อเข้ามหาวิทยาลัยท่านได้เข้าฝึกยูโด ท่านได้รับสายดำจาก ยูโด, เคนโด,คาราเต้ (ชิโต ริวและ เซ็นเบย์ บูโตคุไค),ไอคิโด,เคมโป และ โคบูโด ต่อมาเข้าไปสอนทหารอเมริกันในฐานทัพอเมริกันทโยโกฮาม่า ในตอนนั้นท่านได้เห็นว่าทหารอเมริกัน มีขนาดร่างกายที่ใหญ่กว่าคนญี่ปุ่นมาก ทำให้ท่านมองเห็นปัญหาเกี่ยวกับขนาดร่างกายที่มีผลในการต่อสู้จริง หลังจากที่เข้าพบและฝึกกับอาจารย์หลาย ๆ ท่านในสมัยนั้น รวมทั้ง Masaki ryu Manrikigusari, Masaki ryu Kusarigama และ Edo Machikata Jutte Torinawa Atsukaiyo ท่านได้พบและฝึกศิลปะการต่อสู้โบราณกับอาจารย์อูเอโน ทาคาชิ (Ueno Takashi) ผู้ที่เป็นผู้สืบทอดลำดับที่สิบสี่ ของ Gyokushin-ryu Koppo-Jutsu และได้รับ เม็งเกียวไคเด็น ในวิชาของ Asayama Ichiden ryu, Shinto Tenshin ryu, Bokuden ryu, Takagi Yoshin ryu, Kukishinden ryu และ Gyokushin ryu ซึ่งอาจารย์อูเอโน่ ทาคาชินี้ก็เป็น ผู้แนะนำอาจารย์มาซาอะกิเข้าพบกับอาจารย์ทากามะซึ เมื่อท่านอายุ 26 ก็ได้พบกับท่านอาจารย์ทากามะซึ (Takamatsu Toshitsugu) และได้ร่วมฝึกกับท่านอยู่ 15 ปี ก่อนท่านอาจารย์ทากามะซึเสียชีวิต (อายุ83ปี) ก่อนท่านอาจารย์ทากามะซึเสียชีวิต ได้ประกาศให้อาจารย์มาซาอะกิรับตำแหน่ง Soke.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และมะซะอะกิ ฮะซึมิ · ดูเพิ่มเติม »

มัลคอล์ม บราวน์

มัลคอล์ม บราวน์ (Malcolm Browne; 17 เมษายน ค.ศ. 1931 – 27 สิงหาคม ค.ศ. 2012) เป็นช่างภาพและนักหนังสือพิมพ์ชาวอเมริกัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และมัลคอล์ม บราวน์ · ดูเพิ่มเติม »

มาร์ชาเรอัล

ลามาร์ชาเรอัล (La Marcha Real แปลตามตัวว่า "เพลงมาร์ชหลวง" แปลเทียบเป็นภาษาไทยได้ว่า "เพลงสรรเสริญพระบารมี") เป็นเพลงชาติของราชอาณาจักรสเปน และเป็นหนึ่งในเพลงชาติจำนวนไม่กี่เพลงในโลกนี้ที่ไม่มีเนื้อร้อง เพลงลามาร์ชาเรอัลนี้เป็นหนึ่งในเพลงชาติที่เก่าแก่ที่สุดในยุโรป มีที่มาที่ไปไม่ชัดเจนนัก ปรากฏหลักฐานครั้งแรกในเอกสารชื่อ Libro de Ordenanza de los toques militares de la Infantería Española (หนังสือคู่มือทหารราบสเปนว่าด้วยสัญญาณแตรเดี่ยว) พิมพ์โดยมานวยล์ เด เอสปีโนซา เมื่อปี พ.ศ. 2304 ในหนังสือเล่มดังกล่าวเรียกชื่อเพลงนี้ว่า "ลามาร์ชากรานาเดรา" (La Marcha Granadera - เพลงมาร์ชทหารรักษาพระองค์) และไม่ระบุชื่อผู้ประพันธ์ไว้ ถึง พ.ศ. 2313 พระเจ้าการ์โลสที่ 3 ได้มีพระบรมราชโองการให้ใช้เพลงลามาร์ชากรานาเดราเป็นเพลงเกียรติยศในทางราชการ เนื่องจากเพลงนี้มักจะใช้บรรเลงในเวลาที่พระเจ้าแผ่นดินและพระราชวงศ์เสด็จพระราชดำเนินในที่สาธารณะและในพระราชพิธีต่าง ๆ อยู่เสมอ ต่อมาไม่นานนัก ชาวสเปนก็รับเอาเพลงนี้มาใช้เป็นเพลงชาติและขนานนามเสียใหม่ว่า "ลามาร์ชาเรอัล" (แปลตามตัวว่า เพลงมาร์ชของพระเจ้าแผ่นดินหรือเพลงมาร์ชหลวง) ดังปรากฏอยู่ในปัจจุบัน ในสมัยสาธารณรัฐสเปนที่ 2 (พ.ศ. 2474-2483) เพลงลามาร์ชาเรอัลถูกงดใช้ในฐานะเพลงชาติและแทนที่ด้วยเพลง "เอลอิมโนเดเรียโก" (El Himno de Riego) สมัยนี้เป็นสมัยที่เกิดสงครามกลางเมืองเป็นระยะเวลานาน เมื่อสิ้นสุดสงครามแล้ว จอมพลฟรานซิสโก ฟรังโกได้ปกครองประเทศในฐานะผู้เผด็จการ และนำเอาเพลงลามาร์ชาเรอัลกลับมาใช้เป็นเพลงชาติอีกครั้งในชื่อเพลง "ลามาร์ชากรานาเดรา" เพลงชาติสเปนฉบับปัจจุบันนี้ได้กำหนดให้ใช้ตามรัฐธรรมนูญแห่งสเปนฉบับ พ.ศ. 2522 โดยไม่มีเนื้อร้องประกอบ ในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2540 มีพระบรมราชโองการให้ใช้เพลงลามาร์ชาเรอัลเป็นเพลงชาติอย่างเป็นทางการสืบมาจนถึงทุกวันนี้ เพลงนี้มีใช้บรรเลงอยู่สองฉบับ คือ ฉบับสังเขป (ความยาวประมาณ 35 วินาที) และฉบับเต็ม (ความยาวประมาณ 1 นาที) ขึ้นอยู่กับว่าจะใช้บรรเลงในโอกาสใ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และมาร์ชาเรอัล · ดูเพิ่มเติม »

มาตราเมร์กัลลี

มาตราเมร์กัลลี (Mercalli scale) เป็นมาตราสำหรับใช้กำหนดขั้นความรุนแรงของแผ่นดินไหว คิดค้นโดยจูเซปเป เมร์กัลลี (Giuseppe Mercalli) ผู้เชี่ยวชาญแผ่นดินไหวชาวอิตาลี เมื่อ พ.ศ. 2445 โดยแบ่งไว้ 10 อันดับ ต่อมาในปี พ.ศ. 2474 แฮร์รี โอ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และมาตราเมร์กัลลี · ดูเพิ่มเติม »

มิ โก

มิ โก (Mi-go) มีอีกชื่อว่าราจากยุกกอธ (Fungi from Yuggoth) เป็นมนุษย์ต่างดาวซึ่งมีบทบาทในเรื่องชุดตำนานคธูลู มิ โกปรากฏตัวครั้งแรกในเรื่องสั้น The Whisperer in Darkness ซึ่งประพันธ์โดยเอช. พี. เลิฟคราฟท์ และเผนแพร่ในปีพ.ศ. 2474.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และมิ โก · ดูเพิ่มเติม »

มิกกี แมนเทิล

มิกกี แมนเติล ใน ค.ศ. 1953 มิกกี ชาลส์ แมนเทิล (Mickey Charles Mantle - 20 ตุลาคม พ.ศ. 2474 — 13 สิงหาคม พ.ศ. 2538) นักเบสบอลอเมริกันผู้รับการบรรจุชื่อไว้ใน "หอเกียรติยศเบสบอลแห่งชาติ" เมื่อ พ.ศ. 2517 แมนเติลเล่นในฐานะนักกีฬาอาชีพในสโมสรนิวยอร์กแยงกีตลอดเป็นเวลาต่อเนื่องรวม 18 ปี ได้รับการยกย่องเป็นนักเบสบอลออลสตาร์ 16 ครั้ง รางวัล อเมริกันลีก เอ็มพีวี (MVP, most valuable player) 3 ครั้ง สโมสรที่เขาเล่นได้เข้ารอบเพลย์ออฟ 12 ครั้ง และได้เป็นแชมป์ 3 ครั้ง นอกจากนี้แมนเติลยังครองสถิติโฮมรันของ "เวิลด์ซีรี" 18 ครั้ง อาร์บีไอ 40 ครั้ง สถิติการวิ่ง 42 ครั้ง ตีลูกเอกซ์ตราเบส 26 ครั้ง เบสปกติ 123 ครั้ง มิกกี แมนเทิล เกิดที่เมืองสปาวินาว รัฐโอคลาโฮมา ได้รับการตั้งชื่อจากบิดาตาม มิกกี คอแชรน ซึ่งเป็นนักเบสบอลผู้มีชื่อเสียงอยู่ในระดับหอเกียรติยศแห่งดีทรอยต์ เมื่อเข้าโรงเรียนก็ได้เป็นนักกีฬาเกือบทุกชนิดของโรงเรียน โดยเฉพาะเบสบอล การเล่นอเมริกันฟุตบอลทำให้แมนเทิลเกือบถูกตัดขา การบาดเจ็บนี้ทำให้แมนเติลได้รับยกเว้นจากการเกณฑ์ทหารในสงครามเกาหลี ซึ่งกลายเป็นจุดอ่อนที่ทำให้ "แฟน" ไม่ค่อยพอใจในระยะแรกๆ สโมสรแยงกีติดต่อเซ็นสัญญากับแมนเทิลแต่พบว่าแมนเติลอายุเพียง 16 ปีและยังเรียนชั้นมัธยม จึงรอและกลับมาเซ็นสัญญาอีกครั้ง เมื่อ..

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และมิกกี แมนเทิล · ดูเพิ่มเติม »

มณฑลพายัพ

มณฑลพายัพ เป็นมณฑลหนึ่งในการปกครองส่วนภูมิภาคระบบมณฑลเทศาภิบาลของราชอาณาจักรสยาม ครอบคลุมพื้นที่ภาคเหนือตอนบน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และมณฑลพายัพ · ดูเพิ่มเติม »

มณฑลมหาราษฎร์

มณฑลมหาราษฎร์ เป็นมณฑลหนึ่งในการปกครองส่วนภูมิภาคระบบมณฑลเทศาภิบาลของราชอาณาจักรสยามที่แบ่งออกจากมณฑลพายัพในปี พ.ศ. 2458 ครอบคลุมพื้นที่ทางด้านตะวันออกของมณฑลพายัพเดิม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และมณฑลมหาราษฎร์ · ดูเพิ่มเติม »

มณฑลเฮย์หลงเจียง

มณฑลเฮย์หลงเจียง (จีนตัวย่อ: 黑龙江省; จีนตัวเต็ม: 黑龍江省)ชื่อย่อ เฮย (黑)ชื่อ เฮยหลงเจียง มาจากชื่อแม่น้ำสายที่ใหญ่ที่สุดในมณฑล มีเมืองหลวงชื่อว่า ฮาร์บิน ซึ่งตั้งอยู่ในประเทศแมนจูกัว อดีตที่ประเทศถูกญี่ปุ่นเข้ายึดในปี พ.ศ. 2474 มณฑลเฮย์หลงเจียง มีประชากรประมาณ 39 ล้านคน มีเนื้อที่ 454,000 ตาราง ก.ม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และมณฑลเฮย์หลงเจียง · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการทะเลสาบคาซาน

ทธการทะเลสาบคาซาน (Battle of Lake Khasan) หรือ เหตุการณ์ชางกูเฟิง (จีนและญี่ปุ่น: 張鼓峰事件, พินอิน: Zhānggǔfēng Shìjiàn, การออกเสียงแบบญี่ปุ่น: Chōkohō Jiken) ซึ่งเป็นความขัดแย้งทางทหารระหว่าง แมนจูกัว ซึ่งเป็นดินแดนยึดครองของจักรวรรดิญี่ปุ่นได้รุกล้ำอาณาเขตเข้าไปยังดินแดนของสหภาพโซเวียต การรุกล้ำอาณาเขตดังกล่าวนั้นเกิดจากความเชื่อของฝ่ายญี่ปุ่นที่ว่าสหภาพโซเวียตตีความตามสนธิสัญญาปักกิ่งผิดไป ซึ่งเป็นสนธิสัญญาที่ได้รับการลงนามมาตั้งแต่สมัยจักรวรรดิรัสเซีย และประเทศจีนสมัยราชวงศ์ชิงแล้ว และนอกเหนือจากนั้น เครื่องหมายกั้นอาณาเขตของทั้งสองฝ่ายก็ไม่มีความแน่นอน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และยุทธการทะเลสาบคาซาน · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทย

รายพระนาม รายนาม เสนาบดี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทย · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์

ราชวงศ์ (Dynasty) คือ ลำดับของผู้ปกครองจากตระกูลเดียวกันOxford English Dictionary, "dynasty, n." Oxford University Press (Oxford), 1897.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และราชวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์บูร์บง

ราชวงศ์บูร์บง (ฝรั่งเศส: Maison de Bourbon; สเปน: Casa de Borbón; อังกฤษ: House of Bourbon) เป็นหนึ่งในราชวงศ์ที่สำคัญที่สุดในทวีปยุโรป ซึ่งได้ปกครองประเทศฝรั่งเศสในคริสต์ศตวรรษที่ 16 เป็นต้นมา และเมื่อถึงคริสต์ศตวรรษที่ 18 สมาชิกในราชวงศ์บูร์บงก็ได้ปกครองประเทศสเปน เมืองเนเปิลส์ เกาะซิซิลี และเมืองปาร์มาในประเทศอิตาลีด้วย ในปัจจุบันประเทศที่ยังคงมีสมาชิกในราชวงศ์บูร์บงปกครองอยู่คือราชอาณาจักรสเปนและราชรัฐลักเซมเบิร์ก กษัตริย์แห่งราชวงศ์บูร์บงเริ่มการปกครองครั้งแรกในปี พ.ศ. 2098 (ค.ศ. 1555) ที่เมืองนาวาร์ (ตอนเหนือของประเทศสเปนและทางใต้ของประเทศฝรั่งเศส) และพอมาถึงปี พ.ศ. 2132 (ค.ศ. 1589) ราชวงศ์บูร์บงก็ได้ปกครองประเทศฝรั่งเศสทั้งประเทศ จนมาถึงสิ้นสุดลงในปี พ.ศ. 2335 (ค.ศ. 1792) เมื่อครั้งการปฏิวัติฝรั่งเศส ถึงแม้จะมีการฟื้นฟูขึ้นมาใหม่อีกครั้ง แต่ก็ดำรงอยู่ได้เพียง 24 ปี ก็ได้มีการล้มล้างระบอบกษัตริย์ลง พระเจ้าเฟลีเปที่ 5 แห่งสเปนทรงเป็นกษัตริย์พระองค์แรกแห่งราชวงศ์บูร์บงที่ได้ปกครองประเทศสเปน ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2243 (ค.ศ. 1700) ได้มีการโค่นล้ม แก่งแย่ง และฟื้นฟูใหม่อยู่ตลอดเวลา จนมาถึงปัจจุบันซึ่งมีสมเด็จพระราชาธิบดีเฟลิเปที่ 6 แห่งสเปนทรงเป็นประมุขแห่งประเทศสเปนอยู่ ส่วนทางประเทศลักเซมเบิร์กนั้น ได้มีการอภิเษกสมรสระหว่างราชวงศ์ จึงนับได้ว่าทางฝ่ายราชสำนักลักเซมเบิร์กนั้นก็มีเชื้อสายราชวงศ์นี้เช่นกัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และราชวงศ์บูร์บง · ดูเพิ่มเติม »

ราชสันตติวงศ์ในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย

มเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย เจ้าชายอัลเบิร์ต พระราชสวามี พระราชสันตติวงศ์ในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย (Descendants of Queen Victoria) เป็นเรื่องราวของการสืบสายพระโลหิตของพระราชโอรสและธิดาทั้งหมด 9 พระองค์ในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร (อเล็กซานดรินา วิกตอเรีย; 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2362 - 22 มกราคม พ.ศ. 2444 เสวยราชสมบัติ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2380) โดยมีพระราชนัดดา 42 พระองค์ และพระราชปนัดดา (เหลน) 88 พระองค์ แต่ละพระองค์จึงเป็นทั้งพี่น้องกันหรือพระญาติชั้นที่หนึ่งซึ่งกันและกัน (first cousin) และด้วยการอภิเษกสมรสเข้าไปยังราชสำนักต่างๆ ในทวีปยุโรป พระองค์จึงทรงมีผลกระทบต่อโชคชะตาของราชวงศ์ยุโรปอย่างมาก ทรงมีความเกี่ยวข้องทางสายพระโลหิตและการอภิเษกสมรสกับราชวงศ์สเปน เยอรมนี กรีซ รัสเซีย โรมาเนีย ยูโกสลาเวีย นอร์เวย์ สวีเดน และเดนมาร์ก จึงทำให้ทรงได้รับพระราชสมัญญาว่า สมเด็จย่าแห่งยุโรป (Grandmother of Europe) สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียเป็นพระมหากษัตริย์ที่ครองราชสมบัติยาวนานที่สุดในประวัติศาสตร์อังกฤษ เป็นเวลา 63 ปีเศษ ระหว่างปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และราชสันตติวงศ์ในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2474

รายชื่อภาพยนตร์ไทย ที่ออกฉายครั้งแรกใน พ.ศ. 2474.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และรายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2474 · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อธงในประเทศสเปน

นี้คือธงต่างๆ ที่ใช้ในประเทศสเปน ทั้งในอดีตและปัจจุบัน สำหรับข้อมูลเพิ่มเติมของธงชาติ ดูที่ ธงชาติสเปน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และรายชื่อธงในประเทศสเปน · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อธงในประเทศอินเดีย

งในหน้านี้ เป็นธงต่างๆ ที่มีการใช้และเคยใช้ในสาธารณรัฐอินเดี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และรายชื่อธงในประเทศอินเดีย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อธงในประเทศแคนาดา

นื้อหาต่อไปนี้ว่าด้วยธงต่างๆ ที่มีการใช้ในประเทศแคน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และรายชื่อธงในประเทศแคนาดา · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อธงในประเทศเบลเยียม

นื้อหาต่อไปนี้ว่าด้วยธงประเภทต่างๆ ที่มีการใช้ในราชอาณาจักรเบลเยียม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และรายชื่อธงในประเทศเบลเยียม · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อโรงเรียนประจำจังหวัดในประเทศไทย

รายชื่อโรงเรียนประจำจังหวัดในประเทศไทย เป็นบทความที่รวบรวมรายชื่อโรงเรียนประจำจังหวัดโดยจำแนกตามจังหวั.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และรายชื่อโรงเรียนประจำจังหวัดในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อโรงเรียนในจังหวัดนครนายก

ต่อไปนี้เป็นรายชื่อโรงเรียนในจังหวัดนครนายก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และรายชื่อโรงเรียนในจังหวัดนครนายก · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์สเปน

รายพระนามพระมหากษัตริย์สเปน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และรายพระนามพระมหากษัตริย์สเปน · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามคู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์สเปน

รายพระนามสมเด็จพระราชินี, สมเด็จพระราชินีนาถ และ เจ้าฟ้าชายพระราชสวามีแห่งสเปน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และรายพระนามคู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์สเปน · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามคู่อภิเษกสมรสในราชวงศ์มูฮัมหมัดอาลี

รายพระนามพระคู่ครองในราชวงศ์มูฮัมหมัดอาลี เป็นพระยศของคู่สมรสของกษัตริย์แห่งอียิปต์ในช่วงราชวงศ์มูฮัมหมัดอาลี ซึ่งตำแหน่งนี้ได้เริ่มการใช้ในรัชสมัยของพระเจ้าฟูอัดที่ 1 แห่งอียิปต์ (ครองราชย์ 1917-1936) ซึ่งได้เปลี่ยนแปลงพระยศของพระองค์เองจากสุลต่านแห่งอียิปต์เป็นกษัตริย์แห่งอียิปต์พร้อมกับตำแหน่งพระคู่สมรสด้วย โดยผู้ที่ได้รับแต่งตั้งพระยศสมเด็จพระราชินีแห่งอียิปต์พระองค์แรกคือ สมเด็จพระราชินีนาซลีแห่งอียิปต์ (1919-1936) ส่วนพระราชินีองค์สุดท้ายคือสมเด็จพระราชินีฟาดิลาแห่งอียิปต์ (1976-1999) แม้ว่าจะเสกสมรสภายหลังจากที่พระเจ้าฟูอัดที่ 2 แห่งอียิปต์ สละราชบัลลังก์แล้วก็ตาม แต่พระองค์ก็ยังถือเป็นผู้อ้างสิทธิในตำแหน่งสมเด็จพระราชินีแห่งอียิปต์ ภายหลังฟาดิลาก็ได้หย่าขาดจากพระราชสวามี ปัจจุบันจึงดำรงพระยศเป็นเจ้าหญิงนอกราชบัลลังก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และรายพระนามคู่อภิเษกสมรสในราชวงศ์มูฮัมหมัดอาลี · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามและรายนามอภิรัฐมนตรีและกรรมการองคมนตรีไทย

และนี่คือรายพระนามและรายนามอภิรัฐมนตรีและกรรมการองคมนตรีไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และรายพระนามและรายนามอภิรัฐมนตรีและกรรมการองคมนตรีไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.

รื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์ เครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์ (The Most Illustrious Order of the Royal House of Chakri) มีอักษรย่อว่า ม..ก. มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประธานเครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์และทรงไว้ซึ่งพระราชอำนาจที่จะพระราชทานและเรียกคืนเครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์นี้ได้ ปัจจุบัน เครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์มีจำนวน 25 สำรับ สำหรับพระมหากษัตริย์ 1 สำรับ สมเด็จพระบรมราชินี 1 สำรับ และพระราชทานแก่พระบรมวงศานุวงศ์ที่สืบเนื่องโดยตรงในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกหรือผู้ซึ่งพระบรมวงศานุวงศ์ดังกล่าวได้เสกสมรสด้วยอีก 23 สำหรับ นอกจากนี้ ยังสามารถพระราชทานแก่ประมุขของต่างประเทศซึ่งไม่นับรวมใน 25 สำรับอีกด้วย โดยมีพระนามผู้ที่ได้รับพระราชทานเครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์ เช่น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และรายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก. · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน น.ร.

รื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นโบราณมงคลนพรัตนราชวราภรณ์ (ฝ่ายหน้า) เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นโบราณมงคลนพรัตนราชวราภรณ์ มีอักษรย่อว่า น.ร. เป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่มีความเป็นมาสืบแต่ครั้งกรุงศรีอยุธยา เครื่องราชอิสริยาภรณ์ตระกูลนี้ มีเฉพาะชั้นสายสะพายชั้นเดียว ทั้งนี้ ผู้รับพระราชทานต้องเป็นพุทธมามกะเท่านั้น และจะประดับเครื่องราชอิสริยาภรณ์นี้ในงานมงคล หรืองานที่มีหมายกำหนดการระบุไว้เท่านั้น เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นโบราณมงคลนพรัตนราชวราภรณ์ จัดเป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่มีลำดับเกียรติเป็นลำดับที่ 3 รองจากเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นมงคลยิ่งราชมิตราภรณ์และเครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์ และเป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นสูงสุดที่สามัญชนจะได้รับพระราชทาน โดยมีรายพระนามและรายนาม เช่น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และรายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน น.ร. · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)

ทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ มีอักษรย่อว่า ท..ว. เป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ในตระกูลเครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นที่ 2 ซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจะพระราชทานทั้งฝ่ายหน้า (บุรุษ) และฝ่ายใน (สตรี) โดยทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษจัดเป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่มีลำดับเกียรติอันดับที่ 13 ของเครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย สำหรับฝ่ายใน ทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษมีจำนวน 100 สำรับ สตรีที่ได้รับพระราชานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นนี้ สามารถใช้คำนำหน้านามว่า "ท่านผู้หญิง" สำหรับผู้ที่สมรสแล้ว หรือ "คุณ" สำหรับผู้ที่ยังไม่ได้สมรส สำหรับสตรีในราชสกุล ชั้นหม่อมเจ้าขึ้นไปให้ใช้คำนำพระนามตามเดิม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และรายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน) · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานปฐมจุลจอมเกล้า

ปฐมจุลจอมเกล้า ฝ่ายหน้า ปฐมจุลจอมเกล้า ฝ่ายใน เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประธานของเครื่องอิสริยาภรณ์ รวมทั้งทรงไว้ซึ่งพระราชอำนาจที่จะพระราชทานแก่ผู้ที่ทรงพระราชดำริเห็นสมควรและเรียกคืนเครื่องราชอิสริยาภรณ์นี้ได้ ปัจจุบัน เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นปฐมจุลจอมเกล้า แบ่งออกสำหรับพระราชทานฝ่ายหน้าจำนวน 30 สำรับ และฝ่ายในจำนวน 20 สำรับ นอกจากนี้ ยังสามารถพระราชทานแก่เจ้านายหรือผู้มีเกียรติจากต่างประเทศซึ่งไม่นับรวมกับจำนวนดังกล่าว รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานปฐมจุลจอมเกล้า (ไม่รวมพระนามของผู้ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ตระกูลจุลจอมเกล้าในชั้นที่สูงขึ้น ได้แก่ ปฐมจุลจอมเกล้าวิเศษ) ตั้งแต่สถาปนาเครื่องราชอิสริยาภรณ์ เช่น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และรายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานปฐมจุลจอมเกล้า · ดูเพิ่มเติม »

รายการเครื่องราชอิสริยาภรณ์ต่างประเทศของพระราชวงศ์ไทยแยกตามประเทศ

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และรายการเครื่องราชอิสริยาภรณ์ต่างประเทศของพระราชวงศ์ไทยแยกตามประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

รายนามอธิบดีกรมประมง

้านล่างนี้คือรายนามเจ้ากรมรักษาสัตว์น้ำ อธิบดีกรมการประมง และอธิบดีกรมประมง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และรายนามอธิบดีกรมประมง · ดูเพิ่มเติม »

รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทย

รายพระนาม รายนาม ผู้บัญชาการทหารบก แห่งกองทัพบกไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และรายนามผู้บัญชาการทหารบกไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายนามคู่สมรสและคู่ครองประธานาธิบดีฝรั่งเศส

ู่สมรสและคู่ครองประธานาธิบดีฝรั่งเศส ('épouse du président de la République française) คือผู้ที่เป็นภรรยาประมุขแห่งรัฐ (ประธานาธิบดี) ของประเทศฝรั่งเศส ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน มีคู่สมรสและคู่ครองประธานาธิบดีฝรั่งเศสจำนวนทั้งสิ้น 25 คน ทั้งนี้ฝรั่งเศสไม่มีตำแหน่งสุภาพสตรีหมายเลขหนึ่งแต่อย่างใด สุภาพสตรีคนล่าสุดคือบรีฌิต มาครง ภริยาแอมานุแอล มาครง ประธานาธิบดี เข้ารับตำแหน่งในวันที่ 14 พฤษภาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และรายนามคู่สมรสและคู่ครองประธานาธิบดีฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

รายนามประธานาธิบดีฟินแลนด์

ประธานาธิบดีของประเทศฟินแลนด์ ทำหน้าที่เป็นประมุขของประเทศ มีอำนาจบริหารร่วมกับคณะรัฐมนตรี ประธานาธิบดีได้รับการเลือกตั้งโดยตรงและดำรงตำแหน่งเป็นเวลา 6 ปี นับตั้งแต่พ.ศ. 2534 เป็นต้นมา ประธานาธิบดีของฟินแลนด์ไม่สามารถดำรงตำแหน่งมากกว่าสองสมัยได้ ประธานาธิบดีจำเป็นต้องเป็นถือสัญชาติฟินแลนด์โดยกำเนิด ผู้ดำรงตำแหน่งคนปัจจุบันคือประธานาธิบดีเซาลี นีนิสเตอ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และรายนามประธานาธิบดีฟินแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

รายนามประธานาธิบดีสาธารณรัฐฝรั่งเศส

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และรายนามประธานาธิบดีสาธารณรัฐฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

รายนามประธานาธิบดีสาธารณรัฐจีน

งสาธารณรัฐจีน ทำเนียบที่ทำการประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐจีนที่กรุงไทเป ไต้หวัน รายนามต่อไปนี้เป็นรายนาม ประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐจีน ตั้งแต่ (ค.ศ. 1912 ถึง ปัจจุบัน) ในสาธารณรัฐจีนตำแหน่งประธานาธิบดีจะเรียกว่า (ซ่งถ่ง) และตั้งแต..

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และรายนามประธานาธิบดีสาธารณรัฐจีน · ดูเพิ่มเติม »

รายนามนายกรัฐมนตรีญี่ปุ่น

งประจำตำแหน่งนายกรัฐมนตรีแห่งญี่ปุ่น รายนาม นายกรัฐมนตรีแห่งญี่ปุ่น ซึ่งเป็นตำแหน่งผู้นำรัฐบาลของจักรวรรดิญี่ปุ่นและประเทศญี่ปุ่น ตามราชธรรมนูญเมจิในรัชสมัยเมจิ องค์จักรพรรดิทรงเป็นผู้เลือกและแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีจวบจนสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่สอง ภายหลังจากนั้น นายกรัฐมนตรีจึงมีที่มาจากการลงมติของสภาผู้แทนราษฎร โดยมีองค์จักรพรรดิเป็นผู้แต่งตั้งตามขนบธรรมเนียม จวบจนถึงปัจจุบัน ญี่ปุ่นมีนายกรัฐมนตรีมาแล้ว 62 คน ใน 96 คณะรัฐมนตรี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และรายนามนายกรัฐมนตรีญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

รายนามนายกรัฐมนตรีฝรั่งเศส

ก่อนปี พ.ศ. 2502 ประเทศฝรั่งเศสไม่ปรากฏว่ามีการเรียกตำแหน่งหัวหน้าคณะรัฐบาลอย่างเป็นทางการว่า นายกรัฐมนตรี (Premier Ministre) เนื่องจากในอดีตภายใต้การปกครองของกษัตริย์ หลายครั้งที่คำนี้ใช้เรียกแทนประธานรัฐมนตรีของกษัตริย์ แม้ต่อมาในช่วงรัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 3 รัฐมนตรีท่านหนึ่งในรัฐมนตรีสภาได้ดำรงตำแหน่งเป็นทั้ง ประธานรัฐมนตรีสภา (Président du Conseil des Ministres) และยังเป็นที่รู้จักกันอย่างไม่เป็นทางการในนาม "หัวหน้ารัฐมนตรีสภา" ซึ่งในปัจจุบันเรียกว่า นายกรัฐมนตรี (Premier Ministre) อีกด้วย ซึ่งเป็นการไม่เหมาะสม เป็นการรวบอำนาจเบ็ดเสร็จในบุคคลเดียว โดยเป็นทั้งประธานาธิบดีเอง และเป็นหัวหน้ารัฐมนตรีสภา (นายกรัฐมนตรี) ทำหน้าที่เป็นประธานในการประชุมสภา และหัวหน้าฝ่ายบริหารคณะรัฐมนตรี เวลาต่อมา ในการทำให้ชื่อตำแหน่ง "นายกรัฐมนตรี" มีผลบังคับทางกฎหมาย แทนที่ตำแหน่ง หัวหน้ารัฐมนตรีสภา นั้นก็ได้กลายเป็นตำแหน่ง "นายกรัฐมนตรี" อย่างเป็นทางการในปี พ.ศ. 2489 ภายใต้รัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 4 และต่อมาได้ถูกนำมาบัญญัติคำว่า "นายกรัฐมนตรี" (Premier Ministre) ภายใต้รัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 5 ในปี พ.ศ. 2502 ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2413 ประเทศฝรั่งเศสได้มีหัวหน้าคณะรัฐบาล (ในปัจจุบันเรียก "นายกรัฐมนตรี") 142 ท่าน (138 ท่าน นับตั้งแต่ช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2) หัวหน้าคณะรัฐบาล (ในปัจจุบันเรียก "นายกรัฐมนตรี") ตั้งแต่รัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 2, จักรวรรดิฝรั่งเศสที่ 2, กษัตริย์แห่งเดือนกรกฎาคม, ราชวงศ์บูร์บงฟื้นฟู ถึงปัจจุบันมีทั้งสิ้น 174 ท่าน ภายใต้ระยะเวลา 193 ปี รัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 2 - ปัจจุบัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และรายนามนายกรัฐมนตรีฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

รายนามนายกรัฐมนตรีสหราชอาณาจักร

นี่เป็นรายนามของ นายกรัฐมนตรีแห่งบริเตนใหญ่ ระหว่าง..

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และรายนามนายกรัฐมนตรีสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลออสการ์

รางวัลออสการ์ อะแคเดมีอะวอร์ด ("รางวัลสถาบัน") หรืิอ ออสการ์ เป็นรางวัลทางภาพยนตร์ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในโลก จัดโดยสถาบันศิลปะและวิชาการทางภาพยนตร์ (หรือ) เริ่มจัดครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และรางวัลออสการ์ · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลออสการ์ สาขานักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม

รางวัลออสการ์ สาขานักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม เป็นหนึ่งในรางวัลออสการ์โดยสถาบันศิลปะและวิชาการทางภาพยนตร์เพื่อมอบให้กับนักแสดงหญิงผู้มีการแสดงที่โดดเด่นในการทำงานกับอุตสาหกรรมภาพยนตร์ ในอดีตจนถึงงานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 49 (ปีค.ศ. 1977) รางวัลนี้ใช้ชื่อว่า รางวัลออสการ์ สาขาการแสดงโดยนักแสดงหญิง (Academy Award of Merit for Performance by an Actress) หลังจากนั้นจึงได้เปลี่ยนชื่อเป็น รางวัลออสการ์ สาขานักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม (Academy Award for Best Actress) เหล่านักแสดงหญิงจะได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงในสาขารางวัลนี้โดยสมาชิกออสการ์ผู้ซึ่งเป็นนักแสดงด้วยกันเอง และผู้ที่ได้รับรางวัลจะถูกเลือกจากสมาชิกทุกคน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และรางวัลออสการ์ สาขานักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์

หรียญรางวัลโนเบล รางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์ (Nobelpriset i fysiologi eller medicin, Nobel Prize in Physiology or Medicine) จัดโดยมูลนิธิโนเบล มีการมอบทุกปีให้แก่การค้นพบที่โดดเด่นในสาขาวิทยาศาสตร์สิ่งมีชีวิตและแพทยศาสตร์ รางวัลโนเบลสาขาดังกล่าวเป็นหนึ่งในห้าสาขา ริเริ่มในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และรางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์ · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลโนเบลสาขาเคมี

หรียญรางวัลโนเบล รางวัลโนเบลสาขาเคมี (Nobelpriset i kemi, Nobel Prize in Chemistry) เป็นรางวัลมอบโดยราชบัณฑิตยสถานด้านวิทยาศาสตร์แห่งสวีเดนเป็นประจำทุกปีแก่นักวิทยาศาสตร์ในสาขาต่างๆ ของเคมี รางวัลนี้เป็นหนึ่งในห้ารางวัลโนเบลซึ่งก่อตั้งจากความประสงค์ของอัลเฟรด โนเบลใน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และรางวัลโนเบลสาขาเคมี · ดูเพิ่มเติม »

รุจน์ รณภพ

รุจน์ รณภพ (พ.ศ. 2474บางแหล่งก็ว่า พ.ศ. 2474 บางแหล่งก็ว่า พ.ศ. 2475 ส่วนวันที่นั้นบางแหล่งระบุว่า 17 กรกฎาคม บางแหล่งระบุว่า 13 กรกฎาคม — 27 ธันวาคม พ.ศ. 2552) มีชื่อจริงว่า สุรินทร์ เจริญปุระ อดีตนักแสดง นักเขียนบท ผู้กำกับภาพยนตร์ และผู้กำกับละครโทรทัศน์ เข้าเรียนที่โรงเรียนวิศวกรรมรถไฟ มักกะสัน เลขประจำตัว 1286 เมื่อปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และรุจน์ รณภพ · ดูเพิ่มเติม »

ลัทธิเหนือจริง

“Arrested Expansion หรือ Cardiac Arrest” โดย จอร์จ กรี (George Grie) ลัทธิเหนือจริง หรือ เซอร์เรียลลิซึม (Surrealism) เป็น “ลัทธิ” หรือ “ขบวนการ” ทางวรรณศิลป์และทัศนศิลป์ที่เกิดขึ้นในฝรั่งเศสช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง อ็องเดร เบรอตง (Andre Breton) เข้าร่วมเป็นสมาชิกกลุ่มดาดา (Dadaism) ที่มีเป้าหมายใช้ความก้าวร้าวรุนแรงเพื่อต่อต้านสงคราม ต่อต้านค่านิยมของชนชั้นกลางทุกชนิดรวมทั้งคริสต์ศาสนา ต้องการทำลายขนบประเพณีที่ชนชั้นกลางสะสมไว้รวมทั้งศิลปวรรณคดีด้วย หลังจากร่วมทำกิจกรรมกับกลุ่มดาดาอยู่ระยะหนึ่งเบรอตงกับเพื่อนก็แยกตัวออกมาตั้งกลุ่มใหม่ คือ กลุ่มเซอร์เรียลลิซึม ซึ่งยังรับเอาความก้าวร้าวมุ่งทำลายค่านิยมของชนชั้นกลางของดาดามาเป็นฐานแต่มุ่งสร้างค่านิยมใหม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และลัทธิเหนือจริง · ดูเพิ่มเติม »

ลาร์รี แฮคแมน

ลาร์รี มาร์ติน แฮคแมน (Larry Hagman) เกิดเมื่อวันที่ 21 กันยายน ค.ศ. 1931 เป็นนักแสดงภาพยนตร์และนักแสดงโทรทัศน์ที่รู้จักกันมากที่สุดในการเล่นน้ำมันบารอนหิน J. R. Ewing ในช่วงยุค 1980 ทางรายการละครโทรทัศน์ที่สำคัญ ดาลัส ปัจจุบันได้เสียชีวิตลงเมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายน ค.ศ. 2012 ด้วยวัย 81 ปีจากภาวะแทรกซ้อนของโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวอย่างเฉียบพลัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และลาร์รี แฮคแมน · ดูเพิ่มเติม »

วรรณคดีสโมสร

วรรณคดีสโมสร จัดตั้งขึ้นโดยพระราชกฤษฎีกาตั้งวรรณคดีสโมสร..

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และวรรณคดีสโมสร · ดูเพิ่มเติม »

วัดพระบาทมิ่งเมืองวรวิหาร

วัดพระบาทมิ่งเมืองวรวิหาร ตั้งอยู่ถนนเจริญเมือง อำเภอเมืองแพร่ จังหวัดแพร่ แต่เดิมเป็นวัดราษฎร์ต่อมาในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และวัดพระบาทมิ่งเมืองวรวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วัดพระแม่สกลสงเคราะห์

วัดพระแม่สกลสงเคราะห์ (Beata Maria Virginis Omnis Gratiae Mediatricis; The Blessed Virgin Mary The Mediatrix of all Graces Church) เป็นโบสถ์โรมันคาทอลิก ขนาดใหญ่ที่สุดในเขตอำเภอบางบัวทอง จังหวัดนนทบุรี ตั้งอยู่ ณ เลขที่ 179 หมู่ 5 ตำบลโสนลอย บนที่ดินบริเวณหลังตลาดสดเทศบาลเมืองบางบัวทอง ริมคลองขุนพระพิมลราชา ใกล้กับถนนกาญจนาภิเษก มีพิธีเสกวัดเป็นครั้งแรก เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1927 (พ.ศ. 2470) โดยมีการจัดสร้างอาคารวัดขึ้นใหม่อีก 2 ครั้ง ในรอบ 65 ปี ทั้งนี้ วัดพระแม่สกลสงเคราะห์หลังปัจจุบัน มีพิธีเสกเมื่อวันที่ 16 สิงหาคม ค.ศ. 1992 (พ.ศ. 2535) ปัจจุบัน (ตั้งแต่ 13 พฤษภาคม ค.ศ. 2009) มีคุณพ่อยอห์น บัปติสตา บุญเสริม เนื่องพลี ดำรงตำแหน่งอธิการ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และวัดพระแม่สกลสงเคราะห์ · ดูเพิ่มเติม »

วัดฤทธิ์ศิริราษฎร์เจริญธรรม

วัดฤทธิ์ศิริราษฎร์เจริญธรรมเป็นวัดที่มีประวัติความเป็นมายาวนานคู่กับวัดคุ้งยางใหญ่ หรือที่เรียกว่า "วัดใหญ่" ส่วนวัดฤทธิ์จะเป็นที่รับรู้กันในชุมชนว่า "วัดน้อย" คือใช้ที่ตั้งวัดในเชิงภูมิศาสตร์และขนาดเป็นตัวกำหนด โดยวัดจะเป็นศูนย์กลางชุมชนอีกฟากหนึ่งของ"คลอง"บ้านสวนกับชุมชนวัดคุ้งยางใหญ่ ที่เชื่อมต่อจากแม่น้ำยมที่ใช้เป็นทางสัญจรและแหล่งน้ำในการเกษตร อุปโภคบริโภคในชุมชนชาวบ้านสวนนับแต่ครั้งอดีต.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และวัดฤทธิ์ศิริราษฎร์เจริญธรรม · ดูเพิ่มเติม »

วัดสุทธจินดาวรวิหาร

วัดสุทธจินดาวรวิหาร เป็นพระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดวรวิหาร สังกัดคณะสงฆ์ธรรมยุติกนิกาย ขอพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อ พ.ศ. 2470 ตกมาและปักเขตเสร็จปี พ.ศ. 2471 มีเขตวิสุงคามสีมากว้าง 40 เมตรยาว 80 เมตร ทำพิธีผูกพัทธสีมา เมื่อวันที่ 11 - 12 สิงหาคม พ.ศ. 2474 และได้สถาปนาเป็นพระอารามหลวง เมื่อวันที่ 23 มกราคม พ.ศ. 2478 ในรัชกาลที่ 8 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ มีเนื้อที่ประมาณ 24 ไร่ 3 งาน 9 ตารางวา ตั้งอยู่ ถนนราชดำเนิน ด้านทิศตะวันดก ตรงข้ามศาลากลางจังหวัด ตำบลในเมือง อำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา เจ้าอาวาสวัดคือ พระธรรมโสภณ (โกศล สิรินฺธโร).

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และวัดสุทธจินดาวรวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วัดหนองนกชุม

วัดหนองนกชุม ตั้งอยู่เลขที่ 1 บ้านหนองนกชุม หมู่ที่ 1 ตำบลโคกสะอาด อำเภอหนองแซง จังหวัดสระบุรี มีฐานะเป็นวัดราษฎร์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย พื้นที่ตั้งวัดมีเนื้อที่ 10 ไร่ 3 งาน 35 ตารางวา โฉนดที่ดินเลขที่ 10376.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และวัดหนองนกชุม · ดูเพิ่มเติม »

วัดท่าถนน (อุตรดิตถ์)

วัดท่าถนน เดิมชื่อ วัดวังเตาหม้อ อยู่ตรงข้ามสถานีรถไฟอุตรดิตถ์ ประดิษฐานหลวงพ่อเพ็ชร พระพุทธรูปเชียงแสนสิงห์ 1 หล่อด้วยทองสัมฤทธิ์ทั้งองค์ ในบริเวณวัดมีอาคารศิลปะแบบตะวันตก สร้างเมื่อ พ.ศ. 2474 เป็นโรงเรียนปริยัติธรรมและภาษาบาลีของพระภิกษุสามเณรในเมือง มีลักษณะสถาปัตยกรรมสวยงาม และอุโบสถซึ่งมีภาพจิตรกรรมฝาผนังซึ่งได้รับยกย่องว่าสวยงามที่สุดในจังหวัดอุตรดิต.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และวัดท่าถนน (อุตรดิตถ์) · ดูเพิ่มเติม »

วัดปากน้ำ ภาษีเจริญ

วัดปากน้ำ ภาษีเจริญ เป็นพระอารามหลวงชั้นตรี ตั้งอยู่ ณ ที่ราบลุ่มบางกอกซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา ตั้งอยู่ริมคลองหลวงหรือ คลองบางกอกใหญ่ อันเป็นลำแม่น้ำเจ้าพระยาเดิม ก่อนที่จะมีการขุดคลองลัดหน้าวัดอรุณราชวรารามและกลายเป็นลำแม่น้ำเจ้าพระยาในปัจจุบัน เนื่องจากวัดตั้งอยู่บริเวณปากคลองด่านที่แยกไปจากคลองบางหลวงอีกทีหนึ่ง ชื่อของวัดจึงถูกเรียกขานตามตำบลที่ตั้งว่า วัดปากน้ำ ซึ่งชื่อนี้มีปรากฏเรียกใช้ในจดหมายเหตุโบราณหลายฉบับ แต่ได้พบชื่อของวัดที่แปลกออกไปในแผนที่กรุงเทพฯ พ.ศ. 2453 และ พ.ศ. 2474 ว่า วัดสมุทธาราม แต่ไม่เป็นที่นิยมเรียกขานกันอย่างนั้น คงเรียกว่า วัดปากน้ำ มาโดยตลอด ในสมัยรัชกาลที่ 4 ได้มีการขุดคลองภาษีเจริญที่ข้างวัดด้านทิศตะวันตก วัดจึงมีลำน้ำหลักล้อมอยู่ทั้ง 3 ด้าน ส่วนด้านใต้เป็นคลองเล็กแสดงอาณาเขตของวัดในสมัยก่อน วัดปากน้ำ เป็นวัดโบราณสร้างมาแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาตอนกลาง (ระหว่าง พ.ศ. 2031-2172) สถาปนาโดยพระราชวงศ์ในสมัยกรุงศรีอยุธยา แต่ไม่ปรากฏพระนามแน่ชัด เป็นวัดประจำหัวเมืองธนบุรี ปรากฏในตำนานเรื่องวัตถุสถานต่างๆ ซึ่งพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสถาปนาว่าเป็นพระอารามหลวงครั้งกรุงศรีอยุธยา อันหมายถึงพระอารามที่พระเจ้าแผ่นดินหรือพระมเหสีทรงสถาปนาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยานั้น หลักฐานทางโบราณวัตถุและโบราณสถานภายในวัดมีอายุย้อนไปถึงสมัยอยุธยาตอนกลาง ได้พบร่องรอยคลองเล็กด้านทิศใต้และทิศตะวันตกของวัด ที่โบราณขุดไว้เป็นแนวเขตที่ดินของวัดหลวงสมัยอยุธยา ที่ตั้งของวัดปากน้ำจึงมีลักษณะเป็นเกาะรูปสี่เหลี่ยมมีน้ำล้อมอยู่ทุกด้าน สถาปัตยกรรมและศิลปวัตถุที่อยู่คู่วัดมาเช่น หอพระไตรปิฏก ตู้พระไตรปิฎกทรงบุษบก ล้วนเป็นฝีมือช่างหลวงสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช และตัวพระอุโบสถก็ใช้เทคนิคการก่อสร้างในสมัยนั้น ได้ค้นพบนามเจ้าอาวาส 1 รูป ในสมัยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระที่นั่งสุริยาสน์อมรินทร์ (พระเจ้าเอกทัศ) คือ พระครูธนะราชมุนี วัดปากน้ำ ได้มีบทบาทสำคัญมาแต่โบราณเพราะได้รับสถาปนาเป็นพระอารามหลวงที่อยู่นอกกรุงศรีอยุธยา เป็นวัดสำคัญประจำหัวเมืองหน้าด่านทางทะเล ในจดหมายเหตุสมัยต้นกรุงรัตนโกสินทร์ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกได้เสด็จพระราชดำเนินทางชลมารคถวายผ้าพระกฐินหลวง ณ วัดปากน้ำ ตลอดรัชกาลวัดปากน้ำได้รับการบูรณปฏิสังขรณ์มาโดยตลอด คือ ได้รับพระราชทานพระราชทรัพย์จากสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชในการซ่อมหลังคาพระอุโบสถคราวหนึ่ง ต่อมาพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 3 ได้บูรณปฏิสังขรณ์ใหญ่ในตอนต้นกรุงรัตนโกสินทร์ และให้คงรูปแบบสถาปัตยกรรมสมัยกรุงศรีอยุธยาไว้ ครั้นถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 5 ทางวัดได้รับพระบรมราชานุญาตบูรณปฏิสังขรณ์ครั้งใหญ่เกือบทั้งอารามโดยให้อนุรักษ์ศิลปะเดิมไว้ และได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พระบรมวงศานุวงศ์นำพระกฐินหลวงมาถวายตลอดรัชกาล ในสมัยรัชกาลที่ 6 วัดปากน้ำได้ชำรุดทรุดโทรมลง ไม่มีเจ้าอาวาสประจำพระอาราม มีแต่ผู้รักษาการที่อยู่ในอารามอื่น ทางเจ้าคณะปกครองได้ส่งพระสมุห์สด จนฺทสโร จากวัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามมาดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาส ซึ่งท่านได้กวดขันพระภิกษุสามเณรให้ปฏิบัติในพระธรรมวินัยอย่างเคร่งครัด ที่สำคัญได้มีการสอนสมถวิปัสสนากัมมัฏฐาน ส่งเสริมการศึกษาพระปริยัติธรรมตั้งสำนักเรียนทั้งนักธรรมและบาลี สร้างโรงเรียนพระปริยัติธรรมที่ทันสมัยที่สุดในสมัยนั้น ทำให้พระภิกษุสามเณร และสาธุชนเข้ามาขอศึกษาและปฏิบัติธรรมเป็นจำนวนมาก วัดจึงเจริญขึ้นมาโดยลำดับ กลายเป็นศูนย์กลางการปฏิบัติธรรม และเป็นศูนย์กลางการศึกษาบาลี ท่านได้รับพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้าฯ ตั้งสมณศักดิ์เป็นพระราชาคณะฝ่ายวิปัสสนาธุระ และได้รับพระราชทานเลื่อนสมณศักดิ์มาโดยลำดับ สมณศักดิ์สุดท้ายในพระราชทินนามที่ พระมงคลเทพมุนี แต่ผู้คนทั่วไปรู้จักและเรียกขานนามท่านว่า หลวงพ่อวัดปากน้ำ ในสมัยสมเด็จพระวันรัต (ปุ่น ปุณฺณสิริ) ดำรงตำแหน่งรักษาการเจ้าอาวาส (ในกาลต่อมาท่านได้รับพระราชทานสถาปนาพระอิสริยยศเป็น สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (ปุ่น ปุณฺณสิริ) ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช) วัดปากน้ำได้รับการปรับปรุงทัศนียภาพและบูรณปฏิสังขรณ์ครั้งสำคัญ เช่น พระอุโบสถ พระวิหาร ช่างได้เปลี่ยนสถาปัตยกรรมเครื่องบนเป็นศิลปะสมัยรัตนโกสินทร์เกือบทั้งอาราม แต่ตัวรากฐานและอาคารยังคงเป็นของโบราณแต่เดิมมา ถึงสมัยพระเดชพระคุณท่านเจ้าพระคุณสมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์ (ช่วง วรปุญฺโญ ป.ธ. 9) เจ้าอาวาสวัดปากน้ำรูปปัจจุบัน วัดปากน้ำได้พัฒนาอย่างมากในด้านการศึกษาพระปริยัติธรรม มีพระภิกษุสามเณรสอบได้เปรียญธรรม 9 ประโยคในนามวัดปากน้ำเป็นจำนวนมาก และการปฏิบัติภาวนาตามแนวหลวงพ่อวัดปากน้ำก็ได้รับการส่งเสริมสนับสนุนให้มีสถานที่ปฏิบัติ คือ หอเจริญวิปัสสนาเป็นเอกเทศ และมีผู้เข้าปฏิบัติเป็นจำนวนมากทุกวัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และวัดปากน้ำ ภาษีเจริญ · ดูเพิ่มเติม »

วัดป่าวิเวกธรรม

วัดป่าวิเวกธรรม หรือ วัดเหล่างา เป็นวัดป่าอรัญวาสี สังกัดนิกายเถรวาท คณะสงฆ์ธรรมยุติกนิกาย ก่อตั้งวัดเมื่อปี พ.ศ. 2471 โดยคณะพระกรรมฐานลูกศิษย์หลวงปู่มั่น ภูริทตฺโต นำโดย หลวงปู่สิงห์ ขนฺตยาคโม มาเผยแผ่พระพุทธศาสนาสายวิปัสสนากรรมฐาน และตั้งสำนักสงฆ์อบรมปฎิบัติกรรมฐานขึ้น ซึ่งกลายเป็นศูนย์กลางพระพุทธศาสนาฝ่ายอรัญวาสีของภาคอีสานตอนกลางในขณะนั้น ต่อมาได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 19 กรกฎาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และวัดป่าวิเวกธรรม · ดูเพิ่มเติม »

วัดโพธิ์ตาก

วัดโพธิ์ตาก หรือ วัดโพธิ์ สังกัดนิกายเถรวาท คณะสงฆ์มหานิกาย ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2430 โดยมี พระอาจารย์อินทร์ อินฺทสาโร เป็นเจ้าอาวาสรูปแรก และมีพระเถระที่มีชื่อเสียงคือ พระครูญาณวิสุทธิคุณ (กอง) หรือ พระอุปัชฌาย์กอง อดีตเจ้าอาวาส ซึ่ง วัดโพธิ์ตาก ตั้งอยู่ในเขตเทศบาลเมืองพิบูลมังสาหาร อำเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี ห่างจากตัวอำเภอเมืองอุบลราชธานี ประมาณ 45 กิโลเมตร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และวัดโพธิ์ตาก · ดูเพิ่มเติม »

วาสนา บุญภูพันธ์ตันติ

นายวาสนา บุญภูพันธ์ตันติ (เกิด 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2474) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดกระบี่ 3 สมั.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และวาสนา บุญภูพันธ์ตันติ · ดูเพิ่มเติม »

วิชิต แสงทอง

นายวิชิต แสงทอง เป็นอดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลพลเอก เปรม ติณสูลานนท์ และเป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดศรีสะเกษ 2 สมั.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และวิชิต แสงทอง · ดูเพิ่มเติม »

วิกตอเรีย ยูจีนีแห่งบัทเทนแบร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งสเปน

้าหญิงวิกตอเรีย ยูจีนีแห่งบัทเทนแบร์ก (Princess Victoria Eugenie of Battenberg; พระนามเต็ม วิกตอเรีย ยูจีนี จูเลีย เอนา; 24 ตุลาคม พ.ศ. 2430 - 15 เมษายน พ.ศ. 2512) ทรงเป็นสมเด็จพระราชินีมเหสีในพระเจ้าอัลฟอนโซที่ 13 แห่งสเปน และพระราชนัดดาพระองค์หนึ่งในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย นอกจากนี้สมเด็จพระราชาธิบดีควน การ์โลสที่ 1 แห่งสเปน ยังเป็นพระราชนัดดาของพระองค์อีกด้ว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และวิกตอเรีย ยูจีนีแห่งบัทเทนแบร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งสเปน · ดูเพิ่มเติม »

วิม อันเดอรีเซิน จูเนียร์

ราร์ดึส วิลเลม "วิม" อันเดอรีเซิน จูเนียร์ (Gerardus Willem "Wim" Anderiesen Jr.; 2 กันยายน พ.ศ. 2474 – 27 มกราคม พ.ศ. 2560) เป็นนักฟุตบอลชาวดัตช์ ผู้ซึ่งเล่นให้กับอาเอฟเซ อายักซ์ในตำแหน่งกองหลัง ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และวิม อันเดอรีเซิน จูเนียร์ · ดูเพิ่มเติม »

วิลสัน เบนต์ลีย์

วิลสัน เบนต์ลีย์ ภาพเกล็ดหิมะ ถ่ายโดยเบนต์ลีย์ ประมาณปี ค.ศ. 1902 วิลสัน อัลวิน "สโนว์เฟลก" เบนต์ลีย์ (Wilson Alwyn "Snowflake" Bentley; 7 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1865 – 23 ธันวาคม ค.ศ. 1931) เป็นช่างภาพชาวอเมริกัน เป็นหนึ่งในช่างภาพคนแรก ๆ ที่ถ่ายภาพเกล็ดหิมะ เบนต์ลีย์เกิดที่เมืองเจอริโค รัฐเวอร์มอนต์ เขาสนใจผลึกน้ำแข็งมาตั้งแต่สมัยเป็นวัยรุ่นและทดลองติดกล้องเข้ากับกล้องจุลทรรศน์ วิธีนี้ทำให้เบนต์ลีย์สามารถถ่ายภาพเกล็ดหิมะภาพแรกได้ในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และวิลสัน เบนต์ลีย์ · ดูเพิ่มเติม »

วิหารพระมงคลบพิตร

วิหารพระมงคลบพิตร เป็นวัดอารามหลวงตั้งอยู่ที่ตำบลประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ทางทิศใต้ของวัดพระศรีสรรเพชญ์ มีจุดเด่นที่สำคัญคือเป็นวัดเก่าแก่ในเขตกำแพงเมือง ที่ได้รับการบูรณะอย่างดี ภายในวิหารมีพระมงคลบพิตร พระพุทธรูปประธานขนาดใหญ่ที่เสียหายตั้งแต่เสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง แต่ได้รับการบูรณะใหม่ทั้งหมด ด้วยทองสำริดหุ้มทองตามปัจจุบัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และวิหารพระมงคลบพิตร · ดูเพิ่มเติม »

วิจิตร สุคันธพันธุ์

นายวิจิตร สุคันธพันธุ์ (1 ธันวาคม พ.ศ. 2474 - ???) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสงขลา 1 สมั.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และวิจิตร สุคันธพันธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นพรัตน์วชิระ

วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นพรัตน์วชิระ เป็นสถานศึกษาสังกัดสถาบันพระบรมราชชนก โดยเป็นสถาบันสมทบของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โดยเปิดสอนนิสิตในสายพยาบาลศาสตร์ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีนพรัตน์วชิระมีวิวัฒนาการมาจากโรงเรียนผดุงครรภ์แห่งแรกในประเทศไทยตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2475.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นพรัตน์วชิระ · ดูเพิ่มเติม »

วิเชียร นีลิกานนท์

วิเชียร นีลิกานนท์ (26 ธันวาคม พ.ศ. 2474 — 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557) เป็นอดีตนักแสดง ข้าราชการกรมประชาสัมพันธ์ พิธีกรและผู้บรรยายกีฬาชกมวย พระเอกละครวิท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และวิเชียร นีลิกานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

สกุลชินวัตร

ทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรี สกุลชินวัตร เป็นสกุลที่ดำเนินกิจกรรมทางการเมืองและธุรกิจมากมายในปัจจุบัน โดยมีเส็ง แซ่คูเป็นต้นตระกูล ซึ่งอพยพย้ายถิ่นฐานมาจากสาธารณรัฐประชาชนจีน มายังจังหวัดจันทบุรี ประเทศไทย ต่อมาได้ย้ายไปตั้งรกรากที่จังหวัดเชียงใหม่ ในพ.ศ. 2454 เชียง แซ่คู บุตรชายคนโตของครอบครัวได้เริ่มต้นธุรกิจทอผ้าไหมในจังหวัดเชียงใหม่ จนในปัจจุบันเป็นกิจการผ้าไหมที่มีมายาวนานที่สุดของประเทศไทย สกุลชินวัตรเป็นที่รู้จักมากยิ่งขึ้นเมื่อทักษิณ ชินวัตร สมาชิกรุ่นที่ 3 ได้ดำเนินธุรกิจต่างๆ อาทิเช่น เครือค่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่เอไอเอส จนประสบความสำเร็จ และได้เข้าสู่การเมืองในเวลาต่อมา พร้อมทั้งมีสมาชิกคนอื่นๆ ตามมา ซึ่งทำให้สกุลชินวัตรเป็นที่รู้จักมากในด้านของการเมืองในปัจจุบัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และสกุลชินวัตร · ดูเพิ่มเติม »

สมศาสตร์ รัตนสัค

ร้อยโทสมศาสตร์ รัตนสัค (3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2474 - 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2554) อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม และ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงราย 7 สมั.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และสมศาสตร์ รัตนสัค · ดูเพิ่มเติม »

สมุทร มงคลกิติ

ร.สมุทร มงคลกิติ เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในรัฐบาลนายชวน หลีกภัย (ชวน 1) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร 4 สมัย และอดีตรองหัวหน้าพรรคพลังธรรม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และสมุทร มงคลกิติ · ดูเพิ่มเติม »

สมเดช ยนตรกิจ

มเดช ยนตรกิจ หรือ สำรวย ธานี (เกิดเมื่อ 2 มิถุนายน พ.ศ. 2474 ที่จังหวัดสุพรรณบุรี เสียชีวิตวันที่ 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554 ที่โรงพยาบาลทหารผ่านศึก)ปิดตำนาน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และสมเดช ยนตรกิจ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต

อมพล จอมพลเรือ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต (29 มิถุนายน พ.ศ. 2424 — 18 มกราคม พ.ศ. 2487) ชาววังออกพระนามโดยลำลองว่า ทูลกระหม่อมชาย หรือ ทูลกระหม่อมบริพัตร ทรงดำรงตำแหน่งที่สำคัญทางการทหาร ตำแหน่งเสนาธิการทหารบก ผู้บัญชาการกรมทหารเรือ เสนาบดีกระทรวงทหารเรือ เสนาธิการทหารบก เสนาบดีกระทรวงกลาโหม เสนาบดีกระทรวงมหาดไทย และผู้สำเร็จราชการรักษาพระนคร ทรงดำรงตำแหน่งองคมนตรีในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวและพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว นอกจากนี้ยังทรงพระปรีชาสามารถในงานดนตรี ทรงได้รับการขนานพระนามเป็น "พระบิดาแห่งเพลงไทยเดิม" ทรงพระนิพนธ์เพลงไทย เพลงฝรั่งและเพลงไทยเดิมไว้มากมาย ทรงนิพนธ์เพลง วอทซ์ปลื้มจิต, วอทซ์ชุมพล, สุดเสนาะ, เพลงมหาฤกษ์, เพลงพญาโศก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าศรีสว่างวัฒนา

มเด็จพระเจ้าศรีสว่างวัฒนา มีพระนามเต็มว่า พระบาทสมเด็จพระเจ้าเชษฐาขัติยวงศา พระมหาศรีสว่างวัฒนา (ພຣະບາດສົມເດັດພຣະເຈົ້າເຊດຖາຂັດຕິຍະວົງສາ ພຣະມະຫາສີສະຫວ່າງວັດທະນາ) หรือ เจ้ามหาชีวิตศรีสว่างวัฒนา (ເຈົ້າມະຫາຊີວິດສີສະຫວ່າງວັດທະນາ)สะกดด้วยอักขรวิธีเก่าว่า ພຣະບາທສົມເດັຈພຣະເຈົ້າເຊສຖາຂັຕິຍວົງສາ ພຣະມຫາສຣີສວ່າງວັທນາ ปริวรรต: พระบาทสมเด็จพระเจ้าเชสถาขัติยวงสา พระมหาสรีสว่างวัทนา และ ເຈົ້າມຫາຊີວິຕສຣີສວ່າງວັທນາ ปริวรรต: เจ้ามหาชีวิตสรีสว่างวัทนา ตามลำดับ (ສົມຈິຕ ພັນລັກ. (2012) ພາສາລາວລ້ານຊ້າງ ກ່ອນປີ ພ.ສ 2478; ຄ.ສ 1935 ສະບັບຄົ້ນຄວ້າ. ສົມມະນາ ການພິມ ສປປ ລາວ.) เป็นพระมหากษัตริย์องค์สุดท้ายแห่งราชอาณาจักรลาว ก่อนที่จะถูกฝ่ายปะเทดลาวยึดอำนาจเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวใน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และสมเด็จพระเจ้าศรีสว่างวัฒนา · ดูเพิ่มเติม »

สวัสดิ์ โชติพานิช

นายสวัสดิ์ โชติพานิช (เกิด 17 ตุลาคม พ.ศ. 2474 ที่ ตำบลลำปำ อำเภอเมืองจังหวัดพัทลุง) อดีตประธานศาลฎีกา อดีตกรรมการการเลือกตั้ง ฝ่ายสืบสวนสอบสวน ชุดที่ 1 ดำรงตำแหน่งระหว่าง 27 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และสวัสดิ์ โชติพานิช · ดูเพิ่มเติม »

สวนโมกขพลาราม

ีฌาปนกิจร่างพุทธทาสภิกขุ ณ สวนโมกขพลาราม สวนโมกขพลาราม หรือชื่อเรียกทางการว่า วัดธารน้ำไหล จัดตั้งโดย พุทธทาสภิกขุ ตั้งที่เขาพุทธทอง ริมทางหลวงหมายเลข 41 บริเวณกิโลเมตรที่ 134 อำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี เพื่อให้เป็นสถานที่ปฏิบัติธรรมและสถานที่เผยแผ่พระพุทธศาสนาที่มีชื่อเสียงไปทั่วโลก ท่านพุทธทาส หรือ พระมหาเงื่อม ในเวลานั้น พร้อมด้วยโยมน้องชาย คือ นายยี่เกย หรือ คุณธรรมทาส พานิช และ เพื่อนในคณะธรรมทานประมาณ 4 - 5 คน เท่านั้น ที่ร่วมรับรู้ถึงปณิธานอันมุ่งมั่นในการปฏิบัติธรรม ตามรอยพระอรหันต์ ของท่าน ทุกคนเต็มอกเต็มใจ ที่จะหนุนช่วยด้วยความศรัทธา โดยพากันออกเสาะหาสถานที่ ซึ่งคิดว่ามี ความวิเวก และ เหมาะสมจะเป็นสถานที่ เพื่อทดลองปฏิบัติธรรม ตามรอยพระอรหันต์ สำรวจกันอยู่ประมาณเดือนเศษ ก็พบ วัดร้าง เนื้อที่ประมาณ 60 ไร่ ชื่อ วัดตระพังจิก ซึ่งรกร้างมานาน บริเวณเป็น ป่ารกครึ้ม มีสระน้ำใหญ่ ซึ่งร่ำลือกันว่ามีผีดุอาศัยอยู่ เมื่อเป็นที่พอใจแล้ว คณะอุบาสก ดังกล่าว ก็จัดทำเพิงที่พัก อยู่หลัง พระพุทธรูปเก่า ซึ่งเป็น พระประธาน ใน วัดร้าง นั้น แล้วท่านก็เข้าอยู่ใน วัดร้างแห่งนี้ เมื่อวันทื่ 12 พฤษภาคม 2475 อันตรงกับ วันวิสาขบูชา โดยมี อัฐบริขาร ตะเกียง และ หนังสืออีกเพียง 2 - 3 เล่ม ติดตัวไป เท่านั้น เข้าไปอยู่ได้ไม่กี่วัน วัดร้าง นาม ตระพังจิก นี้ ก็ได้รับการตั้งนามขึ้นใหม่ ซึ่งท่านเห็นว่า บริเวณใกล้ที่พักนั้น มี ต้นโมก และ ต้นพลา ขึ้นอยู่ทั่วไป จึงคิดนำคำทั้งสองมาต่อเติมขึ้นใหม่ ให้มีความหมายใน ทางธรรม จึงเกิดคำว่า สวนโมกขพลาราม อันหมายถึง สวนป่าอันเป็นกำลังแห่งความหลุดพ้นทุกข์ ขึ้นในโลกตั้งแต่บัดนั้นเป็นต้นม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และสวนโมกขพลาราม · ดูเพิ่มเติม »

สหราชอาณาจักรใน ค.ศ. 1931

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1931 ในสหราชอาณาจักร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และสหราชอาณาจักรใน ค.ศ. 1931 · ดูเพิ่มเติม »

สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่สอง

นิโต มุสโสลินีกับอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ สองผู้นำเผด็จการในทวีปยุโรปก่อนและระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง สาเหตุเบื้องต้นของสงครามโลกครั้งที่สอง คือ ความตึงเครียดเกี่ยวกับชาตินิยม ประเด็นปัญหาที่ไม่ได้รับการแก้ไข และความไม่พอใจอันเป็นผลสืบเนื่องมาจากสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง และสมัยระหว่างสงครามในทวีปยุโรป รวมทั้งผลกระทบของภาวะเศรษฐกิจตกต่ำครั้งใหญ่ในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1930 เหตุการณ์ต่าง ๆ ได้ลงเอยด้วยการปะทุของสงคราม ซึ่งมักเป็นที่เข้าใจว่าเป็นการบุกครองโปแลนด์ โดยนาซีเยอรมนี ความก้าวร้าวทางทหารนี้เป็นผลมาจากการตัดสินใจของผู้นำของเยอรมนีและญี่ปุ่น สงครามโลกครั้งที่สองเริ่มต้นขึ้นจากการปฏิบัติอันก้าวร้าวและบรรจบกับการประกาศสงคราม และ/หรือ การต่อต้านด้วยกำลัง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และสาเหตุของสงครามโลกครั้งที่สอง · ดูเพิ่มเติม »

สำนักงานแม่กองบาลีสนามหลวง

ำนักงานแม่กองบาลีสนามหลวง เป็นหน่วยงานจัดการศึกษาพระปริยัติธรรมแผนกบาลีของคณะสงฆ์ไทย ภายใต้การดูแลของมหาเถรสมาคม (คู่กับสำนักงานแม่กองธรรมสนามหลวง) ซึ่งอยู่ในความอุปถัมภ์ของรัฐบาลไทย หน้าที่หลักคือกำหนดเปลี่ยนแปลงการใช้คัมภีร์เรียนในหลักสูตรเปรียญธรรม 1-9 ให้เหมาะสมกับชั้นเรียนของแต่ละประโยค รวมทั้งการจัดสอบประเมินผลการศึกษาบาลีระดับชาติ โดยมีสำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติเป็นผู้รับสนองงาน ภายใต้การกำกับดูแลของมหาเถรสมาคม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และสำนักงานแม่กองบาลีสนามหลวง · ดูเพิ่มเติม »

สิปปนนท์ เกตุทัต

ตราจารย์กิตติคุณ สิปปนนท์ เกตุทัต (23 กุมภาพันธ์ 2474 — 16 กรกฎาคม 2549) ราชบัณฑิตกิตตมศักดิ์ เป็นนักวิทยาศาสตร์ชาวไทย ทีมีคุณูปการต่อวงการศึกษา วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี อุตสาหกรรม และการพัฒนาประเทศไทยในภาพรวม ท่านเป็นผู้บุกเบิกหลายสิ่งในประเทศ ที่เป็นรากฐานทำให้เกิดองค์กรและโครงการที่ช่วยในการยกระดับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี การศึกษา ของประเทศมาโดยลำดับ ท่านมีผลงานเขียน ที่จุดประกายให้เยาวชนไทย และผู้บริหารการพัฒนาประเทศได้ใช้นำทางจำนวนมาก และในวาระที่ท่านดำรงตำแหน่งประธานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ท่านได้กราบทูลขอพระราชทานพระบรมราชานุญาตเพื่อนำเอา ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการวางแผนการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทย และเป็นผู้ก่อตั้งมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ถึงแก่อนิจกรรมเมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2549 เวลา 13:08 น. ที่โรงพยาบาลศิริราช ด้วยโรคมะเร็งในกระดูก รวมอายุ 75 ปี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และสิปปนนท์ เกตุทัต · ดูเพิ่มเติม »

สุมาลี จาติกวณิช

ท่านผู้หญิงสุมาลี จาติกวณิช (6 มิถุนายน พ.ศ. 2474) ประธานกิตติมศักดิ์มูลนิธิราชประชาสมาศัยในพระบรมราชูปถัมภ์ และรองประธานกรรมการมูลนิธิสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก, อดีตประธานสภาสตรีแห่งชาติคนที่ 10.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และสุมาลี จาติกวณิช · ดูเพิ่มเติม »

สุรพล โทณะวณิก

รพล โทณะวณิก (7 พฤษภาคม พ.ศ. 2474 -) นักแต่งเพลงไทย นักเขียน นักข่าว นักหนังสือพิมพ์ ได้รับการเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติประจำปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และสุรพล โทณะวณิก · ดูเพิ่มเติม »

สุนทร คงสมพงษ์

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก สุนทร คงสมพงษ์ (1 สิงหาคม พ.ศ. 2474 - 2 สิงหาคม พ.ศ. 2542) อดีตผู้บัญชาการทหารสูงสุด และ ประธานคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ (รสช.) เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2534 มีชื่อเรียกในสื่อสารมวลชนว่า บิ๊กจ๊อ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และสุนทร คงสมพงษ์ · ดูเพิ่มเติม »

สงวน เล็กสกุล

งวน เล็กสกุล (8 มกราคม พ.ศ. 2452 - 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2505) หัวหน้าหมวดวิชาภาษาไทย โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา คนแรก และผู้อำนวยการโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาคนที่ 3.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และสงวน เล็กสกุล · ดูเพิ่มเติม »

สงครามกลางเมืองสเปน

งครามกลางเมืองสเปน (Spanish Civil War) เป็นการรบในประเทศสเปนที่เกิดจากความขัดแย้งระหว่างฝ่ายสนับสนุนกับฝ่ายต่อต้านสาธารณรัฐสเปนที่ 2 ได้แก่ "ฝ่ายนิยมสาธารณรัฐ" ประกอบด้วยกลุ่มมัชฌิมา กลุ่มสังคมนิยม กลุ่มคอมมิวนิสต์ รวมทั้งชาวกาตาลาและชาวบาสก์ที่หัวรักถิ่นและเป็นอนาธิปไตย กับ "ฝ่ายชาตินิยม" ที่เป็นฝ่ายก่อการกบฏ รวมถึงพวกนิยมกษัตริย์ พวกการ์ลิสต์ พวกคาทอลิกหัวเก่า และพวกฟาสซิสต์ฟรังกิสต์ ซึ่งกองทัพสเปนเองก็ได้แตกแยกออกเป็นสองฝ่าย แต่ละฝ่ายก็พยายามระดมหาพันธมิตรต่างประเทศมาช่วยรบ ฝ่ายนิยมสาธารณรัฐดึงสหภาพโซเวียตและเม็กซิโก ส่วนฝ่ายชาตินิยมดึงพวกฟาสซิสต์จากอิตาลีและนาซีเยอรมนี สงครามดังกล่าวนับว่าเป็นการเร่งความขัดแย้งที่นำไปสู่สงครามโลกครั้งที่สอง และถูกมองว่าเป็นสงครามตัวแทนระหว่างสองลัทธิ คือ คอมมิวนิสต์ สหภาพโซเวียตและฟาสซิสต์ ฝ่ายอักษะ สงครามดังกล่าวได้มีการนำรถถังและการทิ้งระเบิดทางอากาศมาใช้ และถูกกล่าวขานถึงความโหดร้ายของสงครามและความแตกแยกทางการเมืองจากนักเขียนผู้ยิ่งใหญ่หลายคน อย่างเช่น เออร์เนสต์ เฮมิงเวย์, มาร์ธา เกลฮอร์น, จอร์จ ออร์เวลล์, และโรเบิร์ต คาป.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และสงครามกลางเมืองสเปน · ดูเพิ่มเติม »

สงครามอิตาลี-อะบิสซิเนียครั้งที่สอง

งครามอิตาลี-อะบิสซิเนียครั้งที่สอง หรืออีกชื่อหนึ่งคือ สงครามอิตาลี-เอธิโอเปียครั้งที่สอง เป็นสงครามอาณานิคมซึ่งเกิดขึ้นระหว่างกองทัพราชอาณาจักรอิตาลีกับจักรวรรดิเอธิโอเปีย (หรือในอีกชื่อหนึ่งคือ "อะบิสซิเนีย") โดยเริ่มต้นในเดือนตุลาคม ค.ศ. 1935 และสิ้นสุดลงในเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1936 ผลของสงครามจบลงด้วยความพ่ายแพ้ของเอธิโอเปียและถูกอิตาลีผนวกเข้าเป็นดินแดนอาณานิคมแห่งใหม่ภายใต้ชื่อ "แอฟริกาตะวันออกของอิตาลี" (Italian East Africa, Africa Orientale Italiana) ในทางการเมือง สงครามครั้งนี้เป็นเครื่องหมายจดจำที่โดดเด่นที่สุดถึงความอ่อนแออันเป็นปกติวิสัยขององค์การสันนิบาตชาติ วิกฤตการณ์อะบิสซิเนียในปี ค.ศ. 1934 มักถูกมองว่าเป็นตัวอย่างที่ชัดเจนถึงความไร้ประสิทธิภาพของสันนิบาตชาติ เช่นเดียวการที่จักรวรรดิญี่ปุ่นยึดครอง 3 มณฑลของจีนในกรณีมุกเดนเมื่อปี ค.ศ. 1931 ทั้งอิตาลีและเอธิโอเปียล้วนเป็นชาติสมาชิกของสันนิบาต แต่สันนิบาตชาติก็ไม่สามารถปกป้องเอธิโอเปียให้พ้นจากการคุกคามของอิตาลีได้เมื่อการณ์ปรากฏชัดเจนว่าอิตาลีได้ละเมิดต่อบทบัญญัติของสันนิบาตชาติมาตรา 10 อนึ่ง สงครามครั้งนี้ยังถูกจดจำด้วยการใช้ก๊าซพิษทำสงครามอย่างผิดกฎหมายอย่างก๊าซมัสตาร์ด (mustard gas) และสารฟอสจีน (Phosgene) โดยฝ่ายกองทัพอิตาลี ผลลัพธ์ในเชิงบวกของสงครามต่อฝ่ายอิตาลีได้เกิดขึ้นในช่วงเวลาใกล้เคียงกับความนิยมระดับสูงสุดต่อลัทธิฟาสซิสต์ของมุสโสลินีในเวทีนานาชาติ ผู้นำในหลายประเทศได้ยกย่องความสำเร้จที่เกิดขึ้นในครั้งนี้.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และสงครามอิตาลี-อะบิสซิเนียครั้งที่สอง · ดูเพิ่มเติม »

สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สอง

งครามจีน-ญี่ปุ่นครั้งที่สอง (Second Sino-Japanese War;; 日中戦争) ระหว่างวันที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2480 ถึงวันที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2488 เป็นสงครามระหว่างจีนกับญี่ปุ่น เกิดขึ้นก่อนสงครามโลกครั้งที่สองต่อมากลายเป็นส่วนหนึ่งของสงครามโลกครั้งที่สองเรียกว่า "สงครามแปซิฟิก" และดำเนินเรื่อยมาจนยุติลงพร้อมกับสงครามโลกครั้งที่สอง เป็นสงครามที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในทวีปเอเชียในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ย้อนกลับไปใน พ.ศ. 2474 ญี่ปุ่นได้เข้ารุกรานแมนจูเรีย ซึ่งเหตุการณ์นี้เรียกว่ากรณีมุกเดน ทำให้ญี่ปุ่นสามารถเข้าไปมีอิทธิพลในดินแดนจีนแผ่นดินใหญ่ได้ จนกระทั่งเกิดเหตุการณ์ ณ สะพานมาร์โค โปโล อันเป็นจุดเริ่มต้นอย่างเป็นทางการของสงครามครั้งนี้ ตั้งแต่เริ่มต้นสงครามจนถึง..

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และสงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สอง · ดูเพิ่มเติม »

สงครามโลกครั้งที่สอง

งครามโลกครั้งที่สอง (World War II หรือ Second World Warคำว่าสงครามโลกครั้งที่สองในภาษาอังกฤษนั้น ในเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการของสหราชอาณาจักรและชาติตะวันตกใช้คำว่า "Second World War" ส่วนในสหรัฐใช้คำว่า "World War II" (ย่อเป็น "WWII" หรือ "WW2") ซึ่งเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการในประเทศส่วนใหญ่มักจะใช้ภาษาอังกฤษว่า "Second World War" (เช่น Zweiter Weltkrieg ในภาษาเยอรมัน; Segunda Guerra mundial ในภาษาสเปน; Seconde Guerre mondiale ในภาษาฝรั่งเศส) แต่ทั้งสองคำนี้โดยทั่วไปแล้วสามารถใช้แทนกันได้; แม้ในประวัติศาสตร์การทหารอย่างเป็นทางการ คำว่า "Second World War" ถูกสร้างขึ้นโดย แฟรงก์ บี. เคลล็อก รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐอเมริกา; ส่วนคำว่า "World War II" พบใช้เป็นครั้งแรกในนิตยสาร ไทมส์ เมื่อวันที่ 12 มิถุนายน ค.ศ. 1939 ซึ่งเป็นผู้ประดิษฐ์คำว่า "World War I" ขึ้นในอีกสามเดือนต่อมา; มักย่อเป็น WWII หรือ WW2) เป็นสงครามทั่วโลกกินเวลาตั้งแต่ปี 1939 ถึง 1945 ประเทศส่วนใหญ่ในโลกมีส่วนเกี่ยวข้อง รวมทั้งรัฐมหาอำนาจทั้งหมด แบ่งเป็นพันธมิตรทางทหารคู่สงครามสองฝ่าย คือ ฝ่ายสัมพันธมิตรและฝ่ายอักษะ เป็นสงครามที่กว้างขวางที่สุดในประวัติศาสตร์ มีทหารกว่า 100 ล้านนายจากกว่า 30 ประเทศเข้าร่วมโดยตรง สงครามนี้มีลักษณะเป็น "สงครามเบ็ดเสร็จ" คือ ประเทศผู้ร่วมสงครามหลักทุ่มขีดความสามารถทางเศรษฐกิจ อุตสาหกรรมและวิทยาศาสตร์ทั้งหมดเพื่อความพยายามของสงคราม โดยลบเส้นแบ่งระหว่างทรัพยากรของพลเรือนและทหาร ประเมินกันว่าสงครามมีมูลค่าราว 1 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ ประเมินกันว่ามีผู้เสียชีวิตระหว่าง 50 ถึง 85 ล้านคน ด้วยประการทั้งปวง สงครามโลกครั้งที่สองจึงนับว่าเป็นสงครามขนาดใหญ่ที่สุด ใช้เงินทุนมากที่สุด และมีผู้เสียชีวิตสูงสุดในประวัติศาสตร์มนุษยชาติ จักรวรรดิญี่ปุ่นซึ่งมีเป้าหมายครอบงำทวีปเอเชียและแปซิฟิกและทำสงครามกับจีนมาตั้งแต่ปี 1937 แล้ว แต่โดยทั่วไปถือว่าสงครามโลกครั้งที่สองเริ่มตั้งแต่การบุกครองโปแลนด์ของเยอรมนีในวันที่ 1 กันยายน 1939 นำไปสู่การประกาศสงครามต่อเยอรมนีของประเทศฝรั่งเศสและสหราชอาณาจักร ตั้งแต่ปลายปี 1939 ถึงต้นปี 1941 ในการทัพและสนธิสัญญาต่าง ๆ ประเทศเยอรมนีพิชิตหรือควบคุมยุโรปภาคพื้นทวีปได้ส่วนใหญ่ และตั้งพันธมิตรอักษะกับอิตาลีและญี่ปุ่น ภายใต้สนธิสัญญาโมโลตอฟ–ริบเบนทรอพเมื่อเดือนสิงหาคม 1939 เยอรมนีและสหภาพโซเวียตแบ่งแลผนวกดินแดนประเทศเพื่อนบ้านยุโรปของตน ได้แก่ โปแลนด์ ฟินแลนด์ โรมาเนียและรัฐบอลติก สงครามดำเนินต่อส่วนใหญ่ระหว่างชาติฝ่ายอักษะยุโรปและแนวร่วมสหราชอาณาจักรและเครือจักรภพบริติช โดยมีการทัพอย่างการทัพแอฟริกาเหนือและแอฟริกาตะวันออก ยุทธการที่บริเตนซึ่งเป็นการสู้รบทางอากาศ การทัพทิ้งระเบิดเดอะบลิตซ์ การทัพบอลข่าน ตลอดจนยุทธการที่แอตแลนติกที่ยืดเยื้อ ในเดือนมิถุนายน 1941 ชาติอักษะยุโรปบุกครองสหภาพโซเวียต เปิดฉากเขตสงครามภาคพื้นดินที่ใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ ซึ่งทำให้กำลังทหารสำคัญของฝ่ายอักษะตกอยู่ในสงครามบั่นทอนกำลัง ในเดือนธันวาคม 1941 ญี่ปุ่นโจมตีสหรัฐและอาณานิคมยุโรปในมหาสมุทรแปซิฟิก และพิชิตมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกส่วนมากได้อย่างรวดเร็ว การรุกของฝ่ายอักษะยุติลงในปี 1942 หลังญี่ปุ่นปราชัยในยุทธนาวีที่มิดเวย์ใกล้กับฮาวายที่สำคัญ และเยอรมนีปราชัยในแอฟริกาเหนือและจากนั้นที่สตาลินกราดในสหภาพโซเวียต ในปี 1943 จากความปราชัยของเยอรมนีติด ๆ กันที่เคิสก์ในยุโรปตะวันออก การบุกครองอิตาลีของฝ่ายสัมพันธมิตรซึ่งนำให้อิตาลียอมจำนน จนถึงชัยของฝ่ายสัมพันธมิตรในมหาสมุทรแปซิฟิก ฝ่ายอักษะเสียการริเริ่มและต้องล่าถอยทางยุทธศาสตร์ในทุกแนวรบ ในปี 1944 ฝ่ายสัมพันธมิตรบุกครองฝรั่งเศสในการยึดครองของเยอรมนี ขณะเดียวกันกับที่สหภาพโซเวียตยึดดินแดนที่เสียไปทั้งหมดคืนและบุกครองเยอรมนีและพันธมิตร ระหว่างปี 1944 และ 1945 ญี่ปุ่นปราชัยสำคัญในทวีปเอเชียในภาคกลางและภาคใต้ของจีนและพม่า ขณะที่ฝ่ายสัมพันธมิตรก่อความเสียหายต่อกองทัพเรือญี่ปุ่นและยึดหมู่เกาะแปซิฟิกตะวันตกที่สำคัญ สงครามในยุโรปยุติลงหลังกองทัพแดงยึดกรุงเบอร์ลินได้ และการยอมจำนนอย่างไม่มีเงื่อนไขของเยอรมนีเมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 1945 แม้จะถูกโดดเดี่ยวและตกอยู่ในสภาพเสียเปรียบอย่างยิ่ง ญี่ปุ่นยังปฏิเสธที่จะยอมจำนน กระทั่งมีการทิ้งระเบิดนิวเคลียร์สองลูกถล่มญี่ปุ่น และการบุกครองแมนจูเรีย จึงได้นำไปสู่การยอมจำนนอย่างเป็นทางการของญี่ปุ่นเมื่อวันที่ 2 กันยายน 1945 สงครามยุติลงด้วยชัยชนะของฝ่ายสัมพันธมิตร ผลของสงครามได้เปลี่ยนแปลงการวางแนวทางการเมืองและโครงสร้างสังคมของโลก สหประชาชาติถูกสถาปนาขึ้น เพื่อส่งเสริมความร่วมมือระหว่างประเทศและเพื่อป้องกันความขัดแย้งในอนาคต สหรัฐอเมริกากับสหภาพโซเวียตก้าวเป็นอภิมหาอำนาจของโลกอันเป็นคู่ปรปักษ์กัน นำไปสู่ความขัดแย้งบนเวทีแห่งสงครามเย็น ซึ่งได้ดำเนินต่อมาอีก 46 ปีหลังสงคราม ขณะเดียวกัน การยอมรับหลักการการกำหนดการปกครองด้วยตนเอง เร่งให้เกิดการเคลื่อนไหวเพื่อเรียกร้องเอกราชในทวีปเอเชียและทวีปแอฟริกา พร้อม ๆ กับที่หลายประเทศได้มุ่งหน้าฟื้นฟูเศรษฐกิจซึ่งอุตสาหกรรมได้รับความเสียหายระหว่างสงคราม และบูรณาการทางการเมืองได้เกิดขึ้นทั่วโลกในความพยายามที่จะรักษาเสถียรภาพความสัมพันธ์หลังสงคราม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และสงครามโลกครั้งที่สอง · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรฟุตบอลกรานาดา

มสรฟุตบอลกรานาดา เป็นสโมสรฟุตบอลจากประเทศสเปน ตั้งอยู่ที่ในเมือง กรานาดา ในแคว้น อันดาลูซีอา ประเทศสเปน ก่อตั้งขึ้นวันที่ 14 เมษายน ค.ศ. 1931 ปัจจุบันเล่นอยู่ในลีก ลาลีกา มีสนามแข่งขันประจำสโมสรคือ นูอีโว รอส คาร์เมนเนส มีความจุทั้งหมด 22,524 ที่นั่ง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และสโมสรฟุตบอลกรานาดา · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรฟุตบอลเรอัลมาดริด

มสรฟุตบอลเรอัลมาดริด (Real Madrid Club de Fútbol) เป็นสโมสรฟุตบอลอาชีพที่มีชื่อเสียงมากที่สุดแห่งหนึ่งในประเทศสเปน ตั้งอยู่ที่กรุงมาดริดเมืองหลวงของประเทศ ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี ค.ศ. 1902 เล่นในลาลีกา และเป็นหนึ่งในสโมสรที่ประสบความสำเร็จมากที่สุดในวงการฟุตบอลศตวรรษที่ 20 โดยสามารถคว้าแชมป์ลาลีกาได้ทั้งสิ้น 33 สมัย ถ้วยโกปาเดลเรย์ 17 ครั้ง และยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก 12 สมัยซึ่งเป็นสถิติสูงสุดของรายการ นอกจากนั้น เรอัลมาดริดยังได้เป็นสมาชิกของกลุ่มจี-14 ซึ่งเป็นกลุ่มของสโมสรฟุตบอลชั้นนำของยุโรปอีกด้วย สนามเหย้าของสโมสรคือสนามซานเตียโก เบร์นาเบวอันมีชื่อเสียงแห่งกรุงมาดริด เรอัลมาดริดเป็นสโมสรที่มีหุ้นส่วน (socios) เป็นเจ้าของและเป็นผู้ดำเนินการมาตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และสโมสรฟุตบอลเรอัลมาดริด · ดูเพิ่มเติม »

ส้วมในประเทศไทย

้วมชักโครกของส้วมสาธารณะ ในประเทศไทย ส้วมในประเทศไทย มีมาแต่โบราณ โดยในสมัยก่อน ผู้ที่ใช้ส้วมแบ่งได้เป็น 3 กลุ่มใหญ่ คือ กลุ่มของกษัตริย์ เจ้านาย ขุนนางและผู้มีฐานะดี กลุ่มของพระที่อยู่ภายใต้พระธรรมวินัย กลุ่มของชาวบ้านที่เป็นคนส่วนใหญ่ในสังคม โดยกลุ่มชาวบ้านมักจะไปถ่ายทุกข์ตามที่เหมาะ ๆ เนื่องจากยังไม่มีส้วมใช้ จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2440 รัฐได้ออก มีผลบังคับให้คนไทยต้องขับถ่ายในส้วม กระทั่งช่วงปี พ.ศ. 2460-2471 ประเทศไทยได้รับความช่วยเหลือทางการแพทย์และสาธารณสุขจากมูลนิธิร็อกกี้เฟลเลอร์ ซึ่งเป็นองค์กรการกุศลเอกชนของสหรัฐอเมริกา โดยส่งเสริมให้มีการสร้างส้วมในจังหวัดต่าง ๆ และยังเกิดการประดิษฐ์คิดค้นส้วมรูปแบบต่าง ๆ ที่เหมาะสมกับท้องถิ่นของไทย เช่น "ส้วมหลุมบุญสะอาด" ที่มีกลไกป้องกันปัญหาการลืมปิดฝาหลุมถ่ายและส้วมคอห่านที่ใช้ร่วมกับระบบบ่อเกรอะบ่อซึม ต่อมาเริ่มมีผู้ใช้ส้วมชักโครกมากขึ้นในช่วงที่มีการก่อสร้างบ้านแบบสมัยใหม่หลังสงครามโลกครั้งที่สอง กระทั่งต้นพุทธทศวรรษ 2500 โถส้วมชนิดนี้ก็ได้รับความนิยม มีผู้ใช้เพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ จนในปัจจุบัน จากอดีตที่ผ่านมาส้วมสาธารณะในประเทศไทยเป็นปัญหาพื้นฐานที่สำคัญทางด้านสุขาภิบาล สิ่งแวดล้อมของประเทศไทย และทางกรมอนามัยเป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบในการดำเนินการในเรื่องนี้ มีการสำรวจและประเมินผลมาตรฐานส้วมสาธารณะ พบว่าส้วมสาธารณะในประเทศไทยผ่านเกณฑ์มาตรฐานไม่มาก ในปี พ.ศ. 2549 ประเทศไทยเป็นเจ้าภาพ งานประชุมส้วมโลก 2006 หรือ World Toilet Expo & Forum 2006 ซึ่งถือเป็นจุดสำคัญในการพัฒนาส้วมสาธารณะ และมีโครงการหลายโครงการเกี่ยวกับส้วมสาธารณะอีกหลายโครงการ ประเทศไทยได้ใช้มาตรการหลายอย่าง รวมทั้งมาตรการทางกฎหมายซึ่งมีบทบัญญัติที่เกี่ยวข้องกับส้วม ปรากฏอยู่ในกฎหมายหลายฉบับที่เริ่มมีการออกพระราชกำหนดสุขาภิบาลกรุงเทพฯ ร.ศ. 116 ซึ่งถือเป็นกฎหมายฉบับแรกเกี่ยวกับการสุขาภิบาลของคนกรุงเทพฯ และต่อมาได้ออกกฎกระทรวง ฉบับที่ 39 (พ.ศ. 2537) ซึ่งออกตามพระราชบัญญัติ ควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 รวมถึงกฎกระทรวงกำหนดสิ่งอำนวยความสะดวกในอาคารสำหรับผู้พิการหรือทุพพลภาพและคนชรา พ.ศ. 2548.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และส้วมในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล

ตราจารย์ หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล (24 ตุลาคม พ.ศ. 2446 - 5 ตุลาคม พ.ศ. 2538) บุคคลสำคัญของโลกและศิลปินแห่งชาติ ราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาลัยวิชาการศึกษาและผู้ก่อตั้งโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมหลวงเดช สนิทวงศ์

หม่อมหลวงเดช สนิทวงศ์ (18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2441 - 8 กันยายน พ.ศ. 2518) ราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ อดีตผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย อดีตประธานองคมนตรี อดีตข้าราชการ อธิบดีกรมที่ดิน/กรมทรัพยากรธรณี และรัฐมนตรีกระทรวงเกษตราธิการ กระทรวงพาณิชย์ กระทรวงเศรษฐการ ผู้วางรากฐานการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม การกสิกรรม และกิจการสหกรณ์ของไทย ได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์ เป็น หลวงเดชสหกรณ์ ในเวลาต่อมาเมื่อรัฐบาลจะยกเลิกบรรดาศักดิ์ไทย หลวงเดชสหกรณ์ในฐานะรัฐมนตรีพร้อมด้วยคณะรัฐมนตรีชุดที่ 9 จึงลาออกจากบรรดาศักดิ์ โดยกลับไปใช้ชื่อเดิม เมื่อ..

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และหม่อมหลวงเดช สนิทวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าจงจิตรถนอม ดิศกุล

หม่อมเจ้าจงจิตรถนอม ดิศกุล (3 สิงหาคม พ.ศ. 2429 — 23 กันยายน พ.ศ. 2521) เป็นพระธิดาในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ประสูติในหม่อมนวม ดิศกุล ณ อยุธยา (สกุลเดิม โรจนดิศ) มีพระนามลำลองว่า "หญิงใหญ่" เมื่อทรงพระเยาว์ทรงเข้าไปอยู่ในพระราชสำนักของสมเด็จพระปิตุจฉาเจ้าสุขุมาลมารศรี พระอัครราชเทวี และมีความสามารถในการทำอาหารเป็นอย่างดี ด้วยความที่เป็นพระธิดาองค์ใหญ่ในกรมพระยาดำรงราชานุภาพ จึงทรงมีหน้าที่ดูแลวังวรดิศ และประกอบพระกรณียกิจแทนพระบิดาขณะที่ไม่ได้ทรงอยู่ในพระนคร นอกจากนี้หม่อมเจ้าจงจิตรถนอมยังมีศักดิ์เป็นหลานสาวของเจ้าจอมมารดาชุ่มผู้เป็นย่า เมื่อนับจากบรรพบุรุษฝ่ายมารดาของเจ้าจอมมารดาชุ่ม ภายหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง เมื่อกรมพระยาดำรงราชานุภาพเสด็จไปลี้ภัยที่ปีนัง ระหว่าง..

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และหม่อมเจ้าจงจิตรถนอม ดิศกุล · ดูเพิ่มเติม »

หลวงอิศรางกูรเสนีย์ (หม่อมหลวงแช่ม อิศรางกูร)

ร้อยเอก พลอากาศตรี หลวงอิศรางกูรเสนีย์ (หม่อมหลวงแช่ม อิศรางกูร) (11 มิถุนายน พ.ศ. 2440 - 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2518) อดีตรองเสนาธิการทหารอาก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และหลวงอิศรางกูรเสนีย์ (หม่อมหลวงแช่ม อิศรางกูร) · ดูเพิ่มเติม »

หลวงไพเราะเสียงซอ (อุ่น ดูรยชีวิน)

หลวงไพเราะเสียงซอ (อุ่น ดูรยชีวิน) หลวงไพเราะเสียงซอ (อุ่น ดูรยชีวิน) นักดนตรีไทยที่มีความชำนาญในการบรรเลงเครื่องดนตรีไทยประเภทเครื่องสี ทั้งซอด้วง ซออู้ และซอสามสาย เป็นอดีตข้าราชการในสังกัดกรมพิณพาทย์หลวง และกรมศิลปากร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และหลวงไพเราะเสียงซอ (อุ่น ดูรยชีวิน) · ดูเพิ่มเติม »

อลิซ มุนโร

อลิซ แอนน์ มุนโร (Alice Ann Munro; 10 กรกฎาคม ค.ศ. 1931 — ปัจจุบัน) เป็นนักประพันธ์ชาวแคนาดาผู้มีผลงานเขียนในภาษาอังกฤษ งานของมุนโรได้รับการอธิบายว่ามีการปฏิวัติโครงสร้างของเรื่องสั้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งลักษณะเฉพาะในการเดินหน้าและย้อนกลับของห้วงเวลา เรื่องต่าง ๆ ที่ตราตรึงของเธอมีมากเกินกว่าที่ได้ประกาศ หรือเปิดเผยได้เสียยิ่งกว่าขบวนแห่ เรื่องแต่งของมุนโรโดยส่วนใหญ่มักจะมีฉากในบ้านเกิดของเธอ ซึ่งก็คือฮูรอนคันทรีในเซาธ์เวสเทิร์นออนแทรีโอ เรื่องราวต่าง ๆ ของเธอแสดงให้เห็นถึงความซับซ้อนของมนุษย์ในรูปแบบร้อยแก้วที่ไม่ซับซ้อน การเขียนของมุนโรได้รับการจัดให้อยู่ในฐานะ "หนึ่งในนักเขียนเรื่องแต่งร่วมสมัยที่ยิ่งใหญ่ที่สุดของพวกเรา" ประดุจดั่งซินเทีย โอซิก ได้เขียนเพิ่ม และเสมือนเป็น "เชคอฟของพวกเรา" ทั้งนี้ เธอได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม เมื่อปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และอลิซ มุนโร · ดูเพิ่มเติม »

อะสึโกะ อิเกะดะ

อะสึโกะ อิเกะดะ (ประสูติ 7 มีนาคม พ.ศ. 2474) หรือ อดีตเจ้าหญิงโยริ เป็นภริยาของทะกมะซะ อิเกะดะ และเป็นพระราชธิดาพระองค์ที่สี่ในสมเด็จพระจักรพรรดิโชวะ กับสมเด็จพระจักรพรรดินีโคจุง ทั้งยังเป็นหนึ่งในพระภคินีในสมเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโตะที่ยังมีพระชนม์ชี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และอะสึโกะ อิเกะดะ · ดูเพิ่มเติม »

อับดิเราะห์มาน อาห์เมด อาลี ตูร์

อับดิเราะห์มาน อาห์เมด อาลี ตูร์ (Cabdiraxmaan Axmed Cali Tuur, عبد الرحمن أحمد علي الطور) เป็นนักการเมืองชาวโซมาเลีย ผู้เคยได้ดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีคนแรกของโซมาลีแลนด์ สาธารณรัฐที่ได้รับการยอมรับในระดับสากลว่าเป็นเขตปกครองตนเองของประเทศโซมาเลี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และอับดิเราะห์มาน อาห์เมด อาลี ตูร์ · ดูเพิ่มเติม »

อับดุล กลาม

ร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และอับดุล กลาม · ดูเพิ่มเติม »

อัลแบร์ตุส มาญุส

นักบุญอัลแบร์ตุส มาญุสกีรติ บุญเจือ, แก่นปรัชญายุคกลาง, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550, หน้า 609 (Albertus Magnus) หรือนักบุญอัลเบิร์ตผู้ยิ่งใหญ่ (Albert the Great) หรือนักบุญอัลเบิร์ตแห่งโคโลญ (Saint Albert of Cologne) เป็นนักบุญในคริสตจักรโรมันคาทอลิก เกิดราวปี ค.ศ. 1193/ค.ศ. 1206 ที่เลาอิงเงิน ดัชชีบาวาเรีย (ประเทศเยอรมนีปัจจุบัน) และถึงแก่มรณกรรมเมื่อวันที่ 30 กันยายน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และอัลแบร์ตุส มาญุส · ดูเพิ่มเติม »

อาบาชิริ

อาบาชิริ เป็นศูนย์กลางของกิ่งจังหวัดโอค็อตสค์ ในจังหวัดฮกไกโด จัดว่าเป็นเมืองที่มีแห้งแล้งที่สุดในญี่ปุ่น สิ่งที่มีชื่อเสียงที่สุดของอาบาชิริคือ เรือนจำอาบาชิริ ซึ่งใช้กักขังนักโทษการเมืองในยุคเมจิ ปัจจุบันได้กลายเป็นพิพิธภัณฑ์ โดยมีเรือนจำความปลอดภัยขั้นสูงสุดแห่งใหม่ในเมืองใช้กักขังนักโทษแทน เมืองนี้เป็นเมืองท่าสำคัญและเป็นปลายทางของรถไฟ ใน พ.ศ. 2551 อาบาชิริมีประชากร 40,333 คน ความหนาแน่นของประชากร 85.6 คนต่อตารางกิโลเมตร มีพื้นที่ทั้งหมด 470.94 ตารางกิโลเมตร อาบาชิริตั้งอยู่ในด้านตะวันออกของมณฑลอาบาชิริ ห่างจากเมืองคิตะมิไปทางตะวันออก 50 กิโลเมตร พื้นที่เต็มไปด้วยเนินเขาจำนวนมาก แต่ไม่มีภูเขาสูง เมืองพี่น้องของอาบาชิริคือ พอร์ท อัลเบอร์นี ในรัฐบริติชโคลัมเบีย แคนาดา แต่ละปีมีนักเรียนจำนวนมากเข้าร่วมโครงการแลกเปลี่ยนนักเรียนระหว่างสองเมืองนี้ ท่าอากาศยานที่อยู่ใกล้กับอาบาชิริคือ ท่าอากาศยานเมะมังเบะสึ ตั้งอยู่ในเมืองโอโซะร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และอาบาชิริ · ดูเพิ่มเติม »

อาร์เธอร์ ชนิตซ์เลอร์

อาร์เธอร์ ชนิตซ์เลอร์ (Arthur Schnitzler; 15 พฤษภาคม ค.ศ. 1862 – 21 ตุลาคม ค.ศ. 1931) เป็นนักเขียนชาวออสเตรีย เกิดที่กรุงเวียนนาในครอบครัวชาวยิว เป็นบุตรคนโตของพี่น้อง 4 คนของโยฮันน์ ชนิตซ์เลอร์ แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านลำคอกับลุยส์ มาร์กไบรเตอร์ ชนิตซ์เลอร์เรียนวิชาแพทย์ที่มหาวิทยาลัยเวียนนาและทำงานที่โรงพยาบาลเวียนนา แต่ต่อมาเขาหันมาสนใจด้านการเขียน บทละครชิ้นแรกของเขา Anatol ตีพิมพ์ในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และอาร์เธอร์ ชนิตซ์เลอร์ · ดูเพิ่มเติม »

อาคม มกรานนท์

อาคม มกรานนท์ (3 กันยายน พ.ศ. 2474 -) นักร้อง พิธีกรรายการโทรทัศน์ นักแสดง อดีตสมาชิกวุฒิสภา มีผลงานที่น่าจดจำ คือเป็นพิธีกรรายการ "นาทีทอง" และ "ประตูดวง" รายการที่มีผู้ชมสูงสุดทางสถานีโทรทัสน์สีกองทัพบกช่อง 7ในขณะนั้น เป็นผู้ประกาศข่าวทางโทรทัศน์ รุ่นแรก ๆ ของเมืองไทยและเป็นโฆษกประกาศการรัฐประหารในประเทศไทย ถึง 8 ครั้ง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และอาคม มกรานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

อำพล เสนาณรงค์

อำพล เสนาณรงค์ อดีตองคมนตรี, นายกสภามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในรัฐบาลนายอานันท์ ปันยารชุน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และอำพล เสนาณรงค์ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอวังชิ้น

อำเภอวังชิ้น (35px) เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดแพร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และอำเภอวังชิ้น · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอสวรรคโลก

อำเภอสวรรคโลก เป็น 1 ใน 9 อำเภอของจังหวัดสุโขทั.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และอำเภอสวรรคโลก · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอสามพราน

อำเภอสามพราน เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดนครปฐม มีแม่น้ำนครชัยศรีไหลผ่าน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และอำเภอสามพราน · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอทุ่งสง

ทุ่งสง เป็นอำเภอที่มีความเจริญเป็นอันดับสองของจังหวัดนครศรีธรรมราช รองจากอำเภอเมืองนครศรีธรรมราช เนื่องจากมีที่ตั้งอยู่ตรงกลางของภาคใต้และเป็นจุดศูนย์กลางคมนาคมทางบกทั้งรถยนต์และรถไฟ อำเภอทุ่งสงมีประวัติความเป็นมายาวนาน ปรากฏตามตำนานเมืองนครศรีธรรมราชว่าเคยเป็นแขวงขึ้นอยู่ในปกครองของเมืองนครศรีธรรมราชตั้งแต่สมัยพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ เมื่อได้มีการเปลี่ยนแปลงระบบการปกครองจากมณฑล เป็นจังหวัด เมื่อ พ.ศ. 2440 ได้จัดตั้งเป็นอำเภอทุ่งสงขึ้นกับจังหวัดนครศรีธรรมร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และอำเภอทุ่งสง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเมืองตรัง

มืองตรัง ในอดีตเคยเป็นเมืองท่าค้าขายกับต่างประเทศ เป็นเมืองแรกที่มีต้นยางพารา โดยพระยารัษฎานุประดิษฐมหิศรภักดี (คอซิมบี้ ณ ระนอง) ได้นำพันธุ์มาจากมาเลเซียมาปลูกเป็นแห่งแรกของภาคใต้ เมื่อปี พ.ศ. 2442 และถือเป็นพืชเศรษฐกิจที่สำคัญของไทย ประชาชนส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธคิดเป็นร้อยละ 93 นับถือศาสนาอิสลามร้อยละ 5 และอื่น ๆ ร้อยละ 2.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และอำเภอเมืองตรัง · ดูเพิ่มเติม »

อิกอร์ สตราวินสกี

อิกอร์ เฟโดโรวิช สตราวินสกี้ (И́горь Фёдорович Страви́нский; Igor Stravinsky; 17 มิถุนายน ค.ศ. 1882 — 6 เมษายน ค.ศ. 1971)) เป็นคีตกวีดนตรีคลาสสิกสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 20 ชาวรัสเซีย สตราวินสกี้ ราวปี 1950 สตราวินสกี้เป็นบุตรชายของนักร้องชื่อดังแห่งโรงละครหลวง เขาเกิดที่เมืองออรานีนบาม (Oranienbaum) ซึ่งตอนนี้เปลี่ยนเป็นชื่อ โลโมโนซอฟ (Lomonosov) ใกล้กับนครเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก ในประเทศรัสเซีย เขาเรียนด้านกฎหมายกับเปียโน ก่อนที่จะมาเป็นศิษย์ของนิโคไล ริมสกี้-คอร์ซาคอฟ บทเพลงชื่อดังชิ้นแรกของเขาได้แก่ วิหคเพลิง (ค.ศ. 1910 ด้วยการจ้างของแซร์จ เดียกิเลฟ เพื่อใช้แสดงในคณะบัลเลต์รัสเซีย ตามมาด้วยเพลง เปทรูชก้า (ค.ศ. 1911) พิธีบูชายัญในฤดูใบไม้ผลิ (ค.ศ. 1913) และอุปรากร เรื่อง นกไนติงเกล (ค.ศ. 1914) มีเรื่องที่วิพากษ์วิจารณ์กันมากเกี่ยวกับบัลเลต์เรื่อง พิธีบูชายัญในฤดูใบไม้ผลิ ทั้งจากท่าเต้น และความไม่เหมือนใครของดนตรีประกอบ ทำให้สตราวินสกี้กลายเป็นคีตกวี ที่มีชื่อเสียงมากที่สุดในคริสต์ศตวรรษที่ 20 สตราวินสกี้เสียชีวิตที่นิวยอร์ก ศพของเขาถูกฝังไว้ที่สุสานซาน มิเชลในนครเวนิซ ประเทศอิตาลี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และอิกอร์ สตราวินสกี · ดูเพิ่มเติม »

อิมโนเดเรียโก

อิมโนเดเรียโก (El Himno de Riego) เป็นบทเพลงปลุกใจของสเปนที่มีต้นกำเนิดในช่วงสงครามกลางเมืองของสเปนระหว่าง พ.ศ. 2363 - พ.ศ. 2366 โดยชื่อของเพลงนี้มาจากนายพันโท ราฟาเอล เดล เรียโก นายทหารและนักการเมืองสายเสรีนิยมของสเปนที่บทบาทสำคัญในสงครามกลางเมืองครั้งนั้น เพลงนี้ต่อมาได้กลายเป็นเพลงชาติของสาธารณรัฐสเปน 1 (พ.ศ. 2416 - พ.ศ. 2417) และสาธารณรัฐสเปน 2 (พ.ศ. 2474 - พ.ศ. 2482) หลังการล่มสลายของสาธารณรัฐสเปนครั้งที่ 2 เพลงนี้ได้กลายเพลงต้องห้ามตลอดสมัยการปกครองอย่างเผด็จการของจอมพลฟรันซิสโก ฟรังโก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และอิมโนเดเรียโก · ดูเพิ่มเติม »

อินฟันตามารีอา กริสตีนาแห่งสเปน

้าหญิงมาเรีย คริสตินาแห่งสเปน เจ้าหญิงมาเรีย คริสตินาแห่งสเปน (Infanta Maria Cristina of Spain; มาเรีย คริสตินา เทเรซา อเลฆันดรา กวาดาลูเป มาเรีย เด ลา กอนเซ็ปซิโอน อิลเดฟอนซา วิกตอเรีย เอวเคเนีย เด บอร์บอน อี บัตเต็นแบร์ก; 12 ธันวาคม พ.ศ. 2454 - 23 ธันวาคม พ.ศ. 2539) เป็นพระราชธิดาในลำดับที่สี่ในสมเด็จพระราชาธิบดีอัลฟองโซที่ 13 แห่งสเปน และ เจ้าหญิงวิกตอเรีย ยูจีนีแห่งแบ็ตเต็นเบิร์ก อีกทั้งยังเป็นพระปิตุจฉาในสมเด็จพระราชาธิบดีฆวน คาร์ลอสที่ 1 อีกด้ว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และอินฟันตามารีอา กริสตีนาแห่งสเปน · ดูเพิ่มเติม »

อุสมาน ศรแดง

อุสมาน ศรแดง เป็นชาวกรุงเทพฯ นับถือศาสนาอิสลาม เกิดเมื่อ..

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และอุสมาน ศรแดง · ดูเพิ่มเติม »

อีนิด ไบลตัน

อีนิด แมรี ไบลตัน (Enid Mary Blyton) เป็นหนึ่งในนักเขียนที่มีคนอ่านและแปลผลงานมากที่สุดในโลก ผลงานของเธอมีผู้นิยมอ่านตั้งแต่เด็กเล็กไปจนถึงเด็กโตและผู้ใหญ่ หนังสือที่เธอแต่งได้รับการตีพิมพ์เป็นหนังสือกว่า 700 เล่มและเรื่องสั้นกว่า 10000 เรื่อง ได้รับการแปลไปแล้วเกือบ 90 ภาษา ในกว่า 30 ประเทศทั่วโลก เรื่องที่เธอแต่งนั้น โด่งดังมาทั่วโลกกว่าครึ่งศตวรรษ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และอีนิด ไบลตัน · ดูเพิ่มเติม »

อดิศักดิ์ โภคกุลกานนท์

นายอดิศักดิ์ โภคกุลกานนท์ เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคเพื่อไทย และเคยเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดอุบลราชธานีหลายสมัย ได้รับเลือกตั้งครั้งแรกในการเลือกตั้ง..

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และอดิศักดิ์ โภคกุลกานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

อเล็กซานดราแห่งเดนมาร์ก

้าหญิงอเล็กซานดราแห่งเดนมาร์ก ซึ่งภายหลังคือ สมเด็จพระราชินีแห่งสหราชอาณาจักร (อเล็กซานดรา แคโรไลนา มารี ชาร์ล็อต หลุยส์ จูเลีย; 1 ธันวาคม พ.ศ. 2387 - 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2468) เป็นพระมเหสีในสมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักร และสมเด็จพระจักรพรรดินีแห่งอินเดียในช่วงระหว่างรัชกาลของพระสวามี ก่อนหน้านี้ทรงดำรงพระอิสริยยศเป็นเจ้าหญิงแห่งเวลส์ ระหว่างปี พ.ศ. 2406 - พ.ศ. 2444 (ยาวนานกว่าผู้ใดที่เคยดำรงพระอิสริยยศนี้) หลังการเสด็จสวรรคตของพระสวามีในปี พ.ศ. 2453 ตราบจนถึงการเสด็จสวรรคตของพระองค์เอง ทรงดำรงพระอิสริยยศเป็น สมเด็จพระบรมราชชนนี ที่ทรงเป็นทั้งพระราชินีและพระราชชนนีของกษัตริย์ที่ทรงครองราชย์อยู่ คือ สมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 5 แห่งสหราชอาณาจักร แต่ไม่โปรดใช้พระอิสริยยศเช่นนี้ จึงได้มีพระอิสริยยศเป็น "สมเด็จพระราชินีอเล็กซานดรา" (Her Majesty Queen Alexandra) ตลอดการเป็นหม้ายของพระอง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และอเล็กซานดราแห่งเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

ฮุมัยด์ บิน รอชิด อันนุอัยมี

ฮุมัยด์ บิน รอชิด อันนุอัยมี (حميد بن راشد النعيمي) ทรงเป็นเจ้าผู้ครองรัฐอัจมาน สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ องค์ปัจจุบัน และทรงเป็นสมาชิกสภาสูงสุดแห่งสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ประสูติเมื่อปี พ.ศ. 2474 เสด็จขึ้นครองราชย์เมื่อ 6 กันยายน พ.ศ. 2524 หมวดหมู่:เจ้าผู้ครองรัฐอัจมาน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และฮุมัยด์ บิน รอชิด อันนุอัยมี · ดูเพิ่มเติม »

จอร์จ อีสต์แมน

อร์จ อีสท์แมน ผู้ก่อตั้งบริษัทโกดัก จอร์จ อีสต์แมน (George Eastman, 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2397 (ค.ศ. 1854) - 14 มีนาคม พ.ศ. 2474 (ค.ศ. 1932)) เป็นผู้ประดิษฐ์ฟิล์มม้วนในปี พ.ศ. 2427 และกล้องโกดัก (Kodak) ในปี พ😭😉💕😌👌😩ท นักประดิษฐ์ชาวอเมริกาผู้นี้เป็นผู้ที่เปลี่ยนแปลงการถ่ายภาพจากงานอดิเรกที่แพง และมีผู้คนเพียงเล็กน้อยที่คลั่งไคล้ ให้กลายเป็นงานอดิเรกที่ได้รับความนิยมอย่างกว้างขวาง เขาเกิดในเมืองวอเทอร์วิลล์ (Waterville) รัฐนิวยอร์ก และการศึกษาหาความรู้ด้วยตนเอง ในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และจอร์จ อีสต์แมน · ดูเพิ่มเติม »

จอห์น แนนซ์ การ์เนอร์

จอห์น แนนซ์ การ์เนอร์ ที่ 3 (John Nance Garner III; 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2411 - 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2510) เป็นนักการเมืองชาวอเมริกัน ดำรงตำแหน่งเป็นรองประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกาคนที่ 32 เมื่อปี 2476 จนถึงปี 2484 ในสมัยประธานาธิบดีแฟรงกลิน ดี. โรสเวลต์ จ หมวดหมู่:พรรคเดโมแครต (สหรัฐอเมริกา) หมวดหมู่:นักการเมืองอเมริกัน หมวดหมู่:บุคคลจากรัฐเทกซัส.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และจอห์น แนนซ์ การ์เนอร์ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีวั่นหรง

มเด็จพระจักรพรรดินีเสี้ยวเค่อหมิ่น หรือ สมเด็จพระจักรพรรดินีวั่นหรงหรือชื่อเล่น ๆ ว่า วั่นจิง หรือพระนามแรกประสูติว่า โกวปู้โลว วั่นหรง (13 พฤศจิกายน 2449 - 20 มิถุนายน 2489) เป็นสมเด็จพระจักรพรรดินีพระองค์สุดท้ายของประเทศจีนด้วยเหตุที่เป็นสมเด็จพระมเหสีในผู่อี๋ฮ่องเต้ สมเด็จพระจักรพรรดินีพระองค์สุดท้ายของจีน จักรพรรดินีวั่นหรงทรงสืบเชื้อสายจากวงศ์สกุลด๋าหว่อ (Daur People) จากมองโกเลียลึกตั้งแต่ครั้งโบราณกาล สมเด็จพระจักรพรรดินีวั่นหรงนั้นต่อมาได้รับสถาปนาเป็นสมเด็จพระจักรพรรดินีแห่งแมนจูกัว (หรือเป็นที่รู้จักกันในนามของ "จักรวรรดิแมนจูกัว") สมเด็จพระจักรพรรดินีวั่นหรงกับฉลองพระองค์สมเด็จพระจักรพรรดินีแบบแมนจู.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และจักรพรรดินีวั่นหรง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีโคจุง

ักรพรรดินีโคจุง (6 มีนาคม พ.ศ. 2446 – 16 มิถุนายน พ.ศ. 2543) พระนามเดิม เจ้าหญิงนะงะโกะแห่งคุนิ เป็นพระจักรพรรดินีอัครมเหสีในจักรพรรดิโชวะ และเป็นพระราชมารดาในสมเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโตะ ถือเป็นจักรพรรดินีแห่งญี่ปุ่นที่ดำรงตำแหน่งยาวนานที่สุดในประวัติศาสตร์ญี่ปุ่นDowner, Lesely.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และจักรพรรดินีโคจุง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิโชวะ

มเด็จพระจักรพรรดิฮิโระฮิโตะ หรือพระนามตามชื่อรัชสมัย คือ จักรพรรดิโชวะ (29 เมษายน 2444 - 7 มกราคม 2532) (裕仁) ทรงเป็นจักรพรรดิพระองค์ที่ 124 ของญี่ปุ่น ครองราชย์ระหว่างปี พ.ศ. 2469 - พ.ศ. 2532 (63 ปี) ในตอนต้นรัชสมัยของพระองค์ จักรวรรดิญี่ปุ่นในขณะนั้น ได้กลายเป็นชาติมหาอำนาจของโลกแล้ว ด้วยขนาดเศรษฐกิจที่ใหญ่เป็นอันดับ 9 ของโลก จักรพรรดิฮิโระฮิโตะทรงดำรงตำแหน่งประมุขแห่งรัฐของจักรวรรดิญี่ปุ่นภายใต้รัฐธรรมนูญแห่งจักรวรรดิญี่ปุ่น ในรัชสมัยของพระองค์ ญี่ปุ่นได้เข้าร่วมสงครามโลกครั้งที่สอง ซึ่งทำให้ในห้วงเวลานั้น จักรวรรดิญี่ปุ่นแผ่อำนาจและดินแดนไปทั่วเอเชียบูรพาโดยที่ไม่มีชาติใด ๆ จะสามารถต้านทาน ภายหลังสงครามสิ้นสุดลงบนความพ่ายแพ้ของญี่ปุ่น พระองค์ไม่ได้ถูกดำเนินคดีในข้อหาอาชญากรสงครามดังเช่นผู้นำคนอื่น ๆ ของชาติฝ่ายอักษะ และภายหลังสงคราม พระองค์ทรงเป็นสัญลักษณ์ของรัฐใหม่ในการกอบกู้ประเทศชาติที่ได้รับความเสียหายจากสงคราม ในตอนปลายรัชกาล ประเทศญี่ปุ่นก็สามารถกลับมายืนหยัดในฐานะชาติมหาอำนาจทางเศรษฐกิจอันดับ 2 ของโลก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และจักรพรรดิโชวะ · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิญี่ปุ่น

ักรวรรดิญี่ปุ่น หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ มหาจักรวรรดิญี่ปุ่น เป็นจักรวรรดิที่อยู่ทางตะวันออกที่สุดและเป็นหนึ่งในมหาอำนาจของโลก ในคริสต์ศตวรรษที่ 19-20 สถาปนาขึ้นภายหลังจากการปฏิรูปเมจิ เมื่อวันที่ 3 มกราคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และจักรวรรดิญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดกาฬสินธุ์

ังหวัดกาฬสินธุ์ เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลางหรือตอนบนของประเทศไทย อยู่ห่างจากกรุงเทพมหานครประมาณ 510 กิโลเมตร เป็นจังหวัดที่มีความอุดมสมบูรณ์จังหวัดหนึ่งในภาคอีสาน จากหลักฐานทางโบราณคดีบ่งบอกว่าเคยเป็นที่อยู่อาศัยของเผ่าละว้า ซึ่งมีความเจริญทางด้านอารยธรรมประมาณ 1,600 ปี ต่อมาได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าฯ จากพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ให้ยกฐานะบ้านแก่งสำโรงขึ้นเป็นเมือง และพระราชทานนามว่า “เมืองกาฬสินธุ์” หรือ “เมืองน้ำดำ” ซึ่งเป็นเมืองที่สำคัญทางประวัติศาสตร์มาตั้งแต่สมัยโบราณกาล “กาฬ” แปลว่า “ดำ” “สินธุ์” แปลว่า “น้ำ” กาฬสินธุ์จึงแปลว่า “น้ำดำ” และยังมีแหล่งซากไดโนเสาร์หลายแห่งด้วย โดยเฉพาะอย่างยิ่งในอำเภอสหัสขันธ์ นอกจากนี้ยังมีชื่อเสียงด้านโปงลาง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และจังหวัดกาฬสินธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดมีนบุรี

ตจังหวัตมีนบุรีในอดีต จังหวัดมีนบุรี ขึ้นกับมณฑลกรุงเทพ ตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2444 โดยแบ่งเขตการปกครองออกเป็น 4 อำเภอ ได้แก่ อำเภอคลองสามวา อำเภอแสนแสบ อำเภอหนองจอก และอำเภอเจียรดับ หรือ อำเภอในคลองเจียรดับ (ปัจจุบันอยู่ในเขตหนองจอก) ต่อมาในปี พ.ศ. 2474 จังหวัดมีนบุรีได้ถูกยุบรวมเข้ากับจังหวัดพระนคร เพื่อประหยัดงบประมาณราชการ เนื่องจากปัญหาเศรษฐกิจตกต่ำหลังสงครามโลกครั้งที่ 1 อำเภอที่เป็นที่ตั้งของจังหวัดมีนบุรีเดิมจึงมีชื่อเรียกว่า อำเภอมีนบุรี และได้รับเอาท้องที่ตำบลแสนแสบจากอำเภอลาดกระบังมาอยู่ในการปกครองในปี พ.ศ. 2500 จากนั้นอำเภอมีนบุรีได้เปลี่ยนแปลงฐานะเป็น เขตมีนบุรี เมื่อมีการรวมจังหวัดพระนครกับจังหวัดธนบุรีเข้าด้วยกันเป็นกรุงเทพมหานครในปี พ.ศ. 2515 แบ่งเขตการปกครองย่อยเป็นแขวง รวม 7 แขวง จนในที่สุด ปี พ.ศ. 2540 ได้มีประกาศกระทรวงมหาดไทยเปลี่ยนแปลงพื้นที่เขตมีนบุรี แยก 5 แขวงทางด้านเหนือของเขต ไปจัดตั้งเป็นเขตคลองสามวา ทำให้เขตมีนบุรีเหลือพื้นที่ปกครองอยู่ 60 ตารางกิโลเมตรเศษ ซึ่งใหญ่เป็นอันดับที่ 5 ของกรุงเทพมหานคร หากจังหวัดมีนบุรียังคงอยู่ในปัจจุบัน จะประกอบด้วยอำเภอดังนี้.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และจังหวัดมีนบุรี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดอุตรดิตถ์

ังหวัดอุตรดิตถ์ เดิมสะกดว่า อุตรดิฐ เป็นจังหวัดหนึ่งตั้งอยู่ทางภาคเหนือของประเทศไทย ได้ชื่อว่าเมืองท่าแห่งทิศเหนือ ตำนานอันลึกลับของเมืองลับแล ดินแดนแห่งลางสาดหวานหอม อุตรดิตถ์เป็นเมืองที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์มายาวนาน โดยมีการค้นพบหลักฐานการตั้งถิ่นฐานของชุมชนมาตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ เดิมทีตัวเมืองอุตรดิตถ์ในปัจจุบันนี้เป็นเพียงตำบลชื่อ "บางโพธิ์ท่าอิฐ" แต่เพราะบางโพธิ์ท่าอิฐซึ่งอยู่ริมฝั่งขวาของแม่น้ำน่านมีความเจริญรวดเร็ว เพราะเป็นท่าเรือขนถ่ายสินค้าสำคัญในหัวเมืองฝ่ายเหนือ ดังนั้นในสมัยรัชกาลที่ 5 พระองค์จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ย้ายเมืองหลักมาจากเมืองพิชัยมายังตำบลบางโพธิ์ท่าอิฐ และยกฐานะขึ้นเป็นเมือง "อุตรดิตถ์" ซึ่งมีความหมายว่า ท่าน้ำแห่งทิศเหนือของสยามประเทศ ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 6 เมืองอุตรดิตถ์มีความเจริญขึ้น เมืองอุตรดิตถ์จึงได้รับการยกฐานะขึ้นเป็นจังหวัด จังหวัดอุตรดิตถ์ตั้งอยู่ทางใต้สุดของภาคเหนือตอนล่าง โดยสภาพภูมิศาสตร์จังหวัดอุตรดิตถ์เป็นจังหวัดที่มีภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นภูเขาและที่สูงสลับซับซ้อน ซึ่งจะอยู่ทางตอนเหนือและทางตะวันออกของจังหวัด เนื่องจากทำเลที่ตั้งดังกล่าวจึงทำให้จังหวัดอุตรดิตถ์มีอากาศค่อนข้างร้อนอบอ้าวในฤดูร้อน มีอากาศฝนเมืองร้อนเฉพาะฤดูฝน และมีช่วงฤดูแล้งคั่นอยู่อย่างชัดเจนตั้งแต่ประมาณกลางเดือนตุลาคมถึงเดือนพฤษภาคม เดือนที่ร้อนที่สุดคือเดือนเมษายน จังหวัดอุตรดิตถ์ได้รับอิทธิพลจากมรสุมตะวันออกเฉียงใต้เป็นส่วนใหญ่ มรสุมตะวันออกเฉียงใต้ปกติจะมีแหล่งกำเนิดบริเวณทะเลอันดามัน ทำให้จังหวัดอุตรดิตถ์มีช่วงฤดูฝนกินระยะเวลาตั้งแต่เดือนพฤษภาคมจนถึงเดือนกันยายน โดยเดือนกันยายนเป็นเดือนที่มีปริมาณน้ำฝนเฉลี่ยสูงที่สุด ประชากรส่วนใหญ่กว่าร้อยละ 99.66 นับถือศาสนาพุทธนิกายเถรวาท โดยประกอบอาชีพทางด้านการเกษตรกรรมเป็นหลัก โดยใช้พื้นที่ในการทำการเกษตรประมาณร้อยละ 26.70 ของพื้นที่ทั้งหมด นอกจากนี้ ยังประกอบอาชีพทางด้านปศุสัตว์ รวมทั้งมีการทำพืชไร่ปลูกผลไม้นานาชนิด โดยผลไม้ที่ขึ้นชื่อของจังหวัดอุตรดิตถ์คือลางสาด ส่วนการเดินทางมายังจังหวัดอุตรดิตถ์สามารถใช้เส้นทางได้หลายเส้นทาง ทั้งทางรถไฟ ทางรถโดยสารประจำทาง และทางรถยนต์ส่วนบุคคล สำหรับการเดินทางโดยเครื่องบิน จังหวัดอุตรดิตถ์เคยมีท่าอากาศยาน 1 แห่ง สำหรับการเดินทางพาณิชย์ แต่ปัจจุบันได้ยกเลิกไปแล้ว สถานที่สำคัญภายในจังหวัดนั้น มีทั้งแหล่งโบราณสถาน เช่น วัดพระแท่นศิลาอาสน์ วัดพระฝางสว่างคบุรีมุนีนาถ วัดพระยืนพุทธบาทยุคล วัดพระบรมธาตุทุ่งยั้ง ซากเมืองโบราณสมัยอาณาจักรสุโขทัย แหล่งโบราณคดีก่อนประวัติศาสตร์ แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ เช่น อุทยานแห่งชาติภูสอยดาว อุทยานแห่งชาติต้นสักใหญ่ อุทยานแห่งชาติลำน้ำน่าน และแหล่งท่องเที่ยวอีกมากมาย ทั้งน้ำตก เขื่อนสิริกิติ์ วัด พระพุทธรูปสำคัญของจังหวัด เป็นต้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และจังหวัดอุตรดิตถ์ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดตะกั่วป่า

เมื่อ พ.ศ. 2352 รัชกาลที่ 2 ทรงยกเมืองตะกั่วป่า ตะกั่วทุ่งและถลาง ให้อยู่ในความปกครองของนครศรีธรรมราช จนกระทั่งพม่าตกเป็นเมืองขึ้นของอังกฤษ สมัยรัชกาลที่ 3 เมืองตะกั่วป่า ตะกั่วทุ่ง จึงกลับมาเป็นหัวเมืองขึ้นตรงต่อกรุงเทพฯ เมื่อ พ.ศ. 2383 ถึงรัชกาลที่ 5 ได้ทรง รวบรวมกลุ่มเมืองชั้นนอกเข้าเป็นมณฑลใน พ.ศ. 2435 ซึ่งครั้งนี้ เมืองตะกั่วป่าได้ถูกรวมอยู่ในมณฑลภูเก็ต พ.ศ. 2459 สมัยรัชกาลที่ 6 โปรดเกล้าให้เปลี่ยนจากเมืองเป็นจังหวัด เมืองตะกั่วป่าจึงได้เป็น จังหวัดตะกั่วป่า เดิมแบ่งการปกครองเป็น 3 อำเภอ คือ อำเภอเมืองตะกั่วป่า (อำเภอตลาดใหญ่), อำเภอปากน้ำ (อำเภอเกาะคอเขา) และอำเภอกะปง ใน พ.ศ. 2474 รัชกาลที่ 7 จึงทรงยุบจังหวัดตะกั่วป่า ลงเป็นอำเภอตลาดใหญ่ ขึ้นกับจังหวัดพังงา โดยได้ตั้ง ที่ว่าการอำเภอ อยู่ ณ ศาลากลางจังหวัดตะกั่วป่าเดิมที่บ้านย่านยาว หมวดหมู่:จังหวัดของไทยในอดีต หมวดหมู่:สิ้นสุดในปี พ.ศ. 2474 หมวดหมู่:บทความที่ต้องการภาพ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และจังหวัดตะกั่วป่า · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดนนทบุรี

ังหวัดนนทบุรี เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย จัดตั้งขึ้นครั้งล่าสุดโดยพระราชบัญญัติจัดตั้งจังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดนนทบุรี จังหวัดสมุทรสาคร และจังหวัดนครนายก พุทธศักราช 2489 ซึ่งมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 9 พฤษภาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และจังหวัดนนทบุรี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดน่าน

ังหวัดน่าน (15px) เป็นจังหวัดหนึ่งในประเทศไทย ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกสุดของภาคเหนือ เป็นที่ตั้งของเมืองที่สำคัญในอดีต อาทิ เมืองวรนคร เวียงศีรษะเกษ อีกทั้งยังเป็นแหล่งกำเนิดต้นน้ำที่สำคัญของแม่น้ำน่าน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และจังหวัดน่าน · ดูเพิ่มเติม »

จำกัด พลางกูร

ันตรี จำกัด พลางกูร เลขาธิการขบวนการเสรีไทยสายในประเทศ พันตรี จำกัด พลางกูร (30 ตุลาคม พ.ศ. 2457 - 7 ตุลาคม พ.ศ. 2486) สมาชิกและเลขาธิการเสรีไทยสายในประเทศ และ ผู้แทนขบวนการเสรีไทยผู้มีอำนาจเต็มเดินทางไปแจ้งข่าวและเจรจากับฝ่ายสัมพันธมิตรที่เมืองฉงชิ่ง ประเทศจีน ระหว่างปลายเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2486 - 7 ตุลาคม พ.ศ. 2486 ซึ่งเป็นวันที่ จำกัด พลางกูร เสียชีวิตที่เมืองฉงชิ่ง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และจำกัด พลางกูร · ดูเพิ่มเติม »

จิม โจนส์

ม โจนส์ จิม โจนส์ (ค.ศ. 1931 - ค.ศ. 1978) เป็นชาวอเมริกัน เป็นผู้นำการฆ่าตัวตายหมู่ครั้งที่ร้ายแรงที่สุดในประวัติศาสตร์ มีผู้เสียชีวิตกว่า 900 คน ที่เมืองโจนส์ทาวน์ ประเทศกายอานา ในเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 1978.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และจิม โจนส์ · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอุซเบก

งชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอุซเบก เป็นธงชาติของอุซเบกิสถานในสมัยที่ยังอยู่ภายใต้การปกครองของสหภาพโซเวียต ประกาศใช้อย่างเป็นทางการโดยรัฐบาลสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอุซเบก (Uzbek Soviet Socialist Republic) เมื่อวันที่ 29 สิงหาคม พ.ศ. 2495 ลักษณะเป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า พื้นสีแดง กว้าง 1 ส่วน ยาว 2 ส่วน กลางธงมีแถบสีฟ้าขอบสีขาวพาดผ่าน ที่มุมบนด้านคันธงมีรูปค้อนเคียวไขว้และดาวแดงห้าแฉกขอบสีทอง อันเป็นสัญลักษณ์ของขบวนการคอมมิวนิสต์สากล ความหมายของสัญลักษณ์ในธง คือ สีแดง หมายถึงการต่อสู้เพื่อการปฏิวัติของชนชั้นกรรมาชีพ สีฟ้า หมายถึงผืนฟ้าในอุซเบกโซเวียต สีขาว หมายถึงฝ้าย อันเป็นทรัพยากรหลักของประเทศ ค้อนเคียว หมายถึงการร่วมมือกันระหว่างกรรมกรกับชาวนา ดาวแดง หมายถึง ชั้นกรรมาชี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอุซเบก · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตทาจิก

งชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตทาจิก มีลักษณะเป็นธงแดงรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 1 ส่วน ยาว 2 ส่วน กลางธงมีแถบใหญ่สีขาวและแถบเล็กสีเขียวพาดผ่านตามแนวนอน ที่มุมบนด้านคันธงมีรูปค้อนเคียวไขว้และดาวแดงห้าแฉกขอบสีทอง อันเป็นสัญลักษณ์ของขบวนการคอมมิวนิสต์สากล ประกาศใช้เมื่อวันที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2496 และได้ใช้มาจนถึงการล่มสลายของสหภาพโซเวียตใน พ.ศ. 2534 ประวัติความเป็นมาของธงชาติสาธารณรัฐโซเวียตธงนี้มีความเป็นมาที่ค่อนข้างสลับซับซ้อน เนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลงแบบธงมาหลายครั้ง โดยเริ่มแรกสุด สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตทาจิกเริ่มคิดธงชาติแบบแรกขึ้นในปี พ.ศ. 2468 แต่ได้ประกาศใช้จริงเมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2472 ลักษณะเป็นธงพื้นสีแดงมีรูปตราแผ่นดินที่มุมธงด้านคันธง 2 ปีต่อมา ใน พ.ศ. 2474 ได้มีการเปลี่ยนแปลงธงใหม่ตามรัฐธรรมนูญที่ประกาศใช้ในวันที่ 25 กุมภาพันธ์ ของปีนั้น โดยเปลี่ยนมาใช้รูปอักษรย่อนามประเทศเป็นอักษรลาตินสีทอง ภาษาทาจิก ที่มุมบนด้านคันธง ความว่า ÇSS Toçikiston ต่อมาในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2478 อักษรย่อนามประเทศในภาษารัสเซีย เขียนด้วยอักษรซีรีลลิก จึงถูกเพิ่มเข้ามาในธง ในบริเวณตอนล่างของอักษรย่อเดิม ความว่า Таджикская ССР (Tadzhikskaya SSR) ปี พ.ศ. 2480 มีการเพิ่มรูปค้อนเคียวไว้เหนืออักษรย่อนามประเทศ และรูปอักษรมีการเปลี่ยนแปลงเล็กน้อย โดยคำย่อตอนบนซึ่งเป็นอักษรและภาษาละติน มีใจความว่า RSS Toçikiston ส่วนตอนล่างซึ่งเป็นอักษรซีริลลิกยังคงมีลักษณะเช่นเดิม แบบธงดังกล่าวนี้ได้ใช้ต่อมาจนถึงช่วงทศวรรษที่ 1940 (พุทธทศวรรษที่ 2483) จึงได้เปลี่ยนอักษรย่อนามประเทศในธงทั้งหมดให้เป็นอักษรซีรีลลิกแบบไม่มีเชิง โดยอักษรย่อแถวบนมีข้อความภาษาทาจิก ความว่า РСС Тоҷикистон (RSS Tojikiston) ส่วนตอนล่างเป็นภาษารัสเซีย ความว่า Таджикская ССР (Tadzhikskaya SSR) แบบธงนี้ได้ใช้ต่อมาจนกระทั่งมีการเปลี่ยนธงครั้งสุดท้ายใน พ.ศ. 2496.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตทาจิก · ดูเพิ่มเติม »

ถนอม นวลอนันต์

ตำรวจ ถนอม นวลอนันต์ อดีตนักแสดงตลกชาวไทย และนักร้องเพลงลูกทุ่งชาวไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และถนอม นวลอนันต์ · ดูเพิ่มเติม »

ถนนกรุงเทพฯ-นนทบุรี

นนกรุงเทพฯ-นนทบุรี (Thanon Krung Thep - Nonthaburi) เป็นถนนเชื่อมระหว่างพื้นที่เขตบางซื่อ กรุงเทพมหานคร กับอำเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี มีระยะทางเริ่มต้นจากถนนประชาราษฎร์ สาย 2 (ทางแยกเตาปูน) ในพื้นที่แขวงบางซื่อ เขตบางซื่อ ตรงไปทางทิศเหนือ ตัดผ่านทางรถไฟสายใต้ เข้าพื้นที่แขวงวงศ์สว่าง จากนั้นโค้งไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ตัดกับถนนวงศ์สว่าง (ทางแยกวงศ์สว่าง) ข้ามคลองบางเขนเข้าสู่เขตตำบลบางเขน อำเภอเมืองนนทบุรี ข้ามคลองบางตะนาวศรีเข้าเขตตำบลตลาดขวัญ และไปสิ้นสุดที่จุดตัดระหว่างถนนสายนี้กับถนนติวานนท์และถนนนครอินทร์ (ทางแยกติวานนท์) โดยมีแนวถนนที่ตรงต่อเนื่องไปคือถนนประชาราษฎร์ ถนนกรุงเทพฯ-นนทบุรีเป็นถนนขนาด 4 ช่องทางจราจร (เกาะกลางเป็นที่ตั้งของรถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรม) ระยะทางรวม 5.358 กิโลเมตร ความกว้างประมาณ 25 เมตร ตัดขึ้นตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการจัดซื้อที่ดินและอสังหาริมทรัพย์อย่างอื่นเพื่อตัดถนนเชื่อมคมนาคมกรุงเทพพระมหานครกับจังหวัดนนทบุรี เมื่อปี พ.ศ. 2474 โดยมีแนวเส้นทางเริ่มจากถนนพระรามที่ 5 (แต่เมื่อก่อสร้างจริงนั้นเริ่มที่ถนนประชาราษฎร์ สาย 2) ไปถึงบริเวณเหนือวัดลานวัว ทั้งนี้เพื่อให้การจราจรทางบกระหว่างสองจังหวัดรวดเร็วยิ่งขึ้น หลังจากเมื่อปี พ.ศ. 2471 พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวได้โปรดเกล้าฯ ให้ย้ายศาลากลางจังหวัดนนทบุรีจากปากคลองบางซื่อลงมาตั้งที่ตำบลบางขวาง รวมทั้งยังโปรดเกล้าฯ ให้สร้างเรือนจำมหันตโทษกลางขึ้นที่นั่นด้วย ในปีต่อมา (พ.ศ. 2475) พระองค์โปรดเกล้าฯ พระราชทานนามถนนสายนี้รวมกับถนนที่มาจากตัวจังหวัดนนทบุรีถึงวัดลานวัวว่า ถนนประชาราษฎร์ จนกระทั่งภายหลังได้มีการเปลี่ยนชื่อถนนช่วงทางแยกเตาปูนถึงทางแยกติวานนท์เป็น ถนนกรุงเทพฯ-นนทบุรี ปัจจุบันถนนกรุงเทพฯ-นนทบุรีในเขตบางซื่ออยู่ในการดูแลของสำนักการโยธา กรุงเทพมหานคร มีระยะทาง 3.617 กิโลเมตร ส่วนช่วงที่อยู่ในเขตอำเภอเมืองนนทบุรีนั้นถือเป็น ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 301 สายคลองบางเขน - ติวานนท์ และเป็นเขตควบคุมของหมวดทางหลวงนนทบุรี แขวงทางหลวงนนทบุรี (หน่วยงานของกรมทางหลวง) ระยะทาง 1.741 กิโลเมตร อนึ่ง การใช้ชื่อซอยย่อยของถนนระหว่างสองพื้นที่ยังมีความแตกต่างกันอีกด้วย กล่าวคือ กรุงเทพมหานครใช้ชื่อซอยว่า "กรุงเทพ-นนทบุรี" ฝั่งขาออก (ฝั่งซอยเลขคี่) มี 24 ซอย และฝั่งขาเข้า (ฝั่งซอยเลขคู่) มี 31 ซอย ส่วนเทศบาลนครนนทบุรีจะเริ่มนับตัวเลขใหม่เมื่อเข้าเขตจังหวัดนนทบุรี โดยใช้ชื่อซอยว่า "กรุงเทพนนท์" ฝั่งขาออกมี 8 ซอย และฝั่งขาเข้ามี 7 ซอ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และถนนกรุงเทพฯ-นนทบุรี · ดูเพิ่มเติม »

ถนนวังเดิม

นนวังเดิม (Thanon Wang Doem) เป็นถนนสายหนึ่งในพื้นที่แขวงวัดอรุณ เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพมหานคร มีระยะทางยาว 837 เมตร มีจุดเริ่มต้นจากทางแยกโพธิ์สามต้นซึ่งเป็นจุดตัดกับถนนอิสรภาพ ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ผ่านแนวคูข้างกรมวิทยาศาสตร์ทหารเรือ (เดิม) ตัดกับถนนอรุณอมรินทร์ที่ทางแยกวังเดิม ข้ามคลองบ้านหม้อ (คลองวัดท้ายตลาด) จากนั้นโค้งไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ผ่านกองบัญชาการกองทัพเรือ เลียบกำแพงวัดอรุณราชวราราม ข้ามคลองวัดอรุณ โค้งไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือและทิศตะวันตกเฉียงใต้ ไปสิ้นสุดที่ถนนอรุณอมรินทร์บริเวณคลองบ้านหม้อ ถนนวังเดิมเป็น "ถนนสายที่ 6" ในโครงการตัดและขยายถนน 11 สายในจังหวัดธนบุรีและจังหวัดพระนครเพื่อรองรับการก่อสร้างสะพานปฐมบรมราชานุสรณ์ (สะพานพระพุทธยอดฟ้า) เมื่อปี พ.ศ. 2472 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยถนนสายนี้เป็นหนึ่งในถนนซอย 6 สายที่ตัดจากริมแม่น้ำเจ้าพระยาเพื่อเชื่อมต่อกับถนนหลัก 4 สายแรก มีแนวเส้นทางเริ่มตั้งแต่ริมแม่น้ำเจ้าพระยาทางด้านเหนือของกำแพงพระราชวังเดิม ไปผ่านถนนสายที่ 2 (ปัจจุบันคือถนนอรุณอมรินทร์) ไปออกถนนสายที่ 3 (ปัจจุบันคือถนนอิสรภาพ) กว้าง 16 เมตร ยาวประมาณ 830 เมตร ตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการจัดซื้อที่ดินและอสังหาริมทรัพย์อย่างอื่น เพื่อตัดและขยายถนนฝั่งจังหวัดธนบุรีและจังหวัดพระนคร พ.ศ. 2473 ถนนสายที่ 6 เริ่มก่อสร้างในปี พ.ศ. 2474กนกวลี ชูชั.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และถนนวังเดิม · ดูเพิ่มเติม »

ถนนท่าดินแดง

นนท่าดินแดง (Thanon Tha Din Daeng) เป็นถนนสายหนึ่งในพื้นที่เขตคลองสาน กรุงเทพมหานคร มีลักษณะเป็นถนนขนาด 4 ช่องทางจราจร ไม่มีเกาะกลาง เขตถนนกว้าง 22 เมตร ระยะทางยาว 936 เมตร มีจุดเริ่มต้นจากสามเหลี่ยมลาดหญ้าซึ่งเป็นจุดตัดกับถนนลาดหญ้าและถนนอิสรภาพ มุ่งขึ้นไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ข้ามคลองสมเด็จเจ้าพระยาและตัดกับถนนสมเด็จเจ้าพระยาที่ทางแยกท่าดินแดง ไปสิ้นสุดที่ริมแม่น้ำเจ้าพระยาบริเวณท่าเรือท่าดินแดง ถนนท่าดินแดงเป็น "ถนนสายที่ 9" ในโครงการตัดและขยายถนน 11 สายในจังหวัดธนบุรีและจังหวัดพระนครเพื่อรองรับการก่อสร้างสะพานปฐมบรมราชานุสรณ์ (สะพานพระพุทธยอดฟ้า) เมื่อปี พ.ศ. 2472 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการจัดซื้อที่ดินและอสังหาริมทรัพย์อย่างอื่น เพื่อตัดและขยายถนนฝั่งจังหวัดธนบุรีและจังหวัดพระนคร พ.ศ. 2473 ได้กำหนดแนวเส้นทางถนนสายที่ 9 ไว้ตั้งแต่ถนนสายที่ 4 (ปัจจุบันคือถนนลาดหญ้า) ผ่านถนนสายที่ 3 (ปัจจุบันคือถนนอิสรภาพ) และถนนสายที่ 2 (ปัจจุบันคือถนนสมเด็จเจ้าพระยา) ไปจนถึงริมแม่น้ำเจ้าพระยาฝั่งตรงข้ามท่าเรือราชวงศ์ ทางการเริ่มก่อสร้างถนนสายที่ 9 ในปี พ.ศ. 2474กนกวลี ชูชั.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และถนนท่าดินแดง · ดูเพิ่มเติม »

ถนนประชาราษฎร์

นนประชาราษฎร์ (Thanon Pracha Rat) เป็นเส้นทางการคมนาคมในท้องที่อำเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี มีระยะทางเริ่มต้นจากแยกติวานนท์ ซึ่งเป็นจุดตัดระหว่างถนนติวานนท์และถนนนครอินทร์กับถนนกรุงเทพฯ-นนทบุรีในพื้นที่ตำบลตลาดขวัญ ไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ โค้งและตรงไปทางทิศตะวันตก จนกระทั่งตัดกับถนนเลี่ยงเมืองนนทบุรี (แยกประชาราษฎร์-เลี่ยงเมือง) และเข้าเขตตำบลสวนใหญ่ จากนั้นเบี่ยงลงไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้เล็กน้อย ก่อนตัดกับถนนพิบูลสงคราม (แยกศรีพรสวรรค์) และไปสิ้นสุดที่วงเวียนหอนาฬิกาท่าน้ำนนทบุรี ถนนประชาราษฎร์เป็นถนนสายแรก ๆ ของจังหวัดนนทบุรี ตัดขึ้นตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการจัดซื้อที่ดินและอสังหาริมทรัพย์อย่างอื่นเพื่อตัดถนนจากแม่น้ำเจ้าพระยาที่ตำบลบางขวางขึ้นไปถึงวัดลานวัว จังหวัดนนทบุรีเมื่อปี พ.ศ. 2474 โดยมีแนวเส้นทางเริ่มจากแม่น้ำเจ้าพระยา ตำบลบางขวาง (ปัจจุบันคือตำบลสวนใหญ่) ไปทางทิศตะวันออกจนถึงบริเวณเหนือวัดลานวัว (ปัจจุบันคือวัดลานนาบุญ) ทั้งนี้เพื่อให้การจราจรทางบกในจังหวัดนนทบุรีมีความสะดวกรวดเร็วยิ่งขึ้น หลังจากที่เมื่อปี พ.ศ. 2471 พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวได้โปรดเกล้าฯ ให้ย้ายศาลากลางจังหวัดนนทบุรีจากปากคลองบางซื่อลงมาตั้งที่ตำบลบางขวาง รวมทั้งยังโปรดเกล้าฯ ให้สร้างเรือนจำมหันตโทษกลางขึ้นที่นั่นด้วย ในปีต่อมา (พ.ศ. 2475) พระองค์จึงโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามถนนสายนี้รวมกับถนนที่ตัดมาจากตำบลบางซื่อ กรุงเทพพระมหานคร (ซึ่งตัดขึ้นในช่วงเดียวกัน) ว่า ถนนประชาราษฎร์ จนกระทั่งภายหลังได้มีการแบ่งถนนประชาราษฎร์ช่วงตั้งแต่แยกเตาปูนถึงแยกติวานนท์ออกไปเป็นถนนกรุงเทพฯ-นนทบุรี ถนนประชาราษฎร์จึงมีระยะทางอยู่ในจังหวัดนนทบุรีเท่านั้น ปัจจุบันช่วงตั้งแต่แยกติวานนท์ถึงแยกศรีพรสวรรค์เป็นส่วนหนึ่งของทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 306 และอยู่ในเขตควบคุมของหมวดทางหลวงนนทบุรี แขวงทางหลวงนนทบุรี (หน่วยงานของกรมทางหลวง).

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และถนนประชาราษฎร์ · ดูเพิ่มเติม »

ถนนเชียงใหม่

นนเชียงใหม่ (Thanon Chiang Mai) เป็นถนนสายหนึ่งในพื้นที่แขวงคลองสาน เขตคลองสาน กรุงเทพมหานคร มีลักษณะเป็นถนนคอนกรีตเสริมเหล็กขนาด 2 ช่องทางจราจร ไม่มีเกาะกลาง เขตถนนกว้าง 16 เมตร ระยะทางยาว 400 เมตร มีจุดเริ่มต้นจากถนนสมเด็จเจ้าพระยาฝั่งตรงข้ามสถาบันจิตเวชศาสตร์สมเด็จเจ้าพระยา มุ่งไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ไปสิ้นสุดที่ริมแม่น้ำเจ้าพระยาบริเวณท่าเรือวัดทองธรรมชาติ ถนนเชียงใหม่เป็น "ถนนสายที่ 10" ในโครงการตัดและขยายถนน 11 สายในจังหวัดธนบุรีและจังหวัดพระนครเพื่อรองรับการก่อสร้างสะพานปฐมบรมราชานุสรณ์ (สะพานพระพุทธยอดฟ้า) เมื่อปี พ.ศ. 2472 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการจัดซื้อที่ดินและอสังหาริมทรัพย์อย่างอื่น เพื่อตัดและขยายถนนฝั่งจังหวัดธนบุรีและจังหวัดพระนคร พ.ศ. 2473 ได้กำหนดแนวเส้นทางถนนสายที่ 10 ไว้ตั้งแต่ถนนสายที่ 2 (ปัจจุบันคือถนนสมเด็จเจ้าพระยา) ไปจนถึงริมแม่น้ำเจ้าพระยาบริเวณระหว่างวัดทองธรรมชาติกับวัดทองนพคุณ ซึ่งในขณะนั้นเป็นย่านที่จอดเรือขนถ่ายสินค้าและโรงเก็บสินค้าของชาวจีน เรียกกันว่า "ฮวยจุ้นล้ง" แปลว่า "ท่าเรือไฟ" ทางการเริ่มก่อสร้างถนนสายที่ 10 ในปี พ.ศ. 2474กนกวลี ชูชั.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และถนนเชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

ทฤษฎีบทความไม่สมบูรณ์ของเกอเดล

ทฤษฎีบทความไม่สมบูรณ์ของเกอเดล (Gödel's incompleteness theorems) เป็นทฤษฎีตรรกะทางคณิตศาสตร์ ที่เกิดขึ้นในปี ค.ศ. 1931 โดย เคิร์ท เกอเดล (Kurt Gödel) เคิร์ท เกอเดล ซึ่งในขณะนั้นเป็นนักคณิตศาสตร์อยู่ที่มหาวิทยาลัยเวียนนา ได้ตีพิมพ์เปเปอร์ชื่อ Über formal unentscheidbare Sätze der Principia Mathematica und verwandter Systeme (ต้นฉบับเป็นภาษาเยอรมัน หรือมีชื่อในภาษาอังกฤษว่า On Formally Undecidable Propositions in Principia Mathematica and Related Systems หรือ ว่าด้วยประพจน์ที่ตัดสินไม่ได้อย่างเป็นรูปนัยใน พรินซิเพีย แมเทเมทิกา และระบบอื่นที่เกี่ยวข้อง) ในเปเปอร์นี้ เกอเดลทำการพิสูจน์จนที่สุดแล้วได้ผลลัพธ์เป็นสองทฤษฎีบทที่น่าตื่นตะลึง ซึ่งในภายหลังทฤษฎีบททั้งสองถูกเรียกรวมกันว่าทฤษฎีบทความไม่สมบูรณ์ของเกอเดล ทฤษฎีบทนี้นับว่าเป็นเป็นทฤษฎีบทสำคัญที่เข้าขั้นปฏิวัติวงการ ทั้งในด้านตรรกศาสตร์ ด้านคณิตศาสตร์ ด้านปรัชญา และด้านการแสวงหาความรู้ของมนุษยชาติ รวมทั้งทำให้เกิดบทวิเคราะห์ การตีความ และคำถามต่างๆ ตามมาขึ้นอีกมากม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และทฤษฎีบทความไม่สมบูรณ์ของเกอเดล · ดูเพิ่มเติม »

ทอมัส เอดิสัน

''A Day with Thomas Edison'' (1922) ทอมัส แอลวา เอดิสัน (Thomas Alva Edison) เป็นนักประดิษฐ์และนักธุรกิจชาวอเมริกัน ผู้ซึ่งประดิษฐ์อุปกรณ์ที่สำคัญต่าง ๆ มากมาย ได้ฉายา "พ่อมดแห่งเมนโลพาร์ก" เป็นหนึ่งในผู้ริเริ่มนำหลักการของ การผลิตจำนวนมาก และ กระบวนการประดิษฐ์ มาประยุกต์รวมกัน ทอมัส เอดิสัน มักจะถูกเข้าใจผิดว่าเป็นผู้คิดค้นหลอดไฟ แต่ในความเป็นจริงเขาเป็นบุคคลแรกที่จดสิทธิบัตรในการประดิษฐ์หลอดไฟจากนักวิทยาศาสตร์กว่า 20 คนที่คิดค้นหลอดไฟ และสามารถนำมาทำเป็นธุรกิจได้ เอดิสันยังคงเป็นหนึ่งในผู้ก่อตั้งบริษัทเจเนอรัลอิเล็กทริก (General Electric) บริษัทเครื่องใช้ไฟฟ้าขนาดใหญ่ของโลก และก่อตั้งอีกหลายบริษัทในด้านไฟฟ้า หนึ่งในบริษัทของเอดิสันยังเป็นผู้คิดค้นเก้าอี้ไฟฟ้าสำหรับประหารชีวิตนักโทษอีกด้วย เอดิสันยังคงเป็นบุคคลสำคัญในสงครามกระแสไฟฟ้า (War of Currents) โดยเอดิสันพยายามผลักดันระบบไฟฟ้ากระแสตรงของบริษัท แข่งกับระบบไฟฟ้ากระแสสลับของจอร์จ เวสติงเฮาส์ (George Westinghouse) โดยพนักงานในบริษัทของเขาได้โฆษณาชวนเชื่อความอันตรายของไฟฟ้ากระแสสลับโดยการฆ่าหมาแมวเป็นจำนวนหลายตัว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และทอมัส เอดิสัน · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 306

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 306 สายพระราม 7–บางพูน เป็นทางหลวงแผ่นดินที่ก่อสร้างเลียบแม่น้ำเจ้าพระยาทางฝั่งตะวันออก โดยเริ่มต้นตั้งแต่ในเขตกรุงเทพมหานคร บริเวณหน้ามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ เข้าเขตจังหวัดนนทบุรี ผ่านท้องที่อำเภอเมืองนนทบุรีและอำเภอปากเกร็ด เข้าสู่เขตจังหวัดปทุมธานี มีขนาด 6 ช่องจราจรตลอดเส้นทาง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 306 · ดูเพิ่มเติม »

ทูมัส ทรานสเตรอเมอร์

ทูมัส ทรานสเตรอเมอร์ ทูมัส เยิสตา ทรานสเตรอเมอร์ (Tomas Gösta Tranströmer, 15 เมษายน ค.ศ. 1931 — 26 มีนาคม ค.ศ. 2015) เป็นนักเขียน กวี และนักแปลชาวสวีเดน ซึ่งผลงานกวีของเขาถูกแปลมากกว่า 60 ภาษาทั่วโลก ทรานสเตรอเมอร์ได้รับการยกย่องว่าเป็นหนึ่งในนักเขียนคนสำคัญที่สุดในสแกนดิเนเวียตั้งแต่สงครามโลกครั้งที่สอง บทวิจารณ์ได้ยกย่องบทกวีของทรานสเตรอเมอร์จากความเข้าใจง่าย แม้แต่ในการแปล บทกวีของเขาสามารถถ่ายทอดฤดูหนาวอันยาวนานของประเทศสวีเดน ทำนองแห่งฤดูกาลและบรรยากาศความงามของธรรมชาติได้อย่างชัดเจน เขาได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม ประจำปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และทูมัส ทรานสเตรอเมอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ทซาธอกกวา

ทซาธอกกวา (อักษรละติน: Tsathoggua) หรือ โชธาควา (อักษรละติน: Zhothaqquah) เป็นหนึ่งในเกรทโอลด์วันจากเรื่องชุดตำนานคธูลู มีฉายาว่า ผู้หลับใหลแห่งอึนไค (Sleeper of N'kai) โดยปรากฏตัวครั้งแรกในเรื่องสั้น The Tale of Satampra Zeiros ซึ่งคลาก แอชตัน สมิท ประพันธ์ในปีพ.ศ. 2472และได้ลงตีพิมพ์ในวารสาร Weird Tales ฉบับเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2474 แต่เรื่องแรกของทซาธอกกวาที่ได้รับการตีพิมพ์คือ The Whisperer in Darkness ของเอช. พี. เลิฟคราฟท์ ซึ่งประพันธ์ในปี 2473 และตีพิมพ์ใน Weird Tales ฉบับเดือนสิงหาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และทซาธอกกวา · ดูเพิ่มเติม »

ดอน คิง

อน คิง ดอน คิง (Don King) มีชื่อเต็มว่า โดนัลด์ ดอน คิง (Donald Don King) เกิดเมื่อวันที่ 20 สิงหาคม ค.ศ. 1931 ที่เมืองคลีฟแลนด์ รัฐโอไฮโอ สหรัฐอเมริกา เมื่อตอนอายุ 14 เคยติดคุกข้อหาฆ่าคนตายมาแล้ว ดอน คิง เริ่มอาชีพในวงการมวยด้วยการเป็นผู้จัดการให้กับ เออร์นี่ เชฟเวอร์ นักมวยรุ่นเฮฟวี่เวท และเริ่มมีชื่อเสียงจากการเป็นโปรโมเตอร์ผู้จัดศึก "The Rumble in the Jungle" ในปี ค.ศ. 1974 ที่กรุงกินชาซา ประเทศซาอีร์ ซึ่งเป็นการป้องกันตำแหน่งแชมป์โลกในรุ่นเฮฟวี่เวทระหว่าง จอร์จ โฟร์แมน กับ มูฮัมหมัด อาลี ซึ่งมวยคู่นี้ได้สร้างปรากฏการณ์หลายอย่างให้เกิดขึ้นในโลกด้วย ไม่เพียงแต่เป็นการแข่งขันกีฬาธรรมดา แต่ยังมีนัยแฝงทางการเมืองรวมอยู่ด้วย เนื่องจากขณะนั้นกระแสทางการเมืองทั่วโลกกำลังต่อต้านชนชาติผิวสี แต่การที่ดอน คิง กล้าเข้าไปจัดมวยชิงแชมป์โลกถึงใจกลางทวีปแอฟริกา นับเป็นการท้าทายอย่างยิ่ง และมวยคู่นี้จบลงที่อาลีเป็นฝ่ายชนะน็อกไปในยกที่ 8 ได้กลับมาเป็นแชมป์โลกสมัยที่ 2 ทั้ง ๆ ที่เกมการชกก่อนหน้านั้นเป็นไปอย่างชนิดที่อาลีเป็นรองสุดกู่ ท่ามกลางเสียงครหาว่าผู้จัดเจตนาขึงเชือกกั้นเวทีให้หย่อน เพื่อที่จะให้อาลีพยายามโยกหลบหมัดของโฟร์แมนได้สะดวก อีกทั้งฝ่ายโฟร์แมนเองก็ได้บอกภายหลังการชกว่า ตนถูกเอาเปรียบแทบทุกอย่าง ในทศวรรษที่ 80 และ 90 เรียกได้ว่าเป็นยุคทองของ ดอน คิง เมื่อยอดนักมวยของโลกหลายต่อหลายคนทยอยเข้ามาอยู่ในสังกัด ไม่ว่าจะเป็น ซาลวาดอร์ ซานเชส, ไมค์ ไทสัน, โรแบร์โต้ ดูรัน, อเล็กซิส อาร์กูเอลโล่, ฮูลิโอ ซีซาร์ ชาเวซ, ริคาร์โด้ โลเปซ เป็นต้น พร้อมกันนั้น ดอน คิง ยังได้เปิด "ดอน คิง โปรโมชั่น" (Don King Promotion) บริษัทของตัวเองอย่างเป็นทางการในปี ค.ศ. 1970 ดอน คิง นับได้ว่าเป็นผู้สร้างปรากฏการณ์ให้กับวงการมวยสหรัฐและวงการมวยโลกอย่างแท้จริง โดยเป็นผู้จุดกระแสสร้างสีสันให้กับการประกบคู่มวย โดยสร้างสีสันให้แก่การชก เช่น การโชว์แสงสีระหว่างหรือก่อนการชก การเปิดตัวนักมวย รวมทั้งยังนำเสนอแม้แต่ตัวเองด้วยผ่านการไว้ทรงผมที่ฟูฟองตั้งตรงตลอดเวลา อันเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว และมักขึ้นไปแสดงตัวบนเวทีให้ผู้ชมให้เห็นกันเสมอ ๆ อีกทั้งยังเป็นผู้เริ่มการจัดศึกมวยโลกขึ้นที่ลาสเวกัส รัฐเนวาดา อีกด้วย เพื่อดึงดูดความน่าสนใจและดึงดูดนักเล่นพนันทั้งหลาย เนื่องจากก่อนหน้านั้นศูนย์กลางของวงการมวยโลกและมวยสหรัฐจะอยู่ที่สนามเมดิสัน สแควร์ การ์เด้น ในมหานครนิวยอร์ก หน้าปกดีวีดีภาพยนตร์เรื่อง ''Don King: Only in America'' ดอน คิง ได้ชื่อว่าเป็นผู้ทรงอิทธิพลอันดับหนึ่งของวงการมวยโลก เป็นผู้ที่เชื่อว่ามีอิทธิพลเหนือสถาบันมวยใด ๆ โดยมีกลุ่มมาเฟียที่ลาสเวกัสให้การสนับสนุนอยู่ ถูกครหาว่าเป็นผู้อยู่เบื้องหลังการให้คะแนนที่ค้านสายตาผู้ชมหลายครั้ง ถูกฟ้องร้องดำเนินคดีทางศาลหลายต่อหลายครั้ง แต่ก็รอดตัวมาได้ทุกครั้ง ปัจจุบันได้โอนถ่ายงานส่วนหนึ่งไปให้แก่ลูกชายคือ คาร์ล คิง เป็นผู้ดูแล.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และดอน คิง · ดูเพิ่มเติม »

ดอนิงตันพาร์ก

อนิงตันพาร์ก (Donington Park) ตั้งอยู่ใกล้ปราสาทดอนิงตัน เลสเตอร์ไชร์ตะวันตกเฉียงเหนือ ประเทศอังกฤษ ใช้เป็นสถานที่แข่งรถ และจัดแสดงดนตรี มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2474 สนามแข่งรถดอนิงตันพาร์ก เปิดใช้เป็นสนามแข่งรถจักรยานยนต์มาตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และดอนิงตันพาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

ดิวเทอเรียม

วเทอเรียม (Deuterium) สัญญลักษณ์ 2H ถูกเรียกอีกชื่อหนึ่งว่าไฮโดรเจนหนัก เป็นหนึ่งในสองของไอโซโทปของไฮโดรเจนที่เสถียร โดยที่นิวเคลียสของอะตอมมีโปรตอน 1 ตัวและนิวตรอน 1 ตัว ในขณะที่ไอโซโทปของไฮโดรเจนที่รู้จักกันทั่วไปมากกว่าที่เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า โปรเทียม (protium) มีเพียงโปรตอนเดียวเท่านั้น ไม่มีนิวตรอน ดิวเทอเรียมมี'ความอุดมในธรรมชาติ' โดยพบในมหาสมุทรทั่วไปประมาณหนึ่งอะตอมใน 6420 อะตอมของไฮโดรเจน ทำให้ดิวเทอเรียมมีสัดส่วนที่ประมาณ 0.0156% (หรือ 0.0312% ถ้าคิดตามมวล) ของไฮโดรเจนที่เกิดในธรรมชาติทั้งหมดในมหาสมุทร ในขณะที่โปรเทียมมีสัดส่วนมากกว่า 99.98% ความอุดมของดิวเทอเรียมเปลี่ยนแปงเล็กน้อยตามชนิดของน้ำตามธรรมชาติ (ดู ค่าเฉลี่ยของน้ำในมหาสมุทรตามมาตรฐานเวียนนา) นิวเคลียสของดิวเทอเรียมเรียกว่าดิวเทอรอน เราใช้สัญลักษณ์ 2H แทนดิวเทอเรียม อย่างไรก็ตาม บ่อยครั้งที่เราใช้ D แทนดิวเทอเรียม เช่นเมื่อเราต้องการจะเขียนสัญลักษณ์แทนโมเลกุลก๊าซดิวเทอเรียม จะสามารถเขียนแทนได้ว่า 2H2 หรือ D2 ก็ได้ หากแทนที่ดิวเทอเรียมในโมเลกุลของน้ำ จะทำให้เกิดสารดิวเทอเรียมออกไซด์หรือที่เรียกว่าน้ำมวลหนักขึ้น ถึงแม้น้ำชนิดหนักจะไม่เป็นสารพิษที่ร้ายแรงมากนัก แต่ก็ไม่เคยถูกนำมาใช้ในการอุปโภคบริโภค การมีอยู่ของดิวเทอเรียมในดาวฤกษ์เป็นข้อมูลสำคัญในวิชาจักรวาลวิทยา โดยปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชันในดาวฤกษ์จะทำลายดิวเทอเรียม ยังไม่พบกระบวนการในธรรมชาติใดๆที่ทำให้เกิดดิวเทอเรียมนอกจากปรากฏการณ์บิ๊กแบง ดิวเทอเรียมไม่มีอะไรต่างจากไฮโดรเจนมากนักในเชิงเคมีฟิสิกส์ นอกเสียจากว่ามีมวลที่หนักกว่า ซึ่งมวลที่หนักกว่านี้เองที่ทำให้ดิวเทอเรียมเปรียบเสมือนกับไฮโดรเจนที่เชื่องช้า เนื่องจากการที่มีมวลมากกว่า จะทำให้มีอัตราการเกิดปฏิกิริยาน้อยกว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และดิวเทอเรียม · ดูเพิ่มเติม »

ดีพวัน

ีพวัน (Deep One) เป็นอมนุษย์ในงานประพันธ์ชุดตำนานคธูลูของเอช. พี. เลิฟคราฟท์ โดยปรากฏตัวครั้งแรกในเรื่องสั้น The Shadow Over Innsmouth (พ.ศ. 2474) มีลักษณะคล้ายกับกบและปลา อาศัยอยู่ในทะเล และสามารถสืบพันธุ์กับมนุษย์ได้ สิ่งที่ปรากฏในเรื่องชุดตำนานคธูลูมากมายที่เกี่ยวโยงกับดีพวัน เช่น เมือง Innsmouth นครใต้สมุทร Y'ha-nthlei กลุ่มภาคีแห่งดากอน และอสุรกายซึ่งเรียกว่า เจ้าพ่อดากอนกับเจ้าแม่ไฮดรา หลังจากที่ปรากฏตัวในงานของเลิฟคราฟท์แล้ว ดีพวันยังปรากฏตัวในงานประพันธ์ของนักเขียนคนอื่นๆ โดยเฉพาะออกัสต์ เดอเล.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และดีพวัน · ดูเพิ่มเติม »

คลื่นสึนามิ

แสดงคลื่นสึนามิพัดขึ้นฝั่ง คลื่นสึนามิ เป็นกลุ่มคลื่นน้ำที่เกิดขึ้นจากการย้ายที่ของปริมาตรน้ำก้อนใหญ่ คือ มหาสมุทรหรือทะเลสาบขนาดใหญ่ แผ่นดินไหว การปะทุของภูเขาไฟและการระเบิดใต้น้ำอื่นๆ (รวมทั้งการจุดวัตถุระเบิดหรือวัตถุระเบิดนิวเคลียร์ใต้น้ำ) ดินถล่ม ธารน้ำแข็งไถล อุกกาบาตตกและการรบกวนอื่น ไม่ว่าเหนือหรือใต้น้ำ ล้วนอาจก่อให้เกิดเป็นคลื่นสึนามิได้ทั้งสิ้น คลื่นสึนามิไม่เหมือนกับคลื่นทะเล(tidal wave)ตามปกติ เพราะมีความยาวคลื่นยาวกว่ามาก แทนที่จะเป็นคลื่นหัวแตก (breaking wave) ตามปกติ คลื่นสึนามิเริ่มแรกอาจดูเหมือนกับว่าคลื่นน้ำเพิ่มระดับสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว และด้วยเหตุนี้ คลื่นสึนามิจึงมักเรียกว่าเป็นคลื่นยักษ์ โดยทั่วไป คลื่นสึนามิประกอบด้วยกลุ่มคลื่นซึ่งมีคาบเป็นนาทีหรืออาจมากถึงชั่วโมง มากันเรียกว่าเป็น "คลื่นขบวน" (wave train) ความสูงของคลื่นหลายสิบเมตรนั้นอาจเกิดขึ้นได้จากเหตุการณ์ขนาดใหญ่ แม้ผลกระทบของคลื่นสึนามินั้นจะจำกัดอยู่แค่พื้นที่ชายฝั่ง แต่อำนาจทำลายล้างของมันสามารถมีได้ใหญ่หลวงและสามารถมีผลกระทบต่อทั้งแอ่งมหาสมุทร คลื่นสึนามิในมหาสมุทรอินเดีย พ.ศ. 2547 เป็นหนึ่งในภัยธรรมชาติครั้งที่มีผู้เสียชีวิตมากที่สุดในประวัติศาสตร์มนุษยชาติ โดยมีผู้เสียชีวิตกว่า 230,000 คน ใน 14 ประเทศที่ติดกับมหาสมุทรอินเดีย ธูซิดดิดีส นักประวัติศาสตร์ชาวกรีก เสนอเมื่อ 426 ปีก่อนคริสตกาล ว่า คลื่นสึนามิเกี่ยวข้องกับแผ่นดินไหวใต้ทะเลThucydides: แต่ความเข้าใจในธรรมชาติของคลื่นสึนามิยังมีเพียงเล็กน้อยกระทั่งคริสต์ศตวรรษที่ 20 และยังมีอีกมากที่ยังไม่ทราบในปัจจุบัน ขณะที่แผ่นดินไหวที่รุนแรงน้อยกว่ามากกลับก่อให้เกิดคลื่น พยายามพยากรณ์เส้นทางของคลื่นสึนามิข้ามมหาสมุทรอย่างแม่นยำ และยังพยากรณ์ว่าคลื่นสึนามิจะมีปฏิสัมพันธ์กับชายฝั่งแห่งหนึ่ง ๆ อย่างไร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และคลื่นสึนามิ · ดูเพิ่มเติม »

ความเคลื่อนไหวสู่การปฏิวัติสยาม

วามคิดและความเคลื่อนไหวที่จะเปลี่ยนแปลงระบอบการปกครองของราชอาณาจักรสยาม จากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ไปเป็นประชาธิปไตยนั้น มีมาตั้งแต่รัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อประมาณ ร..

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และความเคลื่อนไหวสู่การปฏิวัติสยาม · ดูเพิ่มเติม »

คาบาเร่ต์ (ภาพยนตร์)

ร่ต์ (Cabaret) เป็นภาพยนตร์เพลง กำกับโดย บ็อบ ฟอสส์ นำแสดงโดย ไลซา มินเนลลิ, ไมเคิล ยอร์ก, โจเอล เกรย์ เนื้อเรื่องโดยเกี่ยวกับกรุงเบอร์ลินในปี ค.ศ. 1931 กับอิทธิพลของฮิตเลอร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และคาบาเร่ต์ (ภาพยนตร์) · ดูเพิ่มเติม »

คาร์ล แจนสกี

Karl Guthe Jansky คาร์ล แจนสกี (Karl Guthe Jansky) (22 ตุลาคม ค.ศ. 1905 - 14 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1950) เป็นคนสร้างกล้องโทรทรรศน์อวกาศจันทรา พ.ศ. 2474 ซึ่งเขาพบว่า "สัญญาณรบกวน" ที่บันทึกได้เป็นสัญญาณจากทางช้างเผือก ต่อมาหลังสงครามโลกครั้งที่สอง มีการทดลองสร้างกล้องโทรทรรศน์วิทยุหลายแห่ง ส่วนมากในประเทศออสเตรเลียและอังกฤษ และได้รับความสนใจทั้งในสหรัฐอเมริกา สหภาพโซเวียต ฝรั่งเศส และญี่ปุ่น หมวดหมู่:นักฟิสิกส์ชาวอเมริกัน หมวดหมู่:นักดาราศาสตร์ชาวอเมริกัน หมวดหมู่:บุคคลจากรัฐโอคลาโฮมา หมวดหมู่:บุคคลจากรัฐนิวเจอร์ซีย์.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และคาร์ล แจนสกี · ดูเพิ่มเติม »

คาซาบลังกา (ภาพยนตร์)

ซาบลังกา (Casablanca) เป็นภาพยนตร์รักอเมริกัน ที่ออกฉายในปี ค.ศ. 1942 กำกับโดยไมเคิล เคอร์ติซ นำแสดงโดยฮัมฟรีย์ โบการ์ต อิงกริด เบิร์กแมน และพอล เฮนรีด และมีโคลด เรนส์ คอนราด วีดท์ ซิดนีย์ กรีนสตรีท ปีเตอร์ ลอรร์ และดูลีย์ วิลสัน เป็นนักแสดงสบท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และคาซาบลังกา (ภาพยนตร์) · ดูเพิ่มเติม »

คุณพ่อขายาว (นวนิยาย)

ณพ่อขายาว (Daddy-Long-Legs) เป็นนวนิยายจดหมาย ประพันธ์โดย จีน เว็บสเตอร์ ในปี พ.ศ. 2455 เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับตัวละครเอก ชื่อ จูดี้ แอบบอตต์ ที่กำลังศึกษาในวิทยาลัย เขียนจดหมายเล่าถึงชีวิตของเธอถึงผู้อุปการะเธอ ชายผู้ร่ำรวยที่เธอไม่เคยเห็นหน้.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และคุณพ่อขายาว (นวนิยาย) · ดูเพิ่มเติม »

งานประกาศผลรางวัลออสการ์

รายการประกาศผลรางวัลออสการ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และงานประกาศผลรางวัลออสการ์ · ดูเพิ่มเติม »

งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 4

งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 4 เป็นการมอบรางวัลสำหรับภาพยนตร์ที่เข้าฉายตั้งแต่วันที่ 1 สิงหาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และงานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 4 · ดูเพิ่มเติม »

ตึกไครสเลอร์

ตึกไครสเลอร์ (Chrysler Building) เป็นอาคารที่มีชื่อเสียงอีกแห่งในนครนิวยอร์ก ประเทศสหรัฐอเมริกา ตัวอาคารตกแต่งตามสถาปัตยกรรม อาร์ตเดคโค (Art Deco) ตั้งอยู่ด้านตะวันออกของเกาะแมนฮัตตัน บริเวณจุดตัดของถนน 42 Avenue และ ถนนเลกซิงตัน (Lexington Avenue) มีความสูงทั้งสิ้น 77 ชั้น ด้วยความสูง 1,046 ฟุต กับอีก 4.5 นิ้ว หรือประมาณ 319 เมตร ตึกไครสเลอร์ เคยเป็นอาคารสูงที่สุดในโลกตั้งแต่ พ.ศ. 2473 นาน 11 เดือนก่อนที่จะถูกล้มตำแหน่งโดย ตึกเอ็มไพร์สเตต (Empire State Building) ที่สร้างเสร็จใน พ.ศ. 2480 (1931) ตึกไครสเลอร์เป็นตัวอย่างที่คลาสสิกของสถาปัตยกรรม อาร์ตเดคโค (Art Deco) ออกแบบโดยสถาปนิกชื่อ วิลเลียม แวน อเล็น (William Van Alen) และผ่านการพิจารณาโดยสถาปนิกร่วมสมัยว่าเป็นหนึ่งในอาคารที่ดีที่สุดในนครนิวยอร์ก ในปี 2007 Chrysler Building Midtown Manhattan New York City 1932.jpg|ตึกไครสเลอร์ ถ่ายในปี1932 Chrysler Building 2005 3.jpg|มองจากตึกเอ็มไพร์สเตท ChryslerBuildingMidtownManhattanNewYorkCity.jpg|ตึกไครสเลอร์ หมวดหมู่:ตึกระฟ้าในสหรัฐอเมริกา หมวดหมู่:สิ่งก่อสร้างในนครนิวยอร์ก หมวดหมู่:แมนแฮตตัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และตึกไครสเลอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ตึกเอ็มไพร์สเตต

ตึกเอ็มไพร์สเตตและเม่น้ำอีสต์ มองจากฝั่งบรุกลิน ตึกเอ็มไพร์สเตต อดีตอาคารที่สูงที่สุดในโลกนานกว่า 40 ปี และมีตึกไครสเลอร์เป็นฉากหลัง ตึกเอ็มไพร์สเตต (Empire State Building) เป็นหนึ่งในอาคารระฟ้าที่มีชื่อเสียงมากที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนเกาะแมนฮัตตัน ในนครนิวยอร์ก รัฐนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา บริเวณจุดตัดของถนน Fifth Avenue และ West 34 Street นับเป็นอาคารหลังแรกของโลกที่มีความสูงมากกว่า 100 ชั้น ออกแบบโดยสถาปนิกชาวอเมริกัน วิลเลียม เฟรเดอริก แลมบ์ (William Frederick Lamb).

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และตึกเอ็มไพร์สเตต · ดูเพิ่มเติม »

ฉัตรชัย วิเศษสุวรรณภูมิ

ฉัตรชัย วิเศษสุวรรณภูมิ (23 พฤศจิกายน 2474 -) นักเขียนนวนิยายที่มีชื่อเสียงมากที่สุดคนหนึ่งของไทย ศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ ประจำปี พ.ศ. 2540 เป็นเจ้าของนามปากกา พนมเทียน ผู้แต่ง เพชรพระอุมา ฉัตรชัย วิเศษสุวรรณภูมิ เกิดที่จังหวัดปัตตานี เป็นบุตรคนสุดท้องของขุนวิเศษสุวรรณภูมิ กับนางสะอาด รัตนกุล เริ่มเขียนนวนิยายเรื่องแรกตั้งแต่สมัยเรียนมัธยมที่โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย เรื่อง “เห่าดง” ลงในสมุดอ่านกันเล่น เมื่อ พ.ศ. 2484 นอกจากเขียนนวนิยายแล้ว ฉัตรชัยยังเป็นคอลัมนิสต์เขียนบทความเกี่ยวกับอาวุธปืน ในหนังสือพิมพ์และนิตยสารบางฉบับด้วย โดยใช้ชื่อจริง และนามปากกา "ก้อง สุรกานต์".

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และฉัตรชัย วิเศษสุวรรณภูมิ · ดูเพิ่มเติม »

ฉันท์

ฉันท์ เป็นลักษณ์หนึ่งของการประพันธ์ประเภทร้อยกรองในวรรณคดีไทยที่บังคับเสียงหนัก - เบาของพยางค์ ที่เรียกว่า ครุ - ลหุ ฉันท์ในภาษาไทยรับแบบมาจากประเทศอินเดีย ตำราฉันท์ที่เก่าแก่ที่สุดของอินเดียเป็นภาษาสันสกฤต คือ ปิงคลฉันทศาสตร์ แต่งโดยปิงคลาจารย์ ส่วนตำราฉันท์ภาษาบาลีเล่มสำคัญที่สุดได้แก่ คัมภีร์วุตโตทัยปกรณ์ ผู้แต่งคือ พระสังฆรักขิตมหาสามี เถระชาวลังกา แต่งเมื่อ พ.ศ. 1703 เป็นที่มาของ คัมภีร์วุตโตทัย ซึ่งเป็นต้นตำหรับการแต่งฉันท์ของไทยกวีนิพนธ์ไทย ๑ - ๒, สุภาพร มากแจ้ง, กรุงเทพฯ, โอเดียนสโตร์, 2539.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และฉันท์ · ดูเพิ่มเติม »

ซุลเซอร์

ซุลเซอร์ (Sulzer) เป็นรถจักรดีเซลไฟฟ้าประเภทหนึ่ง ที่การรถไฟแห่งประเทศไทยนำเข้ามาใช้ในประเทศไทยเมื่อปี พ.ศ. 2474 ปัจจุบันรถจักรดังกล่าวได้ถูกตัดบัญชีเป็นที่เรียบร้อยแล้ว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และซุลเซอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ปฏิกิริยาโฟโตฟอสโฟรีเลชัน

ปฏิกิริยาโฟโตฟอสโฟรีเลชั่นที่เกิดในคลอโรพลาสต์ ปฏิกิริยาโฟโตฟอสโฟรีเลชั่น (Photophosphorylation) เป็นการขนส่งอิเล็กตรอนไปตามตัวรับอิเล็กตรอนต่างๆ โดยเริ่มจากตัวให้อิเล็กตรอนตัวแรกคือน้ำ ส่งต่อกันไปเรื่อยๆ จนถึง NADPH+H+ เป็นตัวรับอิเล็กตรอนตัวสุดท้าย ทั้งนี้ การขนส่งอิเล็กตรอนจะเกิดขึ้นได้เมื่อมีแสงเท่านั้น ในพืชชั้นสูง ปฏิกิริยานี้เกิดที่คลอโรพลาสต์ภายในคลอโรพลาสต์มีเยื่อหุ้มสองชั้น ซึ่งมีคุณสมบัติคล้ายเยื่อหุ้มของไมโทคอนเดรียคือ ชั้นนอกยอมให้สารทุกชนิดผ่านได้อย่างเป็นอิสระ ส่วนเยื่อหุ้มชั้นในยอมให้เฉพาะสารที่มีตัวพาที่เฉพาะผ่านได้เท่านั้น เยื่อหุ้มชั้นในของคลอโรพลาสต์เป็นชั้นๆเรียกไทลาคอยด์ (thylakoid) ซึ่งมีกลุ่มเอนไซม์ที่เกี่ยวข้องกับการขนส่งอิเล็กตรอนฝังตัวอยู่ แนวคิดเริ่มแรกที่ว่าแสงถูกใช้ในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงนั้นถูกเสนอขึ้นโดยแจน อิงเก็นเฮาซ์ในปี ค.ศ. 1779 ผู้ระบุว่าพืชนั้นจำเป็นต้องสัมผัสกับแสงแดด แม้ว่าโจเซฟ พริสต์ลีย์จะได้ทำการสังเกตการผลิตของออกซิเจนโดยปราศจากแสงเป็นองค์ประกอบไปแล้วใน ค.ศ. 1772 คอร์นีเลียส แวน นีลเสนอใน ค.ศ. 1931 ว่ากระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงเป็นกรณีของกลไกการทำงานทั่วไปซึ่งโฟตอนของแสงถูกใช้ในการทำให้เสื่อมสภาพโดยใช้แสงกับไฮโดรเจนตัวให้อิเล็กตรอนและไฮโดรเจนที่ใช้ในการลดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ จากนั้นใน ค.ศ. 1939 โรบิน ฮิลล์ก็พิสูจน์ว่าคลอโรพลาสต์ที่ถูกแยกออกมาสามารถสร้างออกซิเจนได้ แต่ไม่สามารถตรึง CO2 ได้ ซึ่งแสดงให้เห็นว่าปฏิกิริยาที่ต้องใช้แสง และที่ไม่ต้องใช้แสง (หรือที่เรียกว่าปฏิกิริยามืด) สามารถเกิดขึ้นได้ในสถานที่ต่างๆ กัน นำไปสู่การค้นพบระบบแสง 1 และระบบแสง 2.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และปฏิกิริยาโฟโตฟอสโฟรีเลชัน · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์สเปน

ตราสัญลักษณ์ของประเทศสเปน โบสถ์ซานตามารีอาเดลนารังโก เมืองโอเบียโด ภาคเหนือ อารามหลวงเอลเอสโกเรียล กรุงมาดริด ภาคกลาง พิพิธภัณฑ์วิจิตรศิลป์ เมืองบาเลนเซีย ภาคตะวันออก ปราสาทอาลัมบรา เมืองกรานาดา ภาคใต้ ประวัติศาสตร์สเปน คือเรื่องราวความเป็นมาเกี่ยวกับอาณาบริเวณส่วนใหญ่บนคาบสมุทรไอบีเรียในภูมิภาคยุโรปใต้ซึ่งมีพัฒนาการสืบเนื่องมาตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ ผ่านยุครุ่งเรืองและยุคตกต่ำของจักรวรรดิสากลแห่งแรกของโลกจนกลายมาเป็นราชอาณาจักรสเปนในปัจจุบัน อันเป็นช่วงฟื้นฟูตนเองหลังสมัยการปกครองแบบเผด็จการของนายพลฟรังโกได้ผ่านพ้นไป มีอยู่หลายช่วงที่ประวัติศาสตร์การเมืองและการทหารของสเปนเต็มไปด้วยความวุ่นวายและความรุนแรง ส่วนใหญ่เกิดจากนโยบายและความพยายามที่จะจัดการกับความแตกต่างทางเชื้อชาติ ศาสนา และความคิดความเชื่อในดินแดนของตนนั่นเอง มนุษย์สมัยใหม่เข้ามาในคาบสมุทรไอบีเรียเป็นเวลานานกว่า 35,000 ปีมาแล้ว ตามมาด้วยคลื่นผู้รุกรานและผู้ตั้งอาณานิคมชนชาติต่าง ๆ ได้แก่ ชาวเคลต์ ชาวฟินิเชีย ชาวคาร์เทจ และชาวกรีกตลอดระยะเวลานับพัน ๆ ปี เมื่อถึงประมาณ 200 ปีก่อนคริสต์ศักราช ทั้งคาบสมุทรจึงตกเป็นส่วนหนึ่งของสาธารณรัฐโรมัน ก่อนจะตกไปอยู่ภายใต้การปกครองจากชาววิซิกอท และในปี ค.ศ. 711 ชาวแอฟริกาเหนือซึ่งเป็นชาวมุสลิม (ชาวมัวร์) ก็เริ่มเข้ามามีอำนาจ ในที่สุดอาณาจักรอิสลามก็ได้รับการสถาปนาขึ้นบนคาบสมุทรแห่งนี้และยืนหยัดได้เป็นเวลาประมาณ 750 ปี ซึ่งพื้นที่ที่ชาวมุสลิมครอบครองนั้นเป็นที่รู้จักกันในชื่อ อัลอันดะลุส แต่ในช่วงเวลาเดียวกันนี้ยังเป็นช่วงที่เรียกว่า "เรกองกิสตา" หรือการยึดดินแดนคืนของชาวคริสต์ซึ่งค่อย ๆ รุกลงไปทางใต้ เหตุการณ์เหล่านี้ดำเนินไปถึงจุดสิ้นสุดเมื่อชาวคริสต์สามารถพิชิตที่มั่นแห่งสุดท้ายของชาวมุสลิมที่กรานาดาได้ในปี ค.ศ. 1492 จากนั้นราชอาณาจักรและรัฐคาทอลิกต่าง ๆ บนคาบสมุทรไอบีเรียก็ได้พัฒนาขึ้น รวมทั้งราชอาณาจักรคาสตีลและราชอาณาจักรอารากอนด้วย ซึ่งการรวมกันของอาณาจักรทั้งสองนี้จะนำไปสู่ความเป็นปึกแผ่นของรัฐชาติสเปนในเวลาต่อมา ปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และประวัติศาสตร์สเปน · ดูเพิ่มเติม »

ประเสริฐ พิจารณ์โสภณ

ประเสริฐ พิจารณ์โสภณ (เกิด 12 สิงหาคม พ.ศ. 2474 -) เป็นนักเขียนเรื่องสั้นที่มีชื่อเสียง ใช้นามปากกาว่า "ชาย บางกอก" ตั้งให้โดยประหยัด ศ. นาคะนาท ใช้เขียนเรื่องตลกหรรษา และนามปากกา "เพชร ชมพู" มีผลงานเขียนสารคดี และบทละครวิทยุ บทละครเวที และบทภาพยนตร์ มีชื่อเสียงจากเรื่องสั้นชุด "ท้องนาข้างกรุง" ตีพิมพ์ในนิตยสารฟ้าเมืองไทย เป็นผู้ก่อตั้งสำนักพิมพ์ประเสริฐวาทินร่วมกับวาทิน ปิ่นเฉลียว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และประเสริฐ พิจารณ์โสภณ · ดูเพิ่มเติม »

ประเสริฐ นาสกุล

นายประเสริฐ นาสกุล อดีตประธานศาลรัฐธรรมนูญ อดีตเลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา เกิดเมื่อวันที่ 8 กันยายน พ.ศ. 2474 ถึงแก่อนิจกรรมเมื่อวันที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2552 เป็นตุลาการศาลรัฐธรรมนูญแต่งตั้งจากผู้ทรงคุณวุฒิสาขานิติศาสตร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และประเสริฐ นาสกุล · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศบัลแกเรียใน ค.ศ. 1931

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1931 ในประเทศบัลแกเรี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และประเทศบัลแกเรียใน ค.ศ. 1931 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศลักเซมเบิร์กใน ค.ศ. 1931

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1931 ในประเทศลักเซมเบิร์ก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และประเทศลักเซมเบิร์กใน ค.ศ. 1931 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศลาวใน ค.ศ. 1931

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1931 ในประเทศลาว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และประเทศลาวใน ค.ศ. 1931 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ใน ค.ศ. 1931

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1931 ในประเทศสวิตเซอร์แลน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และประเทศสวิตเซอร์แลนด์ใน ค.ศ. 1931 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสเปนใน ค.ศ. 1931

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1931 ในประเทศสเปน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และประเทศสเปนใน ค.ศ. 1931 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศออสเตรเลีย

ออสเตรเลีย (Australia) หรือชื่อทางการคือ เครือรัฐออสเตรเลีย เป็นประเทศซึ่งประกอบด้วยแผ่นดินหลักของทวีปออสเตรเลีย, เกาะแทสเมเนีย และเกาะอื่น ๆ ในมหาสมุทรอินเดีย แปซิฟิก และมหาสมุทรใต้ มันเป็นประเทศที่ใหญ่เป็นอันดับหกของโลกเมื่อนับพื้นที่ทั้งหมด ประเทศเพื่อนบ้านของออสเตรเลียประกอบด้วย อินโดนีเซีย ปาปัวนิวกินีและติมอร์-เลสเตทางเหนือ หมู่เกาะโซโลมอน วานูอาตู และนิวแคลิโดเนียทางตะวันออกเฉียงเหนือ และนิวซีแลนด์ทางตะวันออกเฉียงใต้ เป็นเวลาอย่างน้อย 40,000 ปี ก่อนที่จะตั้งถิ่นฐานครั้งแรกของอังกฤษในศตวรรษที่ 18,Davison, Hirst and Macintyre, pp.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และประเทศออสเตรเลีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศออสเตรเลียใน ค.ศ. 1931

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1931 ในประเทศออสเตรเลี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และประเทศออสเตรเลียใน ค.ศ. 1931 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอัฟกานิสถานใน ค.ศ. 1931

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1931 ในประเทศอัฟกานิสถาน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และประเทศอัฟกานิสถานใน ค.ศ. 1931 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอาร์เจนตินาใน ค.ศ. 1931

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1931 ในประเทศอาร์เจนติน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และประเทศอาร์เจนตินาใน ค.ศ. 1931 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1931

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1931 ในประเทศนอร์เว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1931 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนิวซีแลนด์ใน ค.ศ. 1931

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1931 ในประเทศนิวซีแลน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และประเทศนิวซีแลนด์ใน ค.ศ. 1931 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศโคลอมเบียใน ค.ศ. 1931

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1931 ในประเทศโคลอมเบี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และประเทศโคลอมเบียใน ค.ศ. 1931 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1931

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1931 ในประเทศไอซ์แลน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1931 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทยใน พ.ศ. 2448

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2448 ในประเทศไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และประเทศไทยใน พ.ศ. 2448 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทยใน พ.ศ. 2474

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2474 ในประเทศไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และประเทศไทยใน พ.ศ. 2474 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเซอร์เบียและมอนเตเนโกร

ซอร์เบียและมอนเตเนโกร (Serbia and Montenegro, SCG) เป็นชื่อของอดีตสหพันธรัฐซึ่งเป็นการรวมอย่างหลวม ๆ ของเซอร์เบียและมอนเตเนโกร อดีตสาธารณรัฐของยูโกสลาเวีย ตั้งแต่ พ.ศ. 2546 จนถึง พ.ศ. 2549 ตั้งอยู่บนคาบสมุทรบอลข่านตอนตะวันตกกลาง ซึ่งแต่เดิมมีชื่อประเทศว่า สหพันธ์สาธารณรัฐยูโกสลาเวีย ต่อมาก็ได้เปลี่ยนชื่อประเทศในปี2003 ในชื่อ สหภาพรัฐเซอร์เบียและมอนเตเนโกร เซอร์เบียและมอนเตเนโกรมีความร่วมมือกันเฉพาะบางด้านในการเมือง (เช่น ผ่านสหพันธ์การป้องกันประเทศ) ทั้ง 2 รัฐมีนโยบายเศรษฐกิจและหน่วยเงินของตนเอง และประเทศไม่มีเมืองหลวงรวมอีกต่อไป โดยที่แบ่งแยกสถาบันที่ใช้ร่วมกันระหว่างเมืองเบลเกรดในเซอร์เบียและเมืองพอดกอรีตซาในมอนเตเนโกร ทั้งสองรัฐแยกออกจากกันหลังจากมอนเตเนโกรจัดให้มีการลงประชามติเมื่อวันที่ 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2549 และประกาศเอกราชเมื่อวันที่ 3 มิถุนายน ปีเดียวกัน ทำให้เกิดประเทศใหม่คือประเทศมอนเตเนโกร ส่วนประเทศเซอร์เบียก็กลายเป็นผู้สืบสิทธิ์ต่าง ๆ ของประเทศเซอร์เบียและมอนเตเนโกร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และประเทศเซอร์เบียและมอนเตเนโกร · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเปรูใน ค.ศ. 1931

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1931 ในประเทศเปรู.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และประเทศเปรูใน ค.ศ. 1931 · ดูเพิ่มเติม »

ปราง เส็ง

มารัน ปราง เส็ง (Maran Brang Seng) เป็นอดีตผู้นำขององค์กรกะฉิ่นอิสระ ต่อสู้กับรัฐบาลทหารของพม่ามาอย่างยาวนานจนมีการตกลงหยุดยิงเมื่อเดือนกุมภาพัน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และปราง เส็ง · ดูเพิ่มเติม »

ปลาบึก

ปลาบึก (Mekong giant catfish; ປາບຶກ; ชื่อวิทยาศาสตร์: Pangasianodon gigas) เป็นปลาน้ำจืดขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง ไม่มีเกล็ด อาศัยอยู่ในแม่น้ำโขงตั้งแต่ประเทศจีน, ลาว, พม่า, ไทย เรื่อยมาตลอดความยาวของแม่น้ำรวมไปถึงแควสาขาต่าง ๆ เช่น แม่น้ำงึม, แม่น้ำมูล, แม่น้ำสงคราม แต่ไม่พบในตอนปลายของแม่น้ำโขงที่เป็นน้ำกร่อย ซึ่งเป็นจุดที่ไหลออกทะเลจีนใต้หน้า 24 เกษตร, ปลาบึก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และปลาบึก · ดูเพิ่มเติม »

ปลาบึก (สกุล)

ปลาบึก เป็นสกุลของปลาหนังน้ำจืด ในวงศ์ปลาสวาย (Pangasidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Pangasianodon (/แพน-กา-เซีย-โน-ดอน/).

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และปลาบึก (สกุล) · ดูเพิ่มเติม »

ปลาลิ้นหมาน้ำจืด

ปลาลิ้นหมาน้ำจืด (Freshwater sole, River sole) เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์ปลาลิ้นหมา (Soleidae) มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Brachirus panoides มีรูปร่างเรียวเป็นรูปไข่ ตาเล็กอยู่ห่างกัน ปากเล็กมีรูจมูกเห็นเป็นท่อชัดเจน ครีบมีลักษณะเชื่อมต่อกันเกือบทั้งลำตัว ครีบอกเล็กมาก มีเส้นข้างลำตัวตรงตลอดแนวลำตัว และมีแขนงสีล้ำตัดเป็นแนวดิ่ง 6-7 เส้น ลำตัวด้านบนเป็นสีน้ำตาลเข้ม มีแต้มใหญ่สีคล้ำหลายแต้มตามบริเวณใกล้กับครีบหลังและครีบก้น ครีบมีขอบสีจาง มีจุดประสีคล้ำกระจาย ลำตัวด้านล่างสีขาว ขนาดลำตัวประมาณ 15 เซนติเมตร ใหญ่สุดที่พบคือ 30 เซนติเมตร อาศัยอยู่บริเวณพื้นน้ำ ว่ายน้ำโดยขนานกับพื้นดินและพลิ้วตัวขึ้นมาแนวขึ้นลง สามารถมุดลงใต้ทรายได้เร็วเวลาตกใจ โดยปกติมักจะไม่เคลื่อนไหว อาหารได้แก่สัตว์น้ำหน้าดินขนาดเล็ก เช่น ไส้เดือนน้ำ, ลูกกุ้ง เป็นต้น ปลาลิ้นหมาน้ำจืดเป็นปลาที่มักอาศัยอยู่ในแหล่งน้ำที่สะอาด ไม่ค่อยลอยตัวขึ้นเหนือน้ำ ดังนั้น คนสมัยก่อนหากเห็นปลาลิ้นหมาลอยตัวขึ้นมาเหนือน้ำ จะเก็บน้ำใส่ตุ่ม เพราะเป็นสัญญาณบ่งชี้แล้วว่าน้ำจะเสีย ปลาลิ้นหมาน้ำจืดพบในแม่น้ำตอนล่างใกล้กับปากแม่น้ำของทุกภาค โดยเฉพาะอย่างยิ่งในแถบที่ราบลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาในภาคกลาง ไม่พบในแม่น้ำโขง บริโภคโดยปรุงสดและทำปลาแห้ง อีกทั้งเลี้ยงเป็นปลาสวยงามได้ด้วย แต่ปัจจุบันหาได้ยากขึ้นเนื่องจากสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนไป ทางสถานีประมงน้ำจืดจังหวัดชัยนาทได้ทำการเพาะพันธุ์ปลาชนิดนี้อยู่ ซึ่งปลาลิ้นหมาน้ำจืดมีชื่อเรียกที่แตกต่างและซ้ำซ้อนกันไปเช่น "ใบไม้", "ลิ้นควาย" หรือ "เป" ในภาษาอีสาน เป็นต้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และปลาลิ้นหมาน้ำจืด · ดูเพิ่มเติม »

ปลาหมูค้อ

ปลาหมูค้อ หรือ ปลาหมูคอก หรือ ปลาหมูหลังถนน (Skunk loach, Skunk botia, Hora's loach) เป็นปลาน้ำจืดขนาดเล็กชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Yasuhikotakia morleti อยู่ในวงศ์ปลาหมู (Botiidae) จัดเป็นปลาขนาดเล็ก มีรูปร่างป้อมสั้น ลำตัวแบนข้าง หลังโค้ง ครีบหลังอยู่ตรงข้ามครีบท้อง และอยู่กึ่งกลางระหว่างปลายจมูกกับฐานครีบหาง ครีบหลังมีก้านครีบแขนง 7-9 ก้าน สีลำตัวมีสีเขียวแกมเหลือง ท้องมีสีขาวซีด มีแถบสีดำพาดตามแนวหลังจากปลายจะงอยปากจรดโคนหาง ฐานครีบหางมีแถบดำขนาดใหญ่ ครีบหางมีสีเหลืองจาง ๆ มีจุดสีดำประปราย มีขนาดความยาวลำตัวประมาณ 10 เซนติเมตร เท่านั้น มีพฤติกรรมชอบอยู่รวมกันเป็นฝูง หากินบริเวณพื้นน้ำ พบกระจายพันธุ์ในแม่น้ำโขง, แม่น้ำแม่กลอง, แม่น้ำเจ้าพระยา เป็นปลาที่นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม นับว่าเป็นปลาอีกชนิดหนึ่งที่มีนิสัยดุร้าย ชอบไปตอดปลาตัวอื่นในตู้เลี้ยงอยู่เสมอ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และปลาหมูค้อ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาจาด

ปลาจาด เป็นสกุลของปลาน้ำจืดสกุลหนึ่ง ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Poropuntius (/พอร์-โอ-พุน-ชัส/) ความเป็นมาของปลาในสกุลนี้เริ่มจากแม็กซ์ วีลเฮม คาร์ล เวบเบอร์ และลีฟาน เฟอดินานด์ เดอ โบฟอร์ต ได้ตั้งสกุล Lissocheilus (ปัจจุบันถูกยกเลิกไปแล้ว) ขึ้นในปี ค.ศ. 1916 เพื่อใช้กับปลาในวงศ์ปลาตะเพียนที่พบในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยอธิบายว่า ต่อมาในปี ค.ศ. 1919 มะสึมิสึ โอชิมะ นักมีนวิทยาชาวญี่ปุ่น ได้พบว่าปลาบางส่วนของสกุล Lissocheilus มีริมฝีปากล่างแยกออกมาเป็น 3 ส่วน ส่วนกลางเป็นแผ่นหนังใหญ่ ทำให้มีปัญหาในการจำแนกชนิด จึงได้ตั้งสกุล Acrossocheilus ขึ้น (ซึ่งปัจจุบันสกุลนี้ใช้ระบุปลาที่พบในประเทศเวียดนามและจีนตอนใต้ เป็นหลัก) โดยจำแนกปลาที่อยู่ในสกุล Lissocheilus เดิมที่มีลักษณะของริมฝีปากล่างตามที่กล่าวมาให้อยู่ในสกุลนี้ ต่อมา ฮิวจ์ แมคคอร์มิค สมิธ ได้ตั้งสกุล Poropuntius นี้ขึ้น ในปี ค.ศ. 1931 โดยแยกออกจากสกุล Lissocheilus ซึ่งครีบหลังมีก้านครีบแขนง 8 ก้าน ก้านครีบเดี่ยวก้านสุดท้ายเป็นหนามแข็งและขอบจักเป็นฟันเลื่อย ชื่อสกุล Lissocheilus ต้องถูกยกเลิก เพราะพบว่าตั้งซ้ำซ้อนกับสกุลของหอยที่เป็นซากฟอสซิลซึ่งมีผู้ตั้งไว้ในปี ค.ศ. 1882 ดังนั้น จึงต้องหันกลับไปพิจารณาระหว่างสกุล Poropuntius กับสกุล Acrossocheilus ก็พบว่าลักษณะทางอนุกรมวิธานของสกุล Poropuntius นั้นเด่นกว่าสกุล Acrossocheilus ในปี ค.ศ. 1996 วอลเตอร์ เรนโบธ เสนอให้ใช้สกุล Poropuntius กับปลาที่แมลคัม อาร์เธอร์ สมิธ อนุกรมวิธานไว้ในปี ค.ศ. 1945 คือ ปลาจาดบ้านถ้ำ (P. bantamensis) และปลาเขยา (P. deauratus) ที่เดิมเคยใช้ชื่อสกุล Acrossocheilus เปลี่ยนมาใช้ชื่อสกุลนี้ แต่อย่างไรก็ดี ยังมีความสับสนอย่างมากในการใช้ชื่อสกุลของสกุลนี้ เรนโบธจึงเสนอขึ้นมาในปี ค.ศ. 1985 ให้ใช้สกุล Neolissocheilus ขึ้น ซึ่งปัจจุบันนี้ใช้ในกลุ่มปลาพลวง อย่างไรก็ตาม สกุล Poropuntius นี้ มีความคล้ายคลึงกับสกุล Hypsibarbus ซึ่งเป็นสกุลที่เรนโบธตั้งขึ้นเองในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และปลาจาด · ดูเพิ่มเติม »

ปลาทรงเครื่อง

ปลาทรงเครื่อง เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Epalzeorhynchos bicolor อยู่ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae).

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และปลาทรงเครื่อง · ดูเพิ่มเติม »

ปลาตะพัด

ปลาตะพัด หรือที่นิยมเรียกว่า ปลาอาโรวาน่า (Malayan bonytongue fish, Arowana, Asian arowana, Arawana) เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาตะพัด (Osteoglossidae) ซึ่งถือได้ว่าเป็นปลาที่สืบเผ่าพันธุ์มาตั้งแต่ปลาในยุคก่อนประวัติศาสตร์ จัดได้ว่าเป็นซากดึกดำบรรพ์มีชีวิตชนิดหนึ่ง นับว่าเป็นปลาที่ใกล้สูญพันธุ์ในธรรมชาติ เนื่องจากเป็นปลาที่สืบพันธุ์ยาก ประกอบกับแหล่งที่อยู่ถูกทำลายไป ได้รับความนิยมอย่างสูงของนักเลี้ยงปลาสวยงาม ในฐานะของปลาสวยงาม ราคาแพง และถือเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และปลาตะพัด · ดูเพิ่มเติม »

ปลาตะพาก

ปลาตะพาก เป็นปลาน้ำจืดในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) ในสกุล Hypsibarbus (/ฮีป-ซี-บาร์-บัส/) จัดเป็นปลาขนาดกลางในวงศ์นี้ มีรูปร่างลักษณะทั่วไปคล้ายปลาตะเพียนในสกุล Barbonymus ซึ่งอยู่วงศ์เดียวกัน แต่ปลาตะพากจะมีลำตัวที่ยาวกว่า และขนาดจะใหญ่ได้มากกว่า แพร่กระจายพันธุ์ในภูมิภาคเอเชียอาคเนย์และทางตอนใต้ของประเทศจีน พบอาศัยในแม่น้ำสายใหญ่รวมถึงลำธารน้ำตกบนภูเขาหรือป่าดิบชื้น โดยมีขนาดลำตัวประมาณ 60-80 เซนติเมตร มีทั้งหมด 11 ชนิด (สูญพันธุ์ไปแล้ว 1 ชนิด ดูในตาราง) โดยมีชนิดที่รู้จักกันดีที่สุดคือ ปลาตะพากเหลือง (H. wetmorei) โดยปลาในสกุลนี้ถูกแยกออกมาจากสกุล Puntius ในปี ค.ศ. 1996 โดยวอลเตอร์ เรนโบธ โดยมีลักษณะสำคัญที่แตกต่างจากปลาในสกุลอื่น คือ มีก้านครีบเดี่ยวของครีบหลังมีขอบจักเป็นฟันเลื่อย ครีบท้องมีก้านครีบแขนง 8 ก้าน ใต้คางมีร่องแยกระหว่างขากรรไกรล่างและคาง ฐานครีบก้นยาวคิดเป็นร้อยละ 60 ของความยาวหัว ขอบเกล็ดแต่ละเกล็ดมีลายสีดำติดต่อกันเป็นร่างแห ปลาตะพากมีชื่อเรียกรวมกันแบบอื่นอีก อาทิ "ปลากระพาก" (ประพาสไทรโยค), "ปลาปากหนวด", "ปลาปีก" (ภาษาอีสาน), "ปลาปากคำ" หรือ "ปลาสะป๊าก" (ภาษาเหนือ) เป็นต้น โดยที่ชื่อวิทยาศาสตร์ Hypsibarbus มาจากภาษากรีกโบราณคำว่า "ὕψι" (ฮิปซี) และ barbus (บาร์บัส) ซึ่งเป็นชื่อที่ใช้ทั่วไปของปลาในวงศ์ปลาตะเพียน โดยมีความหมายถึง สันฐานที่มีความแบนข้าง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และปลาตะพาก · ดูเพิ่มเติม »

ปลาตะพากเหลือง

ปลาตะพากเหลือง หรือ ปลาตะพากทอง (Golden-bellied barb) เป็นปลาน้ำจืดจำพวกปลาตะพากชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) จัดเป็นปลาตะพากชนิดที่พบได้หลากหลายและเป็นที่รู้จักกันดีที.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และปลาตะพากเหลือง · ดูเพิ่มเติม »

ปลาตาดำ

ปลาตาดำ หรือ ปลาเปี่ยน หรือ ปลาปากเปี่ยน (Sharp-mouth barb) เป็นปลาน้ำจืดสกุล Scaphognathops (/สแค-โฟ-แน็ธ-ออฟส์/) ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) มี 3 ชนิด คือ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และปลาตาดำ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาซิวหัวตะกั่วสุโขทัย

ปลาซิวหัวตะกั่วสุโขทัย หรือ ปลาท้องพลุ หรือ ปลาข้าวเม่า (Flying minnow, Flying barb, Leaping barb, Siamese hatchetfish) เป็นปลาน้ำจืดขนาดเล็กชนิดหนึ่ง จำพวกปลาซิวและปลาท้องพลุ ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) มีรูปร่างค่อนข้างกว้าง ลำตัวแบนข้างมาก ส่วนท้องเป็นสัน เส้นข้างลำตัวโค้งลงเห็นชัดเจน และขนานกับริมท้อง ครีบอกแหลมยาว ก้านครีบของครีบท้องยื่นยาวเป็นเส้นเดี่ยว ที่หัวและบนหลังตอนหน้าครีบหลังมีจุดสีน้ำเงินเข้ม บนลำตัวหลังช่องเหงือกมีจุดสีดำขนาดใหญ่ 1 จุด และเหนือครีบอกมีจุดสีดำ 4-9 จุด สีของลำตัวทั่วไปเป็นสีขาวอมเขียวแวววาว มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 7 เซนติเมตร แต่ขนาดโดยเฉลี่ย 4-5 เซนติเมตร จัดเป็นปลาซิวหัวตะกั่ว 1 ใน 2 ชนิดที่พบได้ในประเทศไทย พบกระจายพันธุ์ในลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาตอนบนและแม่น้ำโขง มีพฤติกรรมอยู่รวมกันเป็นฝูงขนาดเล็กในแหล่งน้ำที่มีพรรณไม้ขึ้นหนาแน่น กินอาหารบริเวณผิวน้ำ เช่น แมลง, ลูกน้ำ, ลูกไร เป็นอาหาร เป็นปลาที่เมื่อตกใจแล้วสามารถกระโดดพ้นน้ำได้สูง มีสถานะพบในธรรมชาติใกล้สูญพันธุ์แล้ว นิยมเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงาม โดยเฉพาะรวบรวมจากแหล่งธรรมชาติจำหน่ายยังต่างประเทศ และในปัจจุบัน ก็สามารถเพาะขยายพันธุ์ในบ่อเลี้ยงได้เป็นผลสำเร็.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และปลาซิวหัวตะกั่วสุโขทัย · ดูเพิ่มเติม »

ปลาซิวใบไผ่เขียว

ปลาซิวใบไผ่เขียว หรือ ปลาไส้ขม (Blue danio, Kerr's danio, Long-barbel danio) ปลาน้ำจืดขนาดเล็กชนิดหนึ่ง จำพวกปลาซิว อยู่ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) มีลักษณะรูปร่างเรียวยาว ส่วนหัวเล็ก ปากกว้าง มีหนวดยาว 2 คู่ที่ขากรรไกรบน สีลำตัวสีเขียวเข้มถึงสีน้ำเงิน ด้านข้างลำตัวมีแถบสีเหลืองสดหรือสีส้มสลับดำ มีขนาดความยาวประมาณ 3-5 เซนติเมตร กระจายพันธุ์ตั้งแต่พื้นที่ภาคใต้ของประเทศไทย พบได้ที่อำเภอเกาะยาว จังหวัดพังงา จนถึงแหลมมลายู และเกาะลังกาวี ในประเทศมาเลเซีย มีพฤติกรรมอยู่รวมตัวกันเป็นฝูง ในระดับใกล้พื้นท้องน้ำ มักซ่อนตัวอยู่ใต้เศษใบไม้ โดยพบในแหล่งน้ำประเภทน้ำตกหรือลำธารบนที่สูงหรือเป็นเนินเขา เป็นปลาประเภทที่พบไม่ชุกชุม นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม โดยเฉพาะในตู้ไม้น้ำ มีการเพาะขยายพันธุ์และรวบรวมจากแหล่งน้ำธรรมชาติเพื่อส่งออกไปขายยังต่างประเท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และปลาซิวใบไผ่เขียว · ดูเพิ่มเติม »

ปลาน้ำฝาย

ปลาน้ำฝาย เป็นปลาน้ำจืดสกุลหนึ่ง ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Sikukia (/สี-กุก-เอีย/).

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และปลาน้ำฝาย · ดูเพิ่มเติม »

ปลาน้ำฝายหลังดำ

ปลาน้ำฝายหลังดำ ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Sikukia stejnegeri อยู่ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) เป็นปลาที่มีขนาดเล็ก พบได้ไม่บ่อยนัก มีลำตัวแบนข้าง ท่อนหางยาว นัยน์ตาโตมีเยื่อไขมันบาง ๆ เหมือนวุ้นหุ้มอยู่รอบตา ไม่มีหนวด ครีบมีก้านครีบเดี่ยวก้านสุดท้ายเป็นหนามแข็งขอบจักเป็นฟันเลื่อย ลำตัวมีสีขาวเงิน ครีบหลังมีแถบสีดำที่โคนและปลายครีบ ขอบบนและล่างครีบหางมีลายสีดำ และที่ฐานครีบมีลายสีดำจาง ๆ ครีบอื่นสีจางใส มีขนาดโตเต็มที่ยาวได้ประมาณ 12 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ในลุ่มแม่น้ำใหญ่ ๆ ทั่วประเทศไทย ทั้ง แม่น้ำเจ้าพระยา, แม่น้ำท่าจีน, แม่น้ำแม่กลอง, แม่น้ำโขง ยกเว้นแม่น้ำสาละวิน เป็นปลาที่ถูกค้นพบและอนุกรมวิธานเป็นครั้งแรก โดย ดร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และปลาน้ำฝายหลังดำ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาน้ำหมึก

ปลาน้ำหมึก (Stream barilius) เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Opsarius pulchellus อยู่ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) รูปร่างคล้ายปลาน้ำหมึกโคราช (O. koratensis) ซึ่งเป็นปลาในสกุลเดียวกัน ต่างกันที่น้ำหมึกมีลำตัวที่ป้อมสั้นกว่า ปลายปากป้าน มีสีสันที่สดใสกว่าและลายขีดข้างลำตัวใหญ่และชัดเจนกว่า เกล็ดมีขนาดใหญ่กว่า ครีบหลังมีแต้มสีแดงเห็นชัดเจน มีขนาดประมาณ 10 เซนติเมตร พบอาศัยอยู่ในแม่น้ำสายใหญ่และลำธารในป่าและเชิงเขาที่น้ำสะอาดไหลแรงที่ภาคเหนือของประเทศไทย พบในแม่น้ำโขงด้วย แต่ไม่พบในแม่น้ำสาละวิน มีพฤติกรรมมักแย่งชิงตัวเมียกันในฤดูผสมพันธุ์ โดยปลาตัวผู้จะใช้หัวและลำตัวฟาดคู่ต่อสู้ บริเวณส่วนหัวจะมีตุ่มขึ้นในฤดูนี้ นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และปลาน้ำหมึก · ดูเพิ่มเติม »

ปลาน้ำหมึกโคราช

ปลาน้ำหมึกโคราช หรือ ปลานางอ้าวโคราช เป็นชื่อปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Opsarius koratensis อยู่ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) มีรูปร่างเพรียวยาว ปากกว้างปลายแหลม เกล็ดใหญ่ค่อนข้างบาง มีลายขีดข้างลำตัวเล็กสีน้ำเงินตามแนวตั้ง ครีบสีเหลือง มีแต้มสีน้ำเงินหรือสีคล้ำอยู่ตรงกลางระหว่างขากรรไกรล่าง ในฤดูผสมพันธุ์ปลาตัวผู้จะมีสีสันสดใส มีขนาดประมาณ 10 เซนติเมตร เป็นปลากินเนื้อ อาหารได้แก่ แมลง แมลงน้ำ แพลงก์ตอน ลูกปลา ลูกกุ้งขนาดเล็ก มีพฤติกรรมอาศัยอยู่เป็นฝูงในฤดูผสมพันธุ์ ปลาตัวอ่อนเลี้ยงตัวชายฝั่งของแม่น้ำและลำธารที่อยู่ พบในลำธารในป่าและบริเวณเชิงเขาในภาคเหนือและภาคอีสานของประเทศไทย รวมทั้งพบในแม่น้ำโขงด้วย เป็นปลาที่พบชุกชุม และเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม มีชื่อเรียกอื่นอีกว่า "ปลาน้ำหมึก" หรือ "ปลาแปบ" เป็นต้นสมโภชน์ อัคคะทวีวัฒน์, หน้า 118 สาระน่ารู้ปลาน้ำจืดไทย เล่ม ๑ (พ.ศ. 2547) ISBN 974-00-8701-9.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และปลาน้ำหมึกโคราช · ดูเพิ่มเติม »

ปลาใบไม้

ำหรับปลาใบไม้ชนิดอื่น ดูที่: ปลาใบไม้ ปลาใบไม้ (Harmand's sole) ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์ปลาลิ้นหมา (Soleidae) มีรูปร่างคล้ายปลาลิ้นหมาน้ำจืด (B. panoides) ที่อยู่ในสกุลเดียวกัน เพียงแต่ปลาใบไม้มีรูปร่างคล้ายหยดน้ำ ตาอยู่ชิดกัน ปากเล็กและเบี้ยว ครีบมีลักษณะเชื่อมต่อกันเกือบทั้งลำตัว ครีบอกเล็กมาก ลำตัวด้านบนเป็นสีน้ำตาลเข้ม มีแต้มสีคล้ำตลอดทั้งลำตัว มีแต้มจุดสีคล้ำตลอดแนวครีบ ครีบมีขอบสีจาง มีจุดประสีคล้ำกระจาย ลำตัวด้านล่างสีขาว เกล็ดเป็นแบบสาก ขนาดลำตัวประมาณ 10 เซนติเมตร มีพฤติกรรมคล้ายกับปลาลิ้นหมาน้ำจืด พบในถิ่นที่อยู่เดียวกัน เพียงแต่ใบไม้จะพบในภาคอีสานและลุ่มแม่น้ำโขงด้วย ใช้บริโภคโดยปรุงสดและทำปลาตากแห้ง มีราคาค่อนข้างสูง และนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงามด้วย มีชื่อเรียกในภาษาอีสานว่า "เป".

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และปลาใบไม้ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาเทพา

ปลาเทพา หรือที่ในภาษาอีสานเรียกว่า ปลาเลิม (Chao Phraya giant catfish) เป็นปลาน้ำจืดขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Pangasius sanitwongsei อยู่ในวงศ์ปลาสวาย (Pangasiidae) ชื่อวิทยาศาสตร์ของปลาชนิดนี้ตั้งโดย ดร.ฮิว แมคคอร์มิค สมิธ อธิบดีกรมประมงคนแรก เพื่อเป็นเกียรติแด่ ม.ร.ว.สุวพันธุ์ สนิทวงศ์ ในฐานะที่เป็นผู้ผลักดันและบุกเบิกให้มีหน่วยงานทางด้านการศึกษาและจัดการสัตว์น้ำในประเทศ ซึ่งก็คือกรมประมงในปัจจุบัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และปลาเทพา · ดูเพิ่มเติม »

ปอร์เช่

ปอร์เช่ (Porsche พอร์เชอ) เป็นยี่ห้อรถยนต์ของเยอรมนี ผลิตโดยบริษัท Dr.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และปอร์เช่ · ดูเพิ่มเติม »

ปอล ดูแมร์

แซ็ฟ อาตานาซ ปอล ดูเม (Joseph Athanase Paul Doumer; 22 มีนาคม พ.ศ. 2400 - 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2475) อดีตประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศสและผู้ว่าการอินโดจีนฝรั่ง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และปอล ดูแมร์ · ดูเพิ่มเติม »

ปัญหาของฮิลแบร์ท

ปัญหาของฮิลแบร์ท (Hilbert's problems) คือ ปัญหาคณิตศาสตร์ทั้ง 23 ข้อ ที่ตั้งโดย ดาฟิด ฮิลแบร์ท (David Hilbert) นักคณิตศาสตร์ชาวเยอรมัน ได้นำเสนอต่อที่ประชุมสภานักคณิตศาสตร์นานาชาติ (International Congress of Mathematicians) ณ กรุงปารีส เมื่อ ค.ศ. 1900 ซึ่งปัญหาเหล่านี้เป็นปัญหาที่ยังไม่มีใครแก้ได้ในเวลานั้น และมีอิทธิพลต่อวงการคณิตศาสตร์เป็นอย่างมากในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ฮิลแบร์ทได้เสนอปัญหา 10 ข้อต่อที่ประชุม (ปัญหาข้อ 1, 2, 6, 7, 8, 13, 16, 19, 21 และ 22) เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม และได้เสนอปัญหาข้ออื่น ๆ ในภายหลัง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และปัญหาของฮิลแบร์ท · ดูเพิ่มเติม »

ปัญจะ เกสรทอง

นายปัญจะ เกสรทอง อดีตประธานสภาผู้แทนราษฎร อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ และ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเพชรบูรณ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และปัญจะ เกสรทอง · ดูเพิ่มเติม »

ปารีส-แบร็สต์-ปารีส

ปารีส-แบร็สต์-ปารีส (Paris-Brest-Paris (PBP) หรือ Paris-Brest et retour) เป็นกิจกรรมการขี่จักรยานทางไกลระยะทาง 1,200 กิโลเมตรในประเทศฝรั่งเศส เส้นทางจากปารีส ไปยังแบร็สต์ เมืองชายฝั่งตะวันตกของจังหวัดฟีนิสแตร์ แคว้นเบรอตาญ แล้วกลับไปสิ้นสุดที่ปารีส เริ่มจัดตั้งแต่ปี ค.ศ. 1891 จัดเป็นกิจกรรมการขี่จักรยานรายการหนึ่งที่เก่าแก่ที่สุด ที่ยังคงจัดอยู่จนถึงปัจจุบัน กิจกรรมนี้ในระยะแรกถือเป็นการจัดการแข่งขัน มีการประกาศผลผู้ชนะ จนกระทั่งในปี ค.ศ. 1931 ได้มีการจัดกิจกรรมจักรยานทางไกลของนักกีฬาสมัครเล่น ออแดกซ์ โดยสหภาพออแดกซ์แห่งฝรั่งเศส (Union des Audax Françaises) และเบรอแว โดยชมรมออแดกซ์แห่งปารีส (Audax Club Parisien) ควบคู่กันไป กิจกรรมของสหภาพออแดกซ์แห่งฝรั่งเศส และชมรมออแดกซ์แห่งปารีส จัดทุก 4 ปีต่อเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน ส่วนรายการแข่งขันสำหรับนักกีฬาอาชีพได้ยกเลิกไปหลังการแข่งขันครั้งสุดท้ายในปี ค.ศ. 1951 กิจกรรมปารีส-แบร็สต์-ปารีส ในปัจจุบัน กำหนดให้ผู้เข้าร่วมต้องผ่านกิจกรรมร็องดอเนอร์ในภูมิภาคต่าง ๆ ทั่วโลก ทั้งระยะ 200, 300, 400 และ 600 กิโลเมตรภายในหนึ่งปีนั้นมาก่อน นักกีฬาจะต้องขี่จักรยานเป็นระยะทาง 1,200 กิโลเมตร ภายในเวลา 90 ชั่วโมง และย้ายจุดเริ่มต้นและสิ้นสุดไปที่เมืองแซ็ง-ก็องแต็ง-อ็อง-อีฟว์ลีนทางตะวันออกเฉียงใต้ของปารี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และปารีส-แบร็สต์-ปารีส · ดูเพิ่มเติม »

ปาล พนมยงค์

ปาล พนมยงค์ (12 ธันวาคม พ.ศ. 2474 - 9 กันยายน พ.ศ. 2524) เป็นนักกฎหมาย บุตรชายคนโตของ ศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ รัฐบุรุษอาวุโส อดีตนายกรัฐมนตรีของไทย กับ ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ (สกุลเดิม: ณ ป้อมเพชร์).

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และปาล พนมยงค์ · ดูเพิ่มเติม »

นักบุญจอร์จและมังกร (ราฟาเอล)

นักบุญจอร์จและมังกร (ภาษาอังกฤษ: Saint George and the Dragon) เป็นจิตรกรรมตู้ (cabinet painting) ซึ่งเป็นภาพเขียนขนาดเล็กที่เขียนโดยราฟาเอลจิตรกรสมัยเรอเนซองส์คนสำคัญชาวอิตาลีที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่หอศิลป์แห่งชาติในกรุงวอชิงตัน ดี.ซี.ในประเทศสหรัฐอเมริกา ราฟาเอลเขียนภาพ “นักบุญจอร์จและมังกร” ระหว่างปี ค.ศ. 1504 ถึงปี ค.ศ. 1506 ภาพนี้และภาพ “นักบุญจอร์จ” ที่พิพิธภัณฑ์ลูฟร์ในปารีส และ “นักบุญไมเคิล” ที่พิพิธภัณฑ์ลูฟร์ในปารีส มีความคล้ายคลึงกันสองประการ ประการแรกคือหัวเรื่องซึ่งทั้งสามภาพเป็นเรื่องของอัศวินหนุ่มที่ต่อสู่กับมังกร ประการที่สองคือลักษณะการเขียน ทั้งสามภาพจัดอยู่ในภาพเขียนสมัยฟลอเรนซ์ของราฟาเอลที่ได้รับอิทธิพลบางอย่างจากช่างเขียนแบบเออร์บิโนที่ทำงานอยู่ในหรือมีภาพเขียนในฟลอเรนซ์ในขณะนั้น แต่อิทธิพลส่วนใหญ่ของสามภาพนี้มาจากภาพเขียน “ยุทธการอันเกียริ” โดย เลโอนาร์โด ดา วินชี ที่พาลัซโซเวคคิโอ (Palazzo Vecchio) ซึ่งเป็นตัวอย่างของฉากการต่อสู้ในยุทธการ (สภาพของภาพเขียนเสื่อมลงอย่างรวดเร็วและในปัจจุบันไม่มีเหลือไห้เห็นแล้ว เพราะดา วินชีทดลองใช้วิธีการเขียนใหม่แต่ไม่ได้ผล) อิทธิพลอื่นก็เป็นภาพเขียนเฟล็มมิช --โดยเฉพาะภาพเขียนโดย เฮียโรนิมัส บอส ราฟาเอลใช้แสงสว่างจัดและลักษณะอัปลักษณ์ของสัตว์ในภาพที่เป็นลักษณะเด่นของงานเขียนของบอส -- ซึ่งทำให้เห็นว่างานจากทางเหนือของยุโรปยังมีอิทธิพลต่องานเขียนบริเวณเออร์บิโน ภาพเขียนนี้แสดงถึงอิทธิพลต่างๆ ที่ราฟาเอลได้ศึกษาและรับมา ในขณะเดียวกันก็แสดงถึงปัญหาทางการเขียนภาพซึ่งราฟาเอลยังประสพอยู่และมาแก้ไขและวิวัฒนาการในภาพต่างๆ ที่เขียนขึ้นต่อมา ภาพเขียนนี้เดิมเป็นงานเขียนชิ้นเอกของงานสะสมของปิแอร์ โครซาท์ ซึ่งขายผ่านเดนนิส ดิเดโรท์ (Denis Diderot) ให้แก่ พระจักรพรรดินีนาถแคทเธอรีนที่ 2 แห่งรัสเซีย ในปี ค.ศ. 1772 ภาพเขียนตั้งแสดงอยู่พิพิธภัณฑ์เฮอร์มิทาจในกรุงเซนต์ปีเตอร์สเบิร์กราวร้อยห้าสิบปี และเป็นภาพที่นิยมที่สุดภาพหนึ่งในบรรดางานสะสมของพระเจ้าซาร์ แต่ในเดือนมีนาคมปี ค.ศ. 1931 บอลเชวิค (Bolsheviks) ขายภาพเขียนให้แก่แอนดรูว์ เมลลอน (Andrew Mellon) ผู้มอบให้แก่หอศิลป์แห่งชาติในกรุงวอชิงตัน ดี.ซี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และนักบุญจอร์จและมังกร (ราฟาเอล) · ดูเพิ่มเติม »

นิพนธ์ ศศิธร

ตราจารย์ นิพนธ์ ศศิธร อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ อดีตรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัย อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี และอดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และนิพนธ์ ศศิธร · ดูเพิ่มเติม »

นิกร ดุสิตสิน

ตราจารย์กิตติคุณ นายแพทย์ นิกร ดุสิตสิน เกิด 1 สิงหาคม พ.ศ. 2474 นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ ประจำปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และนิกร ดุสิตสิน · ดูเพิ่มเติม »

นิวตรอน

นิวตรอน (neutron) เป็น อนุภาคย่อยของอะตอม ตัวหนึ่ง มีสัญญลักษณ์ n หรือ n0 ที่ไม่มี ประจุไฟฟ้า และมีมวลใหญ่กว่ามวลของ โปรตอน เล็กน้อย โปรตอนและนิวตรอนแต่ละตัวมีมวลประมาณหนึ่งหน่วย มวลอะตอม โปรตอนและนิวตรอนประกอบกันขึ้นเป็น นิวเคลียส ของหนึ่งอะตอม และทั้งสองตัวนี้รวมกันเรียกว่า นิวคลีออน คุณสมบัติของพวกมันถูกอธิบายอยู่ใน ฟิสิกส์นิวเคลียร์ นิวเคลียสประกอบด้วยโปรตอนจำนวน Z ตัว โดยที่ Z จะเรียกว่า เลขอะตอม และนิวตรอนจำนวน N ตัว โดยที่ N คือ เลขนิวตรอน เลขอะตอมใช้กำหนดคุณสมบัติทางเคมีของอะตอม และเลขนิวตรอนใช้กำหนด ไอโซโทป หรือ นิวไคลด์ คำว่าไอโซโทปและนิวไคลด์มักจะถูกใช้เป็นคำพ้อง แต่พวกมันหมายถึงคุณสมบัติทางเคมีและทางนิวเคลียร์ตามลำดับ เลขมวล ของอะตอมใช้สัญลักษณ์ A จะเท่ากับ Z+N ยกตัวอย่างเช่น คาร์บอนมีเลขอะตอมเท่ากับ 6 และคาร์บอน-12 ที่เป็นไอโซโทปที่พบอย่างมากมายของมันมี 6 นิวตรอนขณะคาร์บอน-13 ที่เป็นไอโซโทปที่หายากของมันมี 7 นิวตรอน องค์ประกอบบางอย่างจะเกิดขึ้นเองในธรรมชาติโดยมีไอโซโทปที่เสถียรเพียงหนึ่งตัว เช่นฟลูออรีน (ดู นิวไคลด์ที่เสถียร) องค์ประกอบอื่น ๆ จะเกิดขึ้นโดยมีไอโซโทปที่เสถียรเป็นจำนวนมาก เช่นดีบุกที่มีสิบไอโซโทปที่เสถียร แม้ว่านิวตรอนจะไม่ได้เป็นองค์ประกอบทางเคมี มันจะรวมอยู่ใน ตารางของนิวไคลด์ ภายในนิวเคลียส โปรตอนและนิวตรอนจะยึดเหนี่ยวอยู่ด้วยกันด้วย แรงนิวเคลียร์ และนิวตรอนเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับความมั่นคงของนิวเคลียส นิวตรอนถูกผลิตขึ้นแบบทำสำเนาในปฏิกิริยา นิวเคลียร์ฟิวชั่น และ นิวเคลียร์ฟิชชัน พวกมันเป็นผู้สนับสนุนหลักใน การสังเคราะห์นิวเคลียส ขององค์ประกอบทางเคมีภายในดวงดาวผ่านกระบวนการฟิวชัน, ฟิชชั่นและ การจับยึดนิวตรอน นิวตรอนเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับการผลิตพลังงานนิวเคลียร์ ในทศวรรษหลังจากที่นิวตรอนที่ถูกค้นพบในปี 1932 นิวตรอนถูกนำมาใช้เพื่อให้เกิดการกลายพันธ์ของนิวเคลียส (nuclear transmutation) ในหลายประเภท ด้วยการค้นพบของ นิวเคลียร์ฟิชชัน ในปี 1938 ทุกคนก็ตระหนักได้อย่างรวดเร็วว่า ถ้าการฟิชชันสามารถผลิตนิวตรอนขึ้นมาได้ นิวตรอนแต่ละตัวเหล่านี้อาจก่อให้เกิดฟิชชันต่อไปได้อีกในกระบวนการต่อเนื่องที่เรียกว่า ปฏิกิริยาลูกโซ่นิวเคลียร์ เหตุการณ์และการค้นพบเหล่านี้นำไปสู่​​เครื่องปฏิกรณ์ที่ยั่งยืนด้วยตนเองเป็นครั้งแรก (Chicago Pile-1, 1942) และอาวุธนิวเคลียร์ครั้งแรก (ทรินิตี้ 1945) นิวตรอนอิสระหรือนิวตรอนอิสระใด ๆ ของนิวเคลียสเป็นรูปแบบหนึ่งของ การแผ่รังสีจากการแตกตัวเป็นไอออน ดังนั้นมันจึงเป็นอันตรายต่อชีวภาพโดยขึ้นอยู่กับปริมาณที่รับ สนาม "พื้นหลังนิวตรอน" ขนาดเล็กในธรรมชาติของนิวตรอนอิสระจะมีอยู่บนโลก ซึ่งเกิดจากมิวออนรังสีคอสมิก และจากกัมมันตภาพรังสีตามธรรมชาติขององค์ประกอบที่ทำฟิชชันได้ตามธรรมชาติในเปลือกโลก แหล่งที่ผลิตนิวตรอนโดยเฉพาะเช่นเครื่องกำเนิดนิวตรอน, เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์เพื่อการวิจัยและแหล่งผลิตนิวตรอนแบบสปอลเลชัน (Spallation Source) ที่ผลิตนิวตรอนอิสระสำหรับการใช้งานในการฉายรังสีและในการทดลองการกระเจิงนิวตรอน คำว่า "นิวตรอน" มาจากภาษากรีก neutral ที่แปลว่า เป็นกลาง เออร์เนสต์ รัทเทอร์ฟอร์ด เป็นผู้ตั้งทฤษฎีการมีอยู่ของนิวตรอนเมื่อปี ค.ศ. 1920 โดยเขาพบว่าอะตอมของธาตุทุกชนิด เลขมวลจะมีค่าใกล้เคียงกับ 2 เท่าของเลขอะตอมเสมอ จึงสันนิษฐานได้ว่ามีอนุภาคอีกชนิดหนึ่งที่ยังไม่ถูกค้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และนิวตรอน · ดูเพิ่มเติม »

นิโคลา เทสลา

นิโคลา เทสลา (Никола Тесла, Nikola Tesla) เกิดเมื่อ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2399 - ถึงแก่กรรม 7 มกราคม พ.ศ. 2486 (86 ปี) เป็น นักประดิษฐ์, นักฟิสิกส์, วิศวกรเครื่องกล, วิศวกรไฟฟ้า และ นักทำนายอนาคต เขาเกิดที่ Smiljan ในอดีตออสเตรีย - ฮังการี ซึ่งปัจจุบันคือสาธารณรัฐโครเอเชีย ภายหลังเขาได้รับสัญชาติเป็นพลเมืองอเมริกัน เทสลามีปัญหาทางประสาทในวัยเด็ก ที่เขาต้องทุกข์ทรมาน จาก โรคย้ำคิดย้ำทำ เขาได้งานแรกในบูดาเปสต์โดยทำงานที่บริษัทโทรศัพท์ เทสล่าได้ประดิษฐ์ลำโพงสำหรับโทรศัพท์ระหว่างที่ทำงานอยู่ที่นี่ ก่อนที่จะเดินทางเร่ร่อนไปอเมริกาในปี 2427 เพื่อที่จะไปทำงานกับ โทมัส เอดิสัน แต่ในไม่นาน เขาก็เริ่มก่อตั้ง ห้องปฏิบัติการ/บริษัท พัฒนาอุปกรณ์ไฟฟ้า ของตัวเองโดยมีผู้สนับสนุนด้านการเงินให้ สิทธิบัตรมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลับแบบเหนี่ยวนำ และ หม้อแปลงไฟฟ้า ได้รับการจดทะเบียนโดย จอร์จ เวสติงเฮ้าส์ ซึ่งเป็นผู้ว่าจ้างให้เทสลาเป็นที่ปรึกษาและพัฒนาระบบไฟฟ้ากระแสสลับด้วย ผลงานของเทสลาที่ทำให้เขาเป็นที่สนใจในสมัยนั้นอาทิเช่น การทดลองเกี่ยวกับ คลื่นความถี่สูงและแรงดันไฟฟ้าแรงสูง ใน นิวยอร์ก และ โคโลราโด สปริงซ์, สิทธิบัตรของอุปกรณ์และทฤษฎีที่ใช้ในการสร้างวิทยุสื่อสาร, การทดลอง X-ray ของเขา, เขายังเป็นผู้คิดค้นตัวกำเนิดสัญญาณ (oscillator) หลากหลายรูปแบบอีกด้วย และ โครงการ Wardenclyffe Tower ซึ่งเป็นความพยายามในการส่งสัญญาณไร้สายข้ามทวีปแต่โชคร้ายที่โครงการนี้ไม่ประสบความสำเร็จ แม้เทสลาจะเป็นผู้คิดค้นสัญญาณวิทยุ การค้นพบหลักการสนามแม่เหล็กไฟฟ้า แต่ผลงานที่ทำให้เขาเป็นที่รู้จักกันดีคือ การค้นคว้าพัฒนาไฟฟ้ากระแสสลับ ซึ่งในขณะนั้นมีการแข่งขันกับไฟฟ้ากระแสตรงที่ถูกพัฒนาขึ้นมา โทมัส เอดิสัน แต่ในที่สุดไฟฟ้ากระแสสลับก็ได้รับความนิยมมากกว่า เพราะเกิดการสูญเสียน้อยกว่าในการส่งกระแสไฟฟ้าในระยะทางไกล เทสลาประสบความสำเร็จเป็นที่รู้จักและทำให้ผู้คนเห็นถึงความสามารถของจากโชว์สิ่งประดิษฐ์ที่ดูน่าอัศจรรย์ทั้งหลาย ถึงแม้ว่าเขาจะได้เงินจากสิทธิบัตรต่าง ๆ แต่เขาก็ได้ทำการทดลองอย่างมากมายด้วยเช่นกัน ทำให้ในช่วงบั้นปลายชีวิตของเขาต้องเป็นหนี้ และ มีปัญหาด้านการเงิน ต้องอาศัยอยู่อย่างโดษเดี่ยวในห้องพักหมายเลข 3327 ที่โรงแรม New Yorker ด้วยลักษณะและธรรมชาติในการทำงานของเทสลาทำให้เขาถูกขนานนามว่าเป็น "นักวิทยาศาสตร์เพี้ยน" เทสลาถูกพบว่าเสียชีวิตในห้องพักหมายเลข 3327 ที่โรงแรม New Yorker เมื่อวันที่ 7 มกราคม 2486 หลังจากการตายของเขางานของเทสล่าก็ได้เงียบหายไป แต่ในปี 2533 เขาก็เริ่มกลับมาเป็นที่รู้จักอีกครั้ง ในปี 2548 เขาถูกเสนอชื่อให้เป็นตัวแทน 1 ใน 100 คนในรายการโทรทัศน์ "The Greatest American" โดยการสำรวจนิยมโดย AOL กับ ช่อง Discovery การทำงานและสิ่งประดิษฐ์ที่มีชื่อเสียงของเขายังเป็นจุดกำเนิดของทฤษฎีสมคบคิดจำนวนมาก และ ยังได้นำไปใช้สนับสนุนวิทยาศาสตร์เทียม, ทฤษฎียูเอฟโอ และ ไสยศาสตร์ยุคใหม่ อีกด้วย ในปี 2503 หน่วยสำหรับวัดความ ความหนาแน่นของเส้นแรงแม่เหล็ก หรือ การเหนี่ยวนำด้วยพลังแม่เหล็ก (ที่รู้จักกันทั่วไปว่าเป็นสนามแม่เหล็ก B \), ถูกตั้งชื่อว่า เทสลา เพื่อเป็นเกียรติแก่เขา นอกจากนี้ เทสลายังถือเป็นวิศวกรที่สร้างนวัตกรรมล้ำยุคที่ยิ่งใหญ่ที่สุดคนหนึ่งในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 สิทธิบัตรของเทสลาและผลงานเชิงทฤษฎีของเขากลายเป็นพื้นฐานของระบบไฟฟ้ากระแสสลับ ได้แก่ ระบบจ่ายกำลังหลายเฟส และมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลับ ซึ่งเขามีส่วนผลักดันเป็นอย่างมากในช่วงปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่สอง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และนิโคลา เทสลา · ดูเพิ่มเติม »

นีกีตา ครุชชอฟ

นีกีตา เซียร์เกเยวิช ครุชชอฟ (Никита Сергеевич Хрущёв; Nikita Sergeyevich Khrushchev 17 เมษายน ค.ศ. 1894 - 11 กันยายน ค.ศ. 1971) เป็นเลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียต สืบทอดตำแหน่งต่อจากโจเซฟ สตาลิน ซึ่งได้ถึงแก่อสัญกรรมในปี 1953 ประธานสภารัฐมนตรีแห่งสหภาพโซเวียต สืบทอดตำแหน่งต่อจากนิโคไล บัลกานิน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และนีกีตา ครุชชอฟ · ดูเพิ่มเติม »

แม่ชีเทเรซา

แม่ชีเทเรซา หรือ คุณแม่เทเรซา (26 สิงหาคม พ.ศ. 2453 – 5 กันยายน พ.ศ. 2540) เป็นนักพรตหญิงในศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิก ท่านมีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักกันดีในฐานะผู้ช่วยเหลือและผู้ต่อสู้เพื่อคนยากไร้ทั้งในประเทศที่ยากจนและร่ำรวย จนเมื่อปี พ.ศ. 2522 (ค.ศ. 1979) ท่านจึงได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ และหลังจากมรณกรรมก็ได้รับการประกาศเป็นบุญราศีโดยสมเด็จพระสันตะปาปาจอห์น ปอลที่ 2 มีนามว่า "บุญราศีเทเรซาแห่งกัลกัตตา" ต่อมาในวันที่ 4 กันยายน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และแม่ชีเทเรซา · ดูเพิ่มเติม »

แรมเซย์ แมคโดนัล

มส์ แรมเซย์ แมคโดนัล (อังกฤษ: James Ramsay MacDonald; 12 ตุลาคม พ.ศ. 2409 - 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2480) เป็นนักการเมืองชาวสกอตและเป็นนายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักรคนแรกจากพรรคแรงงาน (Labour Party) สองสมัยคือ ใน พ.ศ. 2467 และระหว่าง พ.ศ. 2472 - พ.ศ. 2474 ทั้งยังเป็นนายกรัฐมนตรีของรัฐบาลแห่งชาติระหว่าง..

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และแรมเซย์ แมคโดนัล · ดูเพิ่มเติม »

แสวง ธีระสวัสดิ์

ลตำรวจเอก แสวง ธีระสวัสดิ์ (27 ตุลาคม พ.ศ. 2474 - 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2546) อดีตอธิบดีกรมตำรวจ คนที่ 21.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และแสวง ธีระสวัสดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

แอลัน ทัวริง

แอลัน แมธิสัน ทัวริง (Alan Mathison Turing; 23 มิถุนายน พ.ศ. 2455 (ค.ศ. 1912) – 7 มิถุนายน พ.ศ. 2497 (ค.ศ. 1954)) เป็นนักคณิตศาสตร์, นักตรรกศาสตร์, นักรหัสวิทยาและวีรบุรุษสงครามชาวอังกฤษ และเป็นที่ยอมรับว่าเป็นบิดาของวิทยาการคอมพิวเตอร์ เขาได้สร้างรูปแบบที่เป็นทางการทางคณิตศาสตร์ของการระบุขั้นตอนวิธีและการคำนวณ โดยใช้เครื่องจักรทัวริง ซึ่งตามข้อปัญหาเชิร์ช-ทัวริงได้กล่าวว่าเป็นรูปแบบของเครื่องจักรคำนวณเชิงกลที่ครอบคลุมทุก ๆ รูปแบบที่เป็นไปได้ในทางปฏิบัติ ในระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ทัวริงมีส่วนสำคัญในการแกะรหัสลับของฝ่ายเยอรมัน โดยเขาเป็นหัวหน้าของกลุ่ม Hut 8 ที่ทำหน้าที่ในการแกะรหัสของเครื่องอินิกมาที่ใช้ในฝ่ายทหารเรือ หลังจากสงครามเขาได้ออกแบบเครื่องคอมพิวเตอร์อิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถโปรแกรมได้เครื่องแรกๆ ของโลกที่ห้องปฏิบัติการฟิสิกส์แห่งชาติ และได้สร้างเครื่องคอมพิวเตอร์ขึ้นจริง ๆ ที่มหาวิทยาลัยแมนเชสเตอร์ รางวัลทัวริงถูกก่อตั้งขึ้นเพื่อยกย่องเขาในเรื่องนี้ นอกจากนั้นแล้ว การทดสอบของทัวริงที่เขาได้เสนอนั้นมีผลอย่างสูงต่อการศึกษาเรื่องปัญญาประดิษฐ์ ซึ่งในขณะมีถกเถียงที่สำคัญว่า เป็นไปได้หรือไม่ที่จะกล่าวว่าเครื่องจักรนั้นมีสำนึกและสามารถคิดได้.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และแอลัน ทัวริง · ดูเพิ่มเติม »

แองเตอร์นาซิอองนาลฉบับภาษาจีน

ลงแองเตอร์นาซิอองนาล ในภาษาจีนมีชื่อว่า "กั๋วจี้เกอ" แปลตามตัวว่า เพลงสากล บทร้องฉบับแปลภาษาจีนมีฉบับแปลอยู่หลายฉบั.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และแองเตอร์นาซิอองนาลฉบับภาษาจีน · ดูเพิ่มเติม »

แผนการยัง

แผนการยัง (Young Plan) เป็นโครงการที่จัดตั้งขึ้นมาเพื่อจัดการกับหนี้สินค่าปฏิกรรมสงคราม หลังจากสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง โดยตราขึ้นในปี ค.ศ. 1929 และประกาศใช้ในปี ค.ศ. 1930 นำโดยโอเวน ดี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และแผนการยัง · ดูเพิ่มเติม »

แท็บ ฮันเตอร์

แท็บ ฮันเตอร์ (Tab Hunter) เกิดเมื่อวันที่ 11 กรกฎาคม ค.ศ. 1931 เป็นนักร้องชาวอเมริกัน นักแสดง อดีตทีนไอดอลและนักเขียน มีผลงานแสดงภาพยนตร์มากกว่า 40 เรื่อง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และแท็บ ฮันเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

แดนนี่ คิด

แดนนี่ คิด หรือ ฟลอเรนซิโอ โซเลนเต เป็นนักมวยสากลชาวฟิลิปปินส์ เกิดเมื่อ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2474 สถิติการชก 91 ครั้ง ชนะ 43 (น็อค 15)เสมอ 14 แพ้ 34.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และแดนนี่ คิด · ดูเพิ่มเติม »

แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 114

แซรอสชุดที่ 114 ของสุริยุปราคา เว้นช่วงของแต่ละเหตุการณ์ทุก ๆ 18 ปี 11 วัน มีสุริยุปราคาในชุดแซรอสนี้ทั้งหมด 72 ครั้ง ซึ่งชุดแซรอสที่ 114 ประกอบไปด้วยสุริยุปราคาบางส่วน 18 ครั้ง สุริยุปราคาวงแหวน 13 ครั้ง สุริยุปราคาผสม 16 ครั้ง สุริยุปราคาเต็มดวง 17 ครั้ง และสุริยุปราคาบางส่วน 8 ครั้ง ตามลำดับ ทั้งหมดนี้จะดำเนินอยู่ในช่วงระหว่างปี ค.ศ. 651 - ค.ศ. 1931 กินเวลาทั้งสิ้น 1,280 ปี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และแซรอสดวงอาทิตย์ที่ 114 · ดูเพิ่มเติม »

โมฮัมเหม็ด อาลี ซามาตาร์

ลโท โมฮัมเหม็ด อาลี ซามาตาร์(Maxamed Cali Samatar, محمد علي سمتر) (เกิด พ.ศ. 2474) เป็นนักการเมืองชาวโซมาลีและนายพลของกองทัพโซมาเลีย เขาเป็นสมาชิกอาวุโสของคณะปฏิวัติสูงสุด นอกจากนี้เขายังดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีโซมาเลียตั้งแต่ 1 กุมภาพัน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และโมฮัมเหม็ด อาลี ซามาตาร์ · ดูเพิ่มเติม »

โรลส์-รอยซ์ แฟนทอม

รลส์-รอยซ์ แฟนท่อม (Rolls-Royce Phantom) มีชื่อเสียงในฐานะรถพรีเมียมของค่ายรถยนต์ โรลส์-รอยซ์ (ซึ่งเป็นค่ายรถยนต์ที่ผลิตรถหรูหราระดับ Luxury Car) เริ่มการผลิตรุ่นแรกใน พ.ศ. 2468 โดยเป็นรุ่นที่ออกมาทดแทนรถรุ่น โรลส์-รอยซ์ ซิลเวอร์ โกสต์ (Rolls-Royce Silver Ghost) มีการผลิตตั้งแต่รุ่นแรกถึงปัจจุบันที่ใช้ชื่อแฟนท่อม มี 7 รุ่น (แฟนท่อม ไม่ใช่การพัฒนาแบบ Generation เหมือนรถญี่ปุ่น แต่จะเป็นการใช้ชื่อรุ่นใหม่ เช่น แฟนท่อม I, II, III เป็นต้น ถือเป็นคนละโมเดล แต่มีชื่อคล้ายกัน และมีพัฒนาการจากโมเดลที่ออกมาก่อนโมเดลนั้นๆ) ดังนี้.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และโรลส์-รอยซ์ แฟนทอม · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนชลกันยานุกูล

รงเรียนชลกันยานุกูล เป็นโรงเรียนสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 สำนักงานคณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ ก่อตั้งขึ้นวันที่ 10 กันยายน 2479 มีนักเรียนจำนวน 4,169 คน ผู้บริหาร 1 คน รองผู้อำนวยการ 4 คน ครู 131 คน ครูอัตราจ้าง 30 คน นักการภารโรง 11 คน มีพื้นที่รวม 27 ไร่ 2 งาน 46 ตารางวา ตั้งอยู่เลขที่ 31.ตำหนักน้ำ ต.บางปลาสร้อย อ.เมืองชลบุรี.ชลบุรี 20230.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และโรงเรียนชลกันยานุกูล · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนพิจิตรพิทยาคม

รงเรียนพิจิตรพิทยาคม เป็นโรงเรียนรัฐบาลในอำเภอเมือง จังหวัดพิจิตร ซึ่งโรงเรียนแห่งนี้เป็นโรงเรียนมัธยมที่เก่าแก่โรงเรียนหนึ่งของจังหวัดพิจิตร ได้เปิดสอนมานานกว่า 120 ปีแล้ว มีนักเรียนตั้งแต่เริ่มเปิดสอน จนถึงปัจจุบันมากกว่า 33,000 คน ปัจจุบันได้เปิดสอนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 - 6 และยังเป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาของรัฐประจำจังหวัด ของจังหวัดพิจิตรอีกด้ว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และโรงเรียนพิจิตรพิทยาคม · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนกัลยาณีศรีธรรมราช

รงเรียนกัลยาณีศรีธรรมราช เป็นโรงเรียนประจำจังหวัดนครศรีธรรมราชประเภทโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษเปิดสอนทั้งในระดับ มัธยมศึกษาตอนต้น และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ เปิดสอนครั้งแรกเมื่อ..

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และโรงเรียนกัลยาณีศรีธรรมราช · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนกาฬสินธุ์พิทยาสรรพ์

รงเรียนกาฬสินธุ์พิทยาสรรพ์ (อังกฤษ: Kalasinpittayasan School) (อักษรย่อ: ก.พ.ส,K.P.S.) เป็นสถานศึกษาแห่งแรกของจังหวัดกาฬสินธุ์ ซึ่งแต่เดิมเป็นโรงเรียนชายล้วน ปัจจุบันจัดอยู่ในประเภทโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ รูปแบบสหศึกษา ทำการเรียนการสอนตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และระดับมัธยมศึกษาตอนปล.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และโรงเรียนกาฬสินธุ์พิทยาสรรพ์ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนราชินี

รงเรียนราชินี เป็นโรงเรียนเก่าแก่แห่งหนึ่ง ตั้งอยู่เลขที่ 444 ถนนมหาราช แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ริมฝั่งตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา ผู้ทรงให้กำเนิดโรงเรียนคือ สมเด็จพระศรีพัชรินทรา พระบรมราชินีนาถในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2447 ณ ตึกแถวมุมถนนอัษฎางค์และถนนจักรเพชร ต่อมาได้ย้ายไปอยู่ตึกริมแม่น้ำเจ้าพระยาใกล้ปากคลองตลาด และมีการเปิดรับนักเรียนกินนอนขึ้นใน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และโรงเรียนราชินี · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนวัดบวรนิเวศ

รงเรียนวัดบวรนิเวศ เป็นโรงเรียนรัฐบาลประเภทชายล้วน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ เปิดสอนในระดับมัธยมศึกษาทั้งตอนต้นและตอนปลายเป็นโรงเรียนชายล้วน มีที่ตั้งอยู่ในบริเวณวัดบวรนิเวศวิหาร เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร โรงเรียนนี้ตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2436 ตามพระดำริของสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส เพื่อจัดการศึกษาเล่าเรียนแก่พระภิกษุสามเณรในคณะธรรมยุติกนิกาย ต่อมาในปี พ.ศ. 2442 การจัดการเรียนการสอนของโรงเรียนวัดบวรนิเวศได้ก็กลายเป็นต้นแบบของการจัดการศึกษาในโรงเรียนต่างๆ ทั่วประเทศ ตามพระราชประสงค์ที่จะขยายโอกาสทางการศึกษาแก่ประชาชนของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โรงเรียนแห่งนี้ในปัจจุบันมีองค์สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายกเป็นองค์อุปถัม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และโรงเรียนวัดบวรนิเวศ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนวัดราชโอรส

รงเรียนวัดราชโอรส เดิมเป็นโรงเรียนประชาบาล ตั้งอยู่ในเขตวัดราชโอรสาราม ด้านหน้าติดกับคลองสนามชัย หรือ คลองด่าน เดิมชื่อโรงเรียนประสิทธิ์วิทยาคม ต่อมาได้โอนเป็นโรงเรียนรัฐบาลขึ้นกับกระทรวงธรรมการ โดยรองอำมาตย์เอกหลวงพิรุณพิทยาพรรณเจ้าหน้าที่กระทรวงธรรมการกับพระธรรมุเทศาจารย์ เจ้าอาวาส ได้พิจารณาร่วมกันว่ายังไม่มีโรงเรียนมัธยมในละแวกนี้จึงเสนอให้โอนโรงเรียนประสิทธิ์วิทยาคมไปขึ้นกับกระทรวงธรรมการ มีชื่อว่า โรงเรียนวัดราชโอรส ในวันที่ 19 มีนาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และโรงเรียนวัดราชโอรส · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนวัดสุทธิวราราม

รงเรียนวัดสุทธิวราราม (Wat Suthiwararam School) (อักษรย่อ: ส.ธ., ST) เป็นโรงเรียนแรกในรัชกาลของพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัวที่ราษฎรสร้างขึ้นแล้วยกให้กระทรวงธรรมการ มีพระราชหัตถเลขาชมเชยให้การสร้างโรงเรียนวัดสุทธิวรารามเป็นแบบอย่างของการบำเพ็ญกุศลที่ต้องด้วยพระราชนิยมเป็นอย่างยิ่ง โดยได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากพระองค์เสด็จพระราชดำเนินมาทรงทำพิธีเปิดเป็นโรงเรียนแรกในรัชกาลวรชาติ มีชูบท, พระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราวุธ พระมงกุฎเกล้าเจ้าแผ่นดินสยาม, สำนักพิมพ์ สร้างสรรค์บุ๊คส์, 2552 เมื่อวันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2454 โดยใช้ชื่อพระราชทานจากพระองค์ ว่า โรงเรียนมัธยมพิเศษสุทธิวราราม ปัจจุบันโรงเรียนวัดสุทธิวรารามมีอายุ ปี เปิดทำการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 1-6 เป็นโรงเรียนชายและเป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ ดำเนินนโยบายแผนปฏิบัติการประจำปีสอดคล้องกับสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานคร สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ มีเนื้อที่ 5 ไร่ 2 งาน 80 ตารางวา ดำเนินนโยบายแผนปฏิบัติการประจำปีสอดคล้องกับสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานคร มีอาคารเรียนทั้งหมด 6 หลัง ห้องเรียน 72 ห้อง แบ่งตามแผนการจัดชั้นเรียนดังนี้ 12-12-12-12-12-12.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และโรงเรียนวัดสุทธิวราราม · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนวัดจุกกะเฌอ (พินิจ เริ่มอำรุง)

รงเรียนวัดจุกกะเฌอ (พินิจ เริ่มอำรุง) - Wat Jukkacher School เป็นโรงเรียนในเขตชุมชนที่ตั้งอยู่ในเขตวัดจุกกะเฌอ ตำบลบึง อำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 3 เปิดการเรียนการสอนแบบสหศึกษา อ.1 ถึง ป.6 แต่เดิมอาศัยศาลาการเปรียญของวัดจุกกะเฌอ เป็นที่เรียนหนังสือของนักเรียน และย้ายตัวโรงเรียนไปสร้างใหม่ ด้านหลังวัดจุกกะเฌอในปัจจุบัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และโรงเรียนวัดจุกกะเฌอ (พินิจ เริ่มอำรุง) · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์

รงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์ เป็นโรงเรียนหญิงล้วน สถาปนาขึ้นเมื่อวันที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2459 ภายหลังพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสายสนิทวงศ์สิ้นพระชนม์ โดยบรรดาทายาทของพระองค์ได้บริจาคตำหนักส่วนพระองค์ และที่ดินข้างเคียงเพื่อตั้งเป็นโรงเรียนสตรีและรับโรงเรียนไว้ในอุปการะ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารังสิตประยูรศักดิ์ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร ผู้เป็นพระนัดดา ทรงนำความขึ้นกราบบังคมทูลพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามโรงเรียนว่า “สายปัญญา” ต่อมาสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ รับโรงเรียนสายปัญญา ไว้ในพระบรมราชินูปถัมภ์ ปัจจุบันโรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์ มีอายุ ปี เปิดรับสอนเฉพาะนักเรียนหญิง ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-6 ตั้งอยู่บนถนนกรุงเกษม เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร มีเนื้อที่ 4 ไร่ 2 งาน 0.6 ตารางวา มีอาคารเรียน 4 หลัง มี 53 ห้องเรียน 53  ห้องเรียน แบ่งตามแผนการจัดชั้นเรียนระดับมัธยมต้นและมัธยมปลายดังนี้ 6-6-8/11-12-10 มีครูทั้งหมด 108 คน มีนักเรียนในปีการศึกษา 2557 รวมทั้งสิ้น 2,641 คน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และโรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนสตรีภูเก็ต

รงเรียนสตรีภูเก็ต ตั้งขึ้นโดยพระยารัษฎานุประดิษฐ์มหิศรภักดี สมุหเทศาภิบาลมณฑลภูเก็ต ร่วมกับคณะกรรมการสตรี ได้จัดหาเงินเพื่อสร้างโรงเรียนสำหรับสตรีขึ้น ณ สถานที่บริเวณถนนสตูลเชิงเขารัง เมื่อ..

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และโรงเรียนสตรีภูเก็ต · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนสตรีจุลนาค

รงเรียนสตรีจุลนาค โรงเรียนสหศึกษาระดับประถมศึกษา – มัธยมศึกษาที่กระทรวงศึกษาธิการรับรองวิทยฐานะ ก่อตั้ง พ.ศ. 2469 ตั้งอยู่ที่เลขที่ 77 ถนนหลานหลวง แขวงวัดโสมนัส เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และโรงเรียนสตรีจุลนาค · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนอัสสัมชัญธนบุรี

รงเรียนอัสสัมชัญธนบุรี (Assumption College Thonburi; อักษรย่อ: อ.ส.ธ.) เป็นโรงเรียนเอกชนลำดับ 8 ก่อตั้งโดยคณะภราดาเซนต์คาเบรียล เมื่อปี พ.ศ. 2504 เดิมเป็นโรงเรียนชายล้วน ตั้งแต่ ปีพ.ศ. 2552 ได้รับนักเรียนหญิงเข้ามา จึงเปลี่ยนแปลงเป็นโรงเรียนสหศึกษา มีสถานที่ตั้งอยู่ที่ 92 ถนนอัสสัมชัญ แขวงบางไผ่ เขตบางแค กรุงเทพมหานคร 10160 ปัจจุบันโรงเรียนอัสสัมชัญธนบุรีมีอายุครบ ปี โรงเรียนก่อตั้งขึ้นโดยได้รับที่ดินจำนวนหนึ่งจากนายไถง สุวรรณทัต ศิษย์เก่าอาวุโสโรงเรียนอัสสัมชัญ (อดีต ส.ส.พรรคประชาธิปัตย์)ผู้ก่อตั้งหมู่บ้านจัดสรรแห่งแรกของประเทศไทยชื่อว่า "หมู่บ้านเศรษฐกิจ" ซึ่งท่านได้บริจาคที่ดินเนื้อที่ทั้งหมด 56 ไร่ 1 งาน 9 ตารางวา ให้กับโรงเรียน ปัจจุบันมีพื้นที่ทั้งหมด 80 ไร่ 27 ตารางวา ผู้อำนวยการคนปัจจุบันของโรงเรียนชื่อ ภราดา ดร.วีรยุทธ บุญพราหมณ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และโรงเรียนอัสสัมชัญธนบุรี · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนขอนแก่นวิทยายน

ก่อนชื่อพระราชทาน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และโรงเรียนขอนแก่นวิทยายน · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนโพธินิมิตวิทยาคม

รงเรียนโพธินิมิตวิทยาคม เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 3 (นนทบุรี-พระนครศรีอยุธยา) สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่เลขที่ 51 หมู่ที่ 4 ซอยสุขาประชาสรรค์ 2 ซอย 35 (ทางเข้าวัดโพธิ์บ้านอ้อย) ถนนสุขาประชาสรรค์ 2 ตำบลบางพูด อำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี 11120 ประกาศจัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 13 มกราคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และโรงเรียนโพธินิมิตวิทยาคม · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนเบ็ญจะมะมหาราช

รงเรียนเบ็ญจะมะมหาราช เป็นโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษประเภทสหศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 29 (อุบลราชธานี-อำนาจเจริญ) สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ จัดการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาสายสามัญ ตามหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการ แต่เดิมโรงเรียนนี้เคยเป็นโรงเรียนชายล้วนประจำมณฑลอุบลราชธานี คู่กับโรงเรียนนารีนุกูลที่เป็นโรงเรียนหญิงล้วนประจำจังหวัดอุบลราชธานีในสมัยก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครอง และโรงเรียนชายล้วนประจำจังหวัดในสมัยหลังเปลี่ยนแปลงการปกครองแล้ว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และโรงเรียนเบ็ญจะมะมหาราช · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนเมืองพัทยา 9 (วัดโพธิสัมพันธ์)

รงเรียนเมืองพัทยา 9 (วัดโพธิสัมพันธ์) - Pattaya City 9 School (wat phothisamphan) เป็นโรงเรียนที่ตั้งอยู่ในเขตวัดโพธิสัมพันธ์ เมืองพัทยา ตำบลนาเกลือ อำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี สังกัดกรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย เปิดทำการเรียนการสอนในระดับชั้นอนุบาลศึกษาถึงมัธยมศึกษา แบบสหศึกษ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และโรงเรียนเมืองพัทยา 9 (วัดโพธิสัมพันธ์) · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนเศรษฐบุตรบำเพ็ญ

ัณฑ์โรงเรียนเศรษฐบุตร โรงเรียนเศรษฐบุตรบำเพ็ญ เป็นโรงเรียนในสังกัดมัธยมศึกษา กรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการสร้างโดยพระยาภักดีนรเศรษฐ (เลิศ เศรษฐบุตร) เคยเป็นโรงเรียนประจำจังหวัดมีนบุรี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และโรงเรียนเศรษฐบุตรบำเพ็ญ · ดูเพิ่มเติม »

โรแบร์ แลงกาต์

รแบร์ แลงกาต์ (Robert Lingat รอแบร์ แล็งกา) หรือ ร. แลงกาต์ (เกิด:พ.ศ. 2435; ตาย: 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2515) เป็นศาสตราจารย์ทางนิติศาสตร์ ชาวฝรั่งเศส โด่งดังจากการค้นคว้าวิจัยเกี่ยวกับกฎหมายในภาคพื้นเอเชียตะวันออกและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ผลงานของเขามีอิทธิพลต่อวงการกฎหมายไทยในอดีตอย่างยิ่ง โรแบร์ แลงการ์ต ถือกำเนิดเมื่อ พ.ศ. 2435 ณ เมืองชาร์เลอวีล-เมซีแยร์ แคว้นอาร์แดน ประเทศฝรั่งเศส ชีวิตส่วนตัวของเขาไม่เป็นที่แพร่หลายนัก ในด้านการศึกษา เมื่อ พ.ศ. 2462 เขาได้ศึกษาภาษาไทย ภาษาบาลี และภาษาสันสกฤต จนได้รับประกาศนียบัตรจากสถาบันภาษาตะวันออกแห่งกรุงปารีส ต่อมาได้ศึกษากฎหมายเอกชนจนได้รับปริญญานิติศาสตรดุษฎีบัณฑิตในกรุงปารีสเมื่อ พ.ศ. 2474 มีผลงานเป็นวิทยานิพนธ์เรื่อง "เลสกลาวาชปรีเวดองเลอวีเยอดรัวซียามัว" (L'esclavage privé dans le vieux droit siamois, "ระบบทาสเอกชนในกฎหมายเก่าของสยาม") ในด้านการทำงาน ระหว่าง พ.ศ. 2461 ถึง พ.ศ. 2462 เขาเป็นล่ามให้กองทัพไทยในฝรั่งเศส ครั้น พ.ศ. 2467 ถึง พ.ศ. 2483 จึงย้ายมาประกอบอาชีพในกรุงเทพมหานครโดยเป็นที่ปรึกษากฎหมาย และอาจารย์วิชานิติศาสตร์ของหลายมหาวิทยาลัยในเอเชีย รวมถึงระดับปริญญาตรีและปริญญาโทของคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ซึ่งเขาดำเนินการสอนเป็นภาษาฝรั่งเศส โดยมีล่ามถ่ายทอดเป็นภาษาไทยอีกที ณ ที่นั้น เขายังได้เป็นที่ปรึกษากระทรวงยุติธรรม และได้เข้าไปมีส่วนร่วมในการอภิปรายและการศึกษาเกี่ยวกับระบบกฎหมายอินเดียที่กำลังเจริญเติบโต เขาปฏิบัติหน้าที่เป็นอาจารย์มหาวิทยาลัยกระทั่ง พ.ศ. 2498 จึงสิ้นสุดงานการสอนของเขาและจากมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่งในประเทศกัมพูชากลับไปบ้านเกิดเมืองนอนของเขา ก่อนเขาจะถึงแก่กรรม เขาได้ทำการสอนที่ศูนย์อินเดียศึกษา มหาวิทยาลัยปารีส กระทั่งจากโลกไปเมื่อวันที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2515 หนึ่งปีก่อนที่ผลงานของเขาจะได้รับการแปลเป็นภาษาอังกฤษและนำชื่อของเขาเข้าสู่โลกระดับสากล โรแบร์ แลงกาต์ มีชีวิตอยู่ในช่วงรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวถึงรัชกาลพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุล.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และโรแบร์ แลงกาต์ · ดูเพิ่มเติม »

โฮจิมินห์

มินห์ (Hồ Chí Minh, โห่ จี๊ มิญ; คำแปล "แสงสว่างที่นำทาง") เป็นนักปฏิวัติชาวเวียดนาม ซึ่งในภายหลังได้กลายมาเป็นนายกรัฐมนตรีและประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐประชาธิปไตยเวียดนาม (เวียดนามเหนือ) หลังจากสิ้นสุดของสงครามเวียดนาม ไซ่ง่อน เมืองหลวงเก่าของเวียดนามใต้ ได้ถูกเปลี่ยนชื่อมาเป็นนครโฮจิมินห์ เพื่อเป็นเกียรติแก่โฮจิมินห์ โฮจิมินห์ เป็นบุคคลที่ชาวเวียดนามถือว่าเป็นบุคคลที่มีความสำคัญเป็นอย่างยิ่งต่อการประกาศอิสรภาพของเวียดนาม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และโฮจิมินห์ · ดูเพิ่มเติม »

โฮเซ ซูไลมัง

ซ่ สุไลมาน โฮเซ่ สุไลมาน (José Sulaimán) อดีตประธานสภามวยโลก (WBC) ชาวเม็กซิกัน สุไลมานเกิดเมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม ค.ศ. 1931 ที่เมืองซิวดัดวิกโตเรีย รัฐตาเมาลีปัส ประเทศเม็กซิโก มีชื่อเต็มว่า โฮเซ่ สุไลมาน ชาง่อน (José Sulaimán Chagnón) มีเชื้อสายเลบานอน เนื่องจากบิดาเป็นชาวเลบานอนที่อพยพมาอยู่ที่เม็กซิโก ในปี ค.ศ. 1920 ในวัยเด็ก สุไลมานชื่นชอบการชกมวยสากลมาก รวมทั้งเป็นนักมวยเองด้วยในวัยรุ่น และได้คลุกคลีอยู่กับวงการมวยมาโดยตลอด จนกระทั่งได้เข้าร่วมเป็นสมาชิกสภามวยโลก และได้รับเลือกจากเสียงข้างมากให้เป็นประธานสภามวยโลกมาตั้งแต่วันที่ 5 ธันวาคม ค.ศ. 1975 และได้รับเลือกอีกหลายสมัยต่อเนื่องมายาวนานกว่า 30 ปี โฮเซ่ สุไลมาน ได้ชื่อว่าเป็นผู้ที่ทำให้สถาบันสภามวยโลกได้รับการยอมรับและประสบความสำเร็จในแวดวงมวยสากลระดับโลก โดยติดต่อกับโปรโมเตอร์ที่มีชื่อเสียงต่าง ๆ อาทิ ดอน คิง, บ๊อบ อารัม นำนักมวยในสังกัดขึ้นชกในสังกัดสถาบันจนได้เป็นแชมป์โลกหลายคน อาทิ มูฮัมหมัด อาลี, ไมค์ ไทสัน, ซัลวาดอร์ ซันเชซ, อาเลกซิส อาร์กูเอโย, ฮูลิโอ ซีซาร์ ชาเวซ, ริคาร์โด โลเปซ เป็นต้น ซึ่งนักเหล่านี้เป็นนักมวยระดับชั้นแนวหน้าของแต่ละพิกัดและนับได้ว่าเป็นซูเปอร์สตาร์ของวงการมวยระดับโลก นอกจากนี้แล้ว สุไลมานยังเป็นบุคคลที่ริเริ่มแนวคิดใหม่ ๆ ให้แก่วงการมวยระดับโลก เช่น การให้มีการชิงแชมป์เฉพาะกาล ในกรณีที่แชมป์โลกตัวจริงไม่อาจชกเคลื่อนไหวได้, การให้มีสถาบันมวยสำหรับนักมวยหญิง, การชิงแชมป์เข็มขัดเงิน, การสนับสนุนมวยไทยในสถาบัน WBC และการให้เปิดเผยคะแนนเมื่อครบ 4 ยก เพื่อความโปร่งใสในการแข่งขัน เป็นต้น ชีวิตส่วนตัว นอกจากในแวดวงมวยสากลแล้ว โฮเซ่ สุไลมาน ยังมีธุรกิจเกี่ยวกับยารักษาโรคที่ประเทศเม็กซิโกอีกด้วย เป็นบุคคลที่สามารถใช้ภาษาสเปน, อังกฤษ, อาหรับ, ฝรั่งเศส, อิตาเลียน และโปรตุเกส ได้เป็นอย่างดี และได้รับการบรรจุชื่อลงในหอเกียรติยศของ WBC ในกลางปี ค.ศ. 2010 สำหรับประเทศไทยแล้ว โฮเซ่ สุไลมาน มีความสัมพันธ์เป็นอย่างดี โดยได้เคยเดินมายังประเทศไทยหลายครั้ง รวมทั้งได้เคยเข้าเฝ้าฯ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช ฯ สยามมกุฎราชกุมาร เพื่อทูลเกล้าฯถวายเหรียญรางวัลเกียรติยศของสถาบัน ในฐานะที่ทรงสนับสนุนวงการมวยมาอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งเคยได้รับปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์จากมหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ในฐานะบุคคลที่ประสบความสำเร็จในวงการกีฬา ซึ่งสุไลมานมีแนวความคิดที่จะผลิตหลักสูตรมวยไทยลงในหลักสูตรทางการศึกษาระดับปริญญาตรี เป็นศาสตร์การต่อสู้ป้องกันตัวในสถาบันอุดมศึกษาทั้งของไทยและในประเทศเม็กซิโก อีกด้วย โฮเซ่ สุไลมาน เสียชีวิตด้วยวัย 82 ปี ที่ศูนย์การแพทย์โรนัลด์ เรแกน ยูซีแอลเอ ในลอสแอนเจลิส สหรัฐอเมริกา ด้วยโรคหัวใจที่ป่วยมานาน เมื่อวันที่ 16 มกราคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และโฮเซ ซูไลมัง · ดูเพิ่มเติม »

โทรทัศน์ในประเทศไทย

ทรทัศน์ในประเทศไทย ออกอากาศทางภาคพื้นดินเป็นช่องทางหลัก โดยแพร่ภาพผ่านคลื่นวิทยุ ซึ่งระยะแรกที่ออกอากาศ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2498 เริ่มใช้ย่านความถี่สูงมาก (Very High Frequency; VHF) ซึ่งประกอบด้วย ช่วงความถี่ต่ำ (low band) คือช่องสัญญาณที่ 2-4 และช่วงความถี่สูง (high band) คือช่องสัญญาณที่ 5-12 จนกระทั่งปี พ.ศ. 2538 จึงเริ่มใช้ย่านความถี่สูงยิ่ง (Ultra High Frequency; UHF) คือช่องสัญญาณที่ 26-60 (ช่วงความถี่ต่ำ (low band) คือช่องสัญญาณที่ 26-34 และช่วงความถี่สูง (high band) คือช่องสัญญาณที่ 35-60) ทั้งนี้ ตั้งแต่เริ่มออกอากาศ จนถึง พ.ศ. 2517 ใช้ระบบสัญญาณแอนะล็อก ในการส่งแพร่ภาพขาวดำ 525 เส้นต่อภาพ 30 ภาพต่อวินาที (National Television System Committee; NTSC) ซึ่งกำหนดขึ้นโดย คณะกรรมการสื่อสารแห่งชาติสหรัฐอเมริกา (Federal Communications Committee; FCC ปัจจุบันเปลี่ยนชื่อเต็มเป็น Federal Communications Commission) ต่อมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2510 จึงเริ่มนำระบบการส่งแพร่ภาพ 625 เส้นต่อภาพ 25 ภาพต่อวินาที (Phase Alternating Line; PAL) ซึ่งกำหนดขึ้นโดย คณะกรรมการที่ปรึกษานานาชาติว่าด้วยคลื่นวิทยุ (Consultative Committee on International Radio; CCIR ปัจจุบันคือ ภาควิทยุคมนาคมโดยสหภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศ หรือ International Telecommunication Union Radiocommunication Sector; ITU-R) เข้ามาใช้ในประเทศไทย และเริ่มออกอากาศด้วยภาพสี ภายใต้ระบบดังกล่าวตั้งแต่ปี พ.ศ. 2513 จนถึงปัจจุบัน นอกจากนี้ ยังมีบริการโทรทัศน์แห่งชาติ ภายใต้กำกับของกรมประชาสัมพันธ์ เริ่มจากส่วนภูมิภาคตั้งแต่ปี พ.ศ. 2502 และเริ่มดำเนินการในส่วนกลางตั้งแต่ปี พ.ศ. 2528 จนถึงปัจจุบัน จากนั้นก็เริ่มนำระบบดิจิทัล เข้ามาใช้ในกระบวนการผลิตรายการ และควบคุมการออกอากาศ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2540 และนำมาใช้กับกระบวนการส่งแพร่ภาพ ผ่านโครงข่ายอุปกรณ์รวมส่งสัญญาณ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2556 จนถึงปัจจุบัน โดยจะยุติการออกอากาศด้วยสัญญาณแอนะล็อก ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2563 เป็นต้นไป ส่วนระบบการออกอากาศด้วยช่องทางอื่น ซึ่งนำเข้ามาใช้ในประเทศไทย ประกอบด้วย บริการกระจายสัญญาณแบบหลายจุดหลายช่อง (Multichannel multipoint distribution service; MMDS) ระหว่างปี พ.ศ. 2532-2556, ผ่านคลื่นวิทยุไมโครเวฟ ระหว่างปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และโทรทัศน์ในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ไชยศิริ เรืองกาญจนเศรษฐ์

นายไชยศิริ เรืองกาญจนเศรษฐ์ (14 มกราคม พ.ศ. 2474 - 2 มิถุนายน พ.ศ. 2539) อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี (3 สมัย) และ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุบลราชธานี 5 สมั.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และไชยศิริ เรืองกาญจนเศรษฐ์ · ดูเพิ่มเติม »

ไพรัช สังวริบุตร

รัช สังวริบุตร (เกิด 27 กันยายน พ.ศ. 2474) ชื่อเล่น หรั่ง เป็นผู้กำกับและผู้จัดละครโทรทัศน์ชาวไทย ได้รับเชิดชูเกียรติเป็น ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง ในปี พ.ศ. 2547.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และไพรัช สังวริบุตร · ดูเพิ่มเติม »

ไกรสร นันทมานพ

กรสร นันทมานพ อดีตนักการเมืองที่มีชื่อเสียงของจังหวัดฉะเชิงเทรา และอดีตกำนันในพื้นที่ เป็นที่รู้จักกันดีของผู้คนในท้องถิ่นในชื่อ กำนันไกรสร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และไกรสร นันทมานพ · ดูเพิ่มเติม »

ไคลด์ ทอมบอ

ทอมบอในไร่นาของครอบครัวกับกล้องโทรทรรศน์ทำเอง ไคลด์ วิลเลียม ทอมบอ (Clyde William Tombaugh; 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2449 – 17 มกราคม พ.ศ. 2540) นักดาราศาสตร์ชาวอเมริกันผู้ค้นพบดาวเคราะห์แคระพลูโตเมื่อ พ.ศ. 2473 ทอมบอ เกิดที่เมืองสเตรเตอร์ รัฐอิลลินอยส์ ครอบครัวยากจนเกินกว่าที่จะส่งทอมบอ เข้าศึกษาในมหาวิทยาลัยได้ หลังจากครอยครัวย้ายไปเมืองอยู่ที่รัฐแคนซัส ทอมบอ ได้สร้างกล้องโทรทัศน์ขึ้นด้วยตนเองเพื่อใช้ส่องดูดาว จากการส่งภาพวาดดาวพฤหัสและดาวอังคารที่เขาศึกษาจากกล้องทำเองไปให้สถาบันหอดูดาวโลเวลล์ดู ทอมบอจึงได้งานเป็นผู้ช่วยนักดาราศาสตร์ที่นั่นแลได้ค้นพบดาวพลูโตดังกล่าวเมื่อ..

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และไคลด์ ทอมบอ · ดูเพิ่มเติม »

เชิด ทรงศรี

ทรงศรี เป็นชื่อและนามสกุลจริงที่ใช้ในการกำกับภาพยนตร์ทุกเรื่อง ส่วนนามปากกา ธม ธาตรี ใช้ในงานเขียนนวนิยายและเขียนบทภาพยนตร์ เป็นผู้กำกับภาพยนตร์แนวหน้าชาวไทย มีผลงานกำกับภาพยนตร์ที่มีชื่อเสียงหลายเรื่อง และได้รับรางวัลมากมาย เชิด ทรงศรีเกิดเมื่อวันที่ 20 กันยายน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และเชิด ทรงศรี · ดูเพิ่มเติม »

เบียร์ไทเกอร์

ียร์ไทเกอร์ (Tiger beer) เป็นเบียร์ของสิงคโปร์ ผลิตและจำหน่ายโดยบริษัท เอเชียแปซิฟิกบริวเวอรีส์ โดยบริษัทก่อตั้งในปี พ.ศ. 2474 (ค.ศ. 1931) โดยผู้ผลิตเบียร์ชื่อดังของเนเธอร์แลนด์คือไฮเนเก้น ร่วมกับบริษัท Fraser & Neave ก่อตั้งบริษัทร่วมทุนชื่อ Malayan Breweries Limited (ขณะนี้คือบริษัท Asia Pacific Breweries (APB) ผู้ผลิตและทำตลาดเบียร์ไทเกอร์) ซึ่งปัจจุบันบริษัทนี้มีการขายเบียร์ใน 9 ประเทศในเขตเอเชียแปซิฟิก และอยู่ในตลาดหุ้นของสิงคโปร์ และในปี 2004 APB ได้เริ่มผลิตเบียร์ไทเกอร์ในไทย ในอดีตเป็นผู้สนับสนุนหลักของการแข่งขันฟุตบอลไทเกอร์คัพ ไทเกอร์เบียร์ใช้กลยุทธ์ในการโฆษณาโดยนำเสนอภาพลักษณ์ความเป็นผู้สนับสนุนงานศิลปะและดนตรี ด้วยการจัดกิจกรรม Tiger Translate มาอย่างต่อเนื่องทั้งในตลาดต่างประเทศและในประเท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และเบียร์ไทเกอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เพลงชาติไทย

ลงชาติไทย เป็นชื่อเพลงชาติของสยามและประเทศไทย ประพันธ์ทำนองโดย พระเจนดุริยางค์ ในช่วงหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง เมื่อปี พ.ศ. 2475 คำร้องฉบับแรกสุดโดยขุนวิจิตรมาตรา ซึ่งแต่งขึ้นภายหลังในปีเดียวกัน ต่อมาได้มีการแก้ไขเพิ่มเติมเนื้อร้องอีกหลายครั้งและได้เปลี่ยนมาใช้เนื้อร้องฉบับปัจจุบันเมื่อ พ.ศ. 2482.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และเพลงชาติไทย · ดูเพิ่มเติม »

เพลงลูกกรุง

ลงลูกกรุง เป็นเพลงไทยสากลประเภทหนึ่ง โดยเป็นเพลงที่บอกเล่า ถ่ายทอด ความรู้สึกของสังคม และคนเมืองหลวง ตลอดจนเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น การถ่ายทอดอารมณ์ การขับร้อง น้ำเสียง ของกลุ่มนักร้อง นักแต่งเพลง และนักดนตรีจะมีรูปแบบ ประณีต ละเอียดอ่อน ออกมานุ่มนวล เนื้อร้องจะมีลักษณะเป็นร้อยแก้ว ร้อยกรอง มีความหมายสลับซับซ้อน ยอกย้อน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และเพลงลูกกรุง · ดูเพิ่มเติม »

เกรียงไกร อัตตะนันทน์

อมพลเกรียงไกร อัตตะนันทน์ อดีตผู้บังคับกองพันทหารอาสาสมัครของไทยชุดแรกในสงครามเกาหลี อดีตผู้บังคับการกรมทหารราบที่ 1 มหาดเล็กรักษาพระองค์ อดีตผู้บัญชาการกองพลที่ 1 รักษาพระองค์ และอดีตแม่ทัพภาคที่ 1 ท่านเป็นนายทหารที่ได้รับพระราชทานยศจอมพลเป็นคนสุดท้ายของกองทัพไทย ก่อนที่จะมีการระงับการพระราชทานยศชั้นดังกล่าวในช่วงหลังเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และเกรียงไกร อัตตะนันทน์ · ดูเพิ่มเติม »

เกรทโอลด์วัน

กรทโอลด์วัน หรือ เฒ่าผู้ยิ่งใหญ่ เป็นศัพท์ซึ่งใช้เรียกสิ่งสมมุติในวรรณกรรมกลุ่มตำนานคธูลู ซึ่งมีที่มาจากบทประพันธ์ของเอช. พี. เลิฟคราฟท์ แม้เกรทโอลด์วันที่มีชื่อเสียงที่สุดจะมาจากผลงานของเลิฟคราฟท์เอง แต่ส่วนใหญ่แล้วจะเป็นตัวละครจากงานเขียนของนักประพันธ์คนอื่น โดยรวมแล้ว เกรทโอลด์วัน (ซึ่งบางครั้งถูกเรียกว่า โอลด์วัน โดยนักประพันธ์) มีอำนาจที่ด้อยกว่าเอาเตอร์ก็อด แต่ก็ได้รับการบูชาจากลัทธิต่างๆทั้งที่เป็นมนุษย์และอมนุษ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และเกรทโอลด์วัน · ดูเพิ่มเติม »

เมนาเฮม เบกิน

''(1978)'' เมนาเฮม เบกิน เมนาเฮม วูล์โฟวิช เบกิน (Menachem Wolfovich Begin - 16 สิงหาคม พ.ศ. 2456 - 9 มีนาคม พ.ศ. 2535) หัวหน้าองค์กรลับใต้ดิน "อิรกูน" ของลัทธิไซออนชาวโปแลนด์เชื้อสายยิว ผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ นายกรัฐมนตรีคนแรกของอิสราเอลที่สังกัดพรรคลิคุด (พ.ศ. 2520-2526).

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และเมนาเฮม เบกิน · ดูเพิ่มเติม »

เลโอนิด เบรจเนฟ

ลโอนิด อิลลิช เบรจเนฟ (Леонид Ильич Брежнев; Leonid Illyich Brezhnev; 19 ธันวาคม 2449 – 10 ธันวาคม 2525) เป็นเลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียตและประธานาธิบดีโซเวียตคนที่ 8 ระหว่างสงครามเย็น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และเลโอนิด เบรจเนฟ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเวลาของยุคใหม่

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และเส้นเวลาของยุคใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเวลาของคณิตศาสตร์

้นเวลาของคณิตศาสตร์บริสุทธิ์และคณิตศาสตร์ประยุกต์ (timeline of mathematics).

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และเส้นเวลาของคณิตศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

เอ็นเอชเค

มาคมแพร่ภาพกระจายเสียงแห่งประเทศญี่ปุ่น หรือ NHK เป็นองค์กรแพร่ภาพกระจายเสียงสาธารณะของของรัฐบาลญี่ปุ่น มีสถานะเป็นรัฐวิสาหกิจที่อาศัยรายได้จากค่าธรรมเนียมใบอนุญาตรับชมโทรทัศน์จากผู้ชม เอ็นเอชเคมีบริการโทรทัศน์ภาคพื้นดินสองช่อง (ช่องทั่วไปและช่องเพื่อการศึกษา), โทรทัศน์ดาวเทียมอีกสองช่อง (ช่อง BS-1 และ BS Premium) และเครือข่ายวิทยุกระจายเสียงอีก 3 สถานีในญี่ปุ่น นอกจากนี้ เอ็นเอ็ชเคยังมีโทรทัศน์ช่องสากลที่มีชื่อว่า NHK World ประกอบด้วย บริการโทรทัศน์จำนวน 2 ช่องรายการ และบริการวิทยุคลื่นสั้น 1 สถานี นอกจากนี้ ยังมีเว็บไซต์เอ็นเอชเค ที่ให้บริการข้อมูลข่าวสาร และรายการต่างๆ ซึ่งเป็นอีกบริการหนึ่งเช่นกัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และเอ็นเอชเค · ดูเพิ่มเติม »

เฮลซิงกิ

ลซิงกิ() (Helsingfors) เป็นเมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดของประเทศฟินแลนด์ ตั้งอยู่ทางใต้ของประเทศ ริมชายฝั่งอ่าวฟินแลนด์ ตัวเมืองมีประชากรประมาณ 600,000 คน เฮลซิงกิอยู่ติดกับเมืองวันตาและเอสโปซึ่งรวมตั้งเป็นเขตเมืองหลวงหรือมหานครเฮลซิงกิ มีประชากรเกือบหนึ่งล้านคน และถ้านับเขตที่อยู่อาศัยในปริมณฑลด้วยจะมีประชากรมากกว่า 1.2 ล้านคน เฮลซิงฟอร์สเป็นชื่อเมืองดั้งเดิม และยังคงเป็นชื่อเมืองในภาษาสวีเดนในปัจจุบัน ในอดีตเป็นชื่อที่ใช้ในระดับนานาชาติด้ว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และเฮลซิงกิ · ดูเพิ่มเติม »

เจมส์ เอิร์ล โจนส์

มส์ เอิร์ล โจนส์ (James Earl Jones) (17 มกราคม ค.ศ. 1931 -) เป็นนักแสดงชาวอเมริกัน มีผลงานทั้งการแสดงภาพยนตร์และละครเวทีมากว่า 50 ปี เป็นที่รู้จักจากเสียงเบสทุ้มต่ำเป็นเอกลักษณ์ โดยเฉพาะบทบาทการเป็นผู้พากย์เสียงดาร์ธ เวเดอร์ในสตาร์ วอร์ส เจมส์ เอิร์ล โจนส์เป็นชาวแอฟริกันอเมริกัน มีเชื้อสายไอริชและอินเดียนแดง มีผลงานแสดงภาพยนตร์ครั้งแรกในปี ค.ศ. 1964 จากภาพยนตร์ของสแตนลีย์ คูบริกเรื่อง Dr. Strangelove or: How I Learned to Stop Worrying and Love the Bomb เจมส์ เอิร์ล โจนส์ได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลออสการ์ในฐานะนักแสดงนำ เมื่อ ค.ศ. 1971 จากบทบาทในเรื่อง The Great White Hope เป็นนักแสดงผิวสีคนที่สองที่ได้รับการเสนอชื่อ ต่อจาก ซิดนีย์ ปอยเตียร์ จากเรื่อง The Defiant Ones (ค.ศ. 1958) และ Lilies of the Field (ค.ศ. 1963).

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และเจมส์ เอิร์ล โจนส์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายชาลส์ เอ็ดเวิร์ด ดยุกแห่งซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา

้าชายชาลส์ เอ็ดเวิร์ด ดยุกแห่งซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา หรือพระนามเต็ม เลโอโพลด์ ชาร์ลส์ เอ็ดเวิร์ด จอร์จ อัลเบิร์ต (Charles Edward, Duke of Saxe-Coburg and Gotha; Carl Eduard, Herzog von Sachsen-Coburg und Gotha; 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2427 - 6 มีนาคม พ.ศ. 2497) ทรงเป็นดยุคแห่งแซ็กซ์-โคบูร์กและก็อตธา ในประเทศเยอรมนี พระองค์ที่สี่และสุดท้าย (30 กรกฎาคม พ.ศ. 2443 - 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2461) และในฐานะพระราชนัดดาในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย ผ่านทางสายพระราชโอรส พระองค์ทรงเป็นเจ้าชายแห่งสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์ และยังทรงดำรงพระอิสริยยศเป็นดยุคแห่งอัลบานีอีกด้วย เจ้าชายชาร์ลส์ เอ็ดเวิร์ดทรงเป็นบุคคลที่ก่อให้เกิดความขัดแย้งในประเทศอังกฤษ เนื่องจากการมีสถานภาพเป็นศัตรูในฐานะที่ทรงเป็นดยุคครองรัฐแห่งแซ็กซ์-โคบูร์กและก็อตธา อันเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิเยอรมันในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 1 พระองค์ทรงถูกถอดถอนบรรดาศักดิ์ขุนนางและเครื่องราชอิสริยาภรณ์ต่างๆ ของอังกฤษเมื่อปี พ.ศ. 2462 ในปี พ.ศ. 2461 พระองค์ทรงถูกบังคับให้สละราชสมบัติ และต่อมาได้ทรงเข้าร่วมพรรคนาซีเยอรมัน ยังความเสื่อมเสียที่ใหญ่หลวงมาให้แก่เจ้าหญิงอลิซ เค้านท์เตสแห่งแอธโลน ซึ่งเป็นพระภคินีเพียงพระองค์เดียว สมเด็จพระราชินีแมรี่ พระภคินีในพระเชษฐภรรดา รวมถึงสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 5 ซึ่งเป็นพระญาติชั้นที่หนึ่งด้ว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และเจ้าชายชาลส์ เอ็ดเวิร์ด ดยุกแห่งซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายนิโคลัสแห่งโรมาเนีย

้าชายนิโคลัสแห่งโรมาเนีย(ภาษาโรมาเนีย:Nicolae de România,3 สิงหาคม พ.ศ. 2446 - 9 มิถุนายน พ.ศ. 2521)เป็นพระโอรสพระองค์ที่ 2 ของสมเด็จพระราชาธิบดีเฟอร์ดินานด์ที่ 1 แห่งโรมาเนียกับพระราชินีมารีแห่งโรมาเนี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และเจ้าชายนิโคลัสแห่งโรมาเนีย · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายแอนดรูว์แห่งกรีซและเดนมาร์ก

้าชายแอนดรูว์ แห่งกรีซและเดนมาร์ก (20 มกราคม พ.ศ. 2425 - 3 ธันวาคม พ.ศ. 2487) พระราชโอรสพระองค์ที่สี่ในสมเด็จพระราชาธิบดีจอร์จที่ 1 แห่งกรีซ และ สมเด็จพระราชินีโอลก้าแห่งกรีซ ทรงเป็นสมาชิกของราชวงศ์ชเลสวิก-โฮลชไตน์-ซอนเดอร์บูร์ก-กลึกซ์เต็นบูร์ก เป็นพระชนกในเจ้าฟ้าชายฟิลิป ดยุคแห่งเอดินเบอระ พระราชสวามีในสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และเจ้าชายแอนดรูว์แห่งกรีซและเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา)

มหาอำมาตย์เอก เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา) (30 ตุลาคม พ.ศ. 2428 - 25 กันยายน พ.ศ. 2519) ป.., ม.ป.., ม.ว.ม., ร..ม. (ศ.) ขุนนาง 5 แผ่นดิน อดีตประธานศาลฎีกา เสนาบดีกระทรวงยุติธรรม และรัฐมนตรีหลายกระทรวง เคยดำรงตำแหน่ง ประธานรัฐสภา และประธานสภาผู้แทนราษฎร ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่งองคมนตรี ประธานองคมนตรี และเป็นคนสุดท้ายที่ได้รับสถาปนาเป็นเจ้าพระยา ภายหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ มีบทบาทในคณะรัฐมนตรีหลายคณะ โดยดำรงตำแหน่งเป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม กระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงสาธารณสุข และ กระทรวงการคลัง ภายหลังพ้นภารกิจทางการเมืองแล้ว ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่งองคมนตรี และเคยดำรงตำแหน่ง ประธานองคมนตรี ในรัชกาลที่ 9 นอกจากได้รับราชการและทำงานด้านการเมือง เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศยังมีความสำคัญกับวงการประกันชีวิตของไทย โดยเมื่อ ปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และเจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยาสุรศักดิ์มนตรี (เจิม แสง-ชูโต)

อมพล มหาอำมาตย์เอก เจ้าพระยาสุรศักดิ์มนตรี (เจิม แสง-ชูโต) (28 มีนาคม พ.ศ. 2394 - 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2474) อดีตเสนาบดีกระทรวงเกษตรพาณิชการ และผู้บัญชาการกรมทหารบก จอมพลฉแรม ทับพุ่ม เป็นหลานปราบกฎบทเมืองอ่างทองโดยคนเมืองอินทบุรี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และเจ้าพระยาสุรศักดิ์มนตรี (เจิม แสง-ชูโต) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพงศ์ธาดา ณ ลำพูน

้าพงศ์ธาดา ณ ลำพูน (พ.ศ. 2449 - 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2538) เจ้านายฝ่ายเหนือ ราชบุตรองค์โตใน เจ้าจักรคำขจรศักดิ์ เจ้าผู้ครองนครลำพูน องค์สุดท้าย กับแม่เจ้าขานแก้วขจรศักดิ์ เจ้าพงศ์ธาดา เป็นผู้เป็นพุทธบริษัท ทำนุบำรุงพรพพุทธศาสนาตลอด และสอนให้บุตรทุกคนประพฤติดี ปฏิบัติชอบ เมื่อครั้งไปรับราชการที่จังหวัดนครปฐม เจ้าพงศ์ธาดา มีพี่น้องร่วมบิดามารดา 4 ท่าน คือ เจ้าลำเจียก ณ ลำพูน เจ้าวรรณรา ณ ลำพูน เจ้าพงศ์ธาดา ณ ลำพูน และเจ้ารัทธาธร ณ ลำพูน และมีน้องต่างมาดา จำนวน 4 คน คือ เจ้าประกายคำ ณ ลำพูน เจ้าสุริยา ณ ลำพูน เจ้าวรทัศน์ ณ ลำพูน และเจ้าพัฒนา ณ ลำพูน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และเจ้าพงศ์ธาดา ณ ลำพูน · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าราชบุตร (หมอกฟ้า ณ น่าน)

รองอำมาตย์ตรี เจ้าราชบุตร (น้อยหมอกฟ้า ณ น่าน) เป็นราชโอรสองค์ที่ 8 ในเจ้ามหาพรหมสุรธาดา เจ้าผู้ครองนครน่าน กับแม่เจ้าศรีโสภา ณ น่าน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และเจ้าราชบุตร (หมอกฟ้า ณ น่าน) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงมารี-โจเซแห่งเบลเยียม

้าหญิงมารี-โจเซแห่งเบลเยียม (HRH Princess Marie-José of Belgium; มารี-โจเซ ชาร์ล็อต โซฟี อาเมลี อ็องเรียต กาเบรียลล์; 4 สิงหาคม พ.ศ. 2449 — 27 มกราคม พ.ศ. 2544) ทรงเป็นสมเด็จพระราชินีพระองค์สุดท้ายของประเทศอิตาลี ในช่วงการดำรงพระอิสริยยศสมเด็จพระราชินีมเหสีเป็นเวลาสามสิบห้าวันในเดือนพฤษภาคม ทำให้มีพระสมัญญาว่า "ราชินีแห่งเดือนพฤษภาคม" (The May Queen) เจ้าหญิงมารี-โจเซประสูติ ณ เมืองออสเตนด์ ประเทศเบลเยียม โดยเป็นพระราชธิดาพระองค์เล็กและพระองค์เดียวในสมเด็จพระราชาธิบดีอัลแบรต์ที่ 1 แห่งเบลเยียม กับ เจ้าหญิงเอลิซาเบธแห่งบาวาเรีย พระมเหสี เมื่อแรกประสูติพระองค์ทรงดำรงพระอิสริยยศเจ้าหญิงแห่งแซ็กซ์-โคบูร์กและก็อตธา และดัชเชสแห่งแซ็กโซนี จนกระทั่งการสิ้นสุดของสงครามโลกครั้งที่ 1.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และเจ้าหญิงมารี-โจเซแห่งเบลเยียม · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงมาเรียแห่งโรมาเนีย (1870-1874)

้าหญิงมาเรียแห่งโรมาเนีย (1870-1874).

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และเจ้าหญิงมาเรียแห่งโรมาเนีย (1870-1874) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงลูอีส พระราชกุมารี

้าหญิงลูอีส พระราชกุมารี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และเจ้าหญิงลูอีส พระราชกุมารี · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงอลิซ เคาน์เตสแห่งแอธโลน

้าหญิงอลิซ เค้านท์เตสแห่งแอธโลน หรือ อลิซ แมรี่ วิกตอเรีย ออกัสตา พอลีน หรือพระอิสริยยศแรกเดิม เจ้าหญิงอลิซแห่งออลบานี (Princess Alice, Countess of Athlone, VA, GCVO, GBE; พระอิสริยยศแรกเดิม Princess Alice of Albany; 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2426 - 3 มกราคม พ.ศ. 2524) ทรงเป็นสมาชิกพระองค์หนึ่งของพระราชวงศ์อังกฤษ และพระราชนัดดาของสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย พระองค์ทรงมีจุดเด่นที่ยังคงเป็นเจ้าหญิงในเชื้อพระวงศ์ที่มีพระชนม์ชีพยืนยาวที่สุดของพระราชวงศ์อังกฤษและพระราชนัดดาที่ทรงพระชนม์ชีพอยู่เป็นองค์สุดท้ายในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย อีกทั้งยังทรงดำรงพระอิสริยยศเป็นเจ้าหญิงแห่งแซ็กซ์-โคบูร์กและก็อตธา และดัชเชสแห่งแซ็กโซนี พร้อมกับทั้งเจ้าหญิงแห่งเท็คจากการอภิเษกสมรสจนกระทั่งถึงปี พ.ศ. 2460 เมื่อพระองค์ต้องทรงสละฐานันดรศักดิ์ทั้งหมดตามพระบรมราชโองการของสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 5.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และเจ้าหญิงอลิซ เคาน์เตสแห่งแอธโลน · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงอีเลียนาแห่งโรมาเนีย

้าหญิงอีเลียนาแห่งโรมาเนีย(5 มกราคม พ.ศ. 2452 - 21 มกราคม พ.ศ. 2534) เป็นพระธิดาพระองค์สุดท้องของสมเด็จพระราชาธิบดีเฟอร์ดินานด์ที่ 1 แห่งโรมาเนียกับพระมเหสีคือ สมเด็จพระราชินีมารีแห่งโรมาเนีย หลังจากทรงอภิเษกสมรสทรงเป็นที่รู้จักในพระนามว่า เจ้าฟ้าหญิงผู้รุ่งโรจน์อีเลียนา อาร์คดัสเชสแห่งออสเตรียและเจ้าหญิงแห่งฮังการี โครเอเชียและโบฮีเมีย เจ้าหญิงแห่งโรมาเนี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และเจ้าหญิงอีเลียนาแห่งโรมาเนีย · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงอเล็กซานดราแห่งซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา

้าหญิงอเล็กซานดราแห่งเอดินบะระและซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา หรือ อเล็กซานดรา หลุยส์ โอลกา วิกตอเรีย (HRH Princess Alexandra of Edinburgh and Saxe-Coburg and Gotha; 1 กันยายน พ.ศ. 2421 - 16 เมษายน พ.ศ. 2485) ทรงเป็นสมาชิกพระองค์หนึ่งในพระราชวงศ์อังกฤษ โดยเป็นพระราชนัดดาองค์หนึ่งในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และเจ้าหญิงอเล็กซานดราแห่งซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงธีโอโดราแห่งกรีซและเดนมาร์ก

้าหญิงธีโอโดราทรงอภิเษกสมรส กับ เบิร์ดฮูดมาร์เกรฟแห่งบาเดิน เมื่อวันที่ 17 สิงหาคม พ.ศ. 2474 ณ บาเดิน-เวือร์ทเทมแบร์ก เยอรมนี โดยได้รับพระราชทานพระอิสริยยศเป็น มาร์เกรฟแห่งบาเดิน โดยทรงมีพระบุตรดังนี้.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และเจ้าหญิงธีโอโดราแห่งกรีซและเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงแมรี พระราชกุมารีและเคาน์เตสแห่งแฮร์วูด

้าหญิงแมรี พระราชกุมารี (Princess Mary, Princess Royal; วิกตอเรีย อเล็กซานดรา อลิซ แมรี; 25 เมษายน พ.ศ. 2440 - 28 มีนาคม พ.ศ. 2508) หลังจากอภิเษกสมรสคือ เจ้าหญิงแมรี เคาน์เตสแห่งแฮร์วูด (Princess Mary, Countess of Harewood) ทรงเป็นสมาชิกองค์หนึ่งในพระราชวงศ์อังกฤษ และพระวรราชกุมารีพระองค์ที่หกตั้งแต่เริ่มใช้พระอิสริยยศนี้ พระองค์ทรงดำรงพระอิสริยยศเจ้าหญิงในชั้นพระองค์เจ้าตั้งแต่แรกประสูติในฐานะพระราชปนัดดาในพระประมุขแห่งอังกฤษ และต่อมาในชั้นเจ้าฟ้าในฐานะพระราชนัดดาและพระราชธิดาในพระประมุขแห่งอังกฤษ และหลังจากการอภิเษกสมรสพระองค์ทรงดำรงพระอิสริยยศเป็น เคาน์เตสแห่งแฮร์วู.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และเจ้าหญิงแมรี พระราชกุมารีและเคาน์เตสแห่งแฮร์วูด · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงเบียทริซแห่งสเปน

้าหญิงเบียทริซแห่งสเปน (Infanta Beatriz of Spain; เบียทริซ อิซาเบล เฟเดริกา อัลฟอนซา เอวเคเนีย คริสตินา มาเรีย เทเรซา เบียนเบนิดา ลาดิสลา เด บอร์บอน อี บัตเต็นแบร์ก; Beatriz Isabel Federica Alfonsa Eugenia Cristina Maria Teresa Bienvenida Ladisla de Borbon y Battenberg; ประสูติ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2452 สิ้นพระชนม์ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2545) เป็นพระราชธิดาในพระเจ้าอัลฟองโซที่ 13 แห่งสเปน และ เจ้าหญิงวิกตอเรีย ยูจีนีแห่งแบ็ตเต็นเบิร์ก และพระปิตุจฉาในสมเด็จพระราชาธิบดีฆวน คาร์ลอสที่ 1 แห่งสเปน อีกทั้งยังทรงเป็นหนึ่งในพระราชปนัดดาที่มีพระชนม์ชีพยืนยาวของสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และเจ้าหญิงเบียทริซแห่งสเปน · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงเบียทริซแห่งซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา

้าหญิงเบียทริซแห่งเอดินเบอระและแซ็กซ์-โคบูร์กและก็อตธา เจ้าหญิงเบียทริซแห่งเอดินเบอระและแซ็กซ์-โคบูร์กและก็อตธา หรือ เบียทริซ เลโอโพลดีน วิกตอเรีย (20 เมษายน พ.ศ. 2427 - 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2509) ทรงเป็นสมาชิกพระองค์หนึ่งในพระราชวงศ์อังกฤษ โดยเป็นพระราชนัดดาในสมเด็จพระบรมราชินีนาถวิกตอเรีย และต่อมาได้อภิเษกสมรสไปสู่พระราชวงศ์สเปน และเป็นพระชายาในเจ้าชายอัลฟองโซแห่งออร์เลอ็อง-บอร์บอน เจ้าชายแห่งสเปน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และเจ้าหญิงเบียทริซแห่งซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจอมมารดาเหม ในรัชกาลที่ 5

้าจอมมารดาเหม อมาตยกุล (21 กันยายน พ.ศ. 2407 - 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2474) เจ้าจอมมารดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นพระมารดาของพระองค์เจ้าชายหนึ่งพระองค์ (ไม่ประสูติเป็นพระองค์) และพระองค์เจ้าหญิงเหมวดี ท่านเป็นผู้รักการดนตรี และได้สนิทสนมกับพระราชชายา เจ้าดารารัศมีเป็นพิเศษ เจ้าจอมมารดาเหมเป็นธิดาคนโตของพระยาธรรมสารนิติวิชิตภักดี (พลับ อมาตยกุล)และท่านขรัวยายแสง เกิดในสมัยรัชกาลที่ 4 ที่บ้านหน้าวัดราชบูรณะ (วัดเลียบ) เมื่อวันพุธ แรม 6 ค่ำ เดือน 10 ปีชวด ตรงกับวันที่ 21 กันยายน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และเจ้าจอมมารดาเหม ในรัชกาลที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าไชยสงคราม (สมพมิตร ณ เชียงใหม่)

นายพันตำรวจเอก เจ้าไชยสงคราม (สมพมิตร ณ เชียงใหม่) (200px) (พ.ศ. 2403-พ.ศ. 2473) เจ้านายฝ่ายเหนือ ดำรงตำแหน่งผู้บัญชาการตำรวจมณฑลพายัพ สืบสายโลหิตจากพระยาธรรมลังกา ผู้จับดาบตะลุยทั่วสิบทิศ เพื่อความสงบสุขของมหาชนชาวนครเชียงใหม่ เป็นเจ้านายมือปราบนาม เจ้าไชยสงคราม ซึ่งโจรผู้ร้ายสยองเพียงได้ยินชื่อ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และเจ้าไชยสงคราม (สมพมิตร ณ เชียงใหม่) · ดูเพิ่มเติม »

เขมรแดง

ธงแดงรูปค้อนเคียวของพรรคคอมมิวนิสต์กัมพูชา (ต่อมาคือพรรคกัมพูชาประชาธิปไตย) เขมรแดง (เขมร: ខ្មែរក្រហម; แขฺมรกฺรหม; อ่านว่า คแมร์กรอฮอม /ฝรั่งเศสและอังกฤษ: Khmer Rouge) หรือที่รู้จักกันในชื่อ “กองทัพแห่งชาติกัมพูชาประชาธิปไตย” (Armée nationale du Kampuchéa démocratique) คือ กองกำลังคอมมิวนิสต์กัมพูชา ที่เคยปกครองราชอาณาจักรกัมพูชา ซึ่งในขณะนั้นถูกเปลี่ยนชื่อเป็นกัมพูชาประชาธิปไตย ตั้งแต่ พ.ศ. 2518 ถึง พ.ศ. 2522 เขมรแดงถือเป็นตัวแทนความสำเร็จเชิงอำนาจของพรรคการเมืองลัทธิคอมมิวนิสต์ในกัมพูชา ที่ต่อมาได้พัฒนาไปเป็น “พรรคคอมมิวนิสต์กัมพูชา” (Communist Party of Kampuchea; Parti communiste du Kampuchéa – PCK) และ “พรรคกัมพูชาประชาธิปไตย” (Parti du Kampuchéa démocratique) รูปแบบการปกครองของเขมรแดงมีจุดประสงค์เพื่อสร้าง "สังคมใหม่" โดยใช้รากฐานทางอุดมการณ์ที่เรียกว่า "อุดมการณ์ปฏิวัติแบบเบ็ดเสร็จ" (idéologie de révolution totale) ที่มีการรักษาเผด็จการโดยชนชั้นกรรมาชีพ เป็นตัวขับเคลื่อน สิ่งแรกที่เขมรแดงกระทำหลังจากได้รับอำนาจ คือ การกวาดต้อนประชาชนกัมพูชาทั้งหมดจากกรุงพนมเปญและเมืองสำคัญอื่น ๆ มาบังคับให้ทำการเกษตรและใช้แรงงานร่วมกันในพื้นที่ชนบท เพื่อจำแนกประชาชนที่ถือว่าเป็น "ศัตรูทางชนชั้น" ไม่ว่าจะเป็น ทหาร ข้าราชการ เชื้อพระวงศ์ ผู้มีการศึกษา หรือผู้มีวิชาชีพเฉพาะในด้านต่าง ๆ ออกมาเพื่อขจัดทิ้ง การกระทำดังกล่าวนี้ ส่งผลให้ประชาชนชาวกัมพูชาต้องเสียชีวิตจากการถูกสังหาร ถูกบังคับใช้แรงงาน และความอดอยาก เป็นจำนวนประมาณ 850,000 ถึง 3 ล้านคน ซึ่งเมื่อเทียบอัตราส่วนของประชาชนที่เสียชีวิตต่อจำนวนประชาชนกัมพูชาทั้งหมดในขณะนั้น (ประมาณ 7.5 ล้านคน ใน พ.ศ. 2518) ถือได้ว่าระบอบการปกครองของเขมรแดงเป็นหนึ่งในระบอบที่มีความรุนแรงที่สุดในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20 หลังจากที่เขมรแดงปกครองกัมพูชาเป็นระยะเวลา 4 ปี ใน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และเขมรแดง · ดูเพิ่มเติม »

เขตมีนบุรี

ตมีนบุรี เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพตะวันออก สภาพภูมิประเทศเป็นที่ราบลุ่ม มีคลองและลำรางไหลผ่านหลายสาย ในอดีตเป็นเรือกสวนไร่นา บ่อปลา นาบัว และไร่หญ้า แต่ปัจจุบันเริ่มลดน้อยลง เนื่องจากพื้นที่หลายแห่งถูกเปลี่ยนสภาพเป็นที่อยู่อาศัยหนาแน่น หมู่บ้าน อาคารพาณิชย์ สถานที่ประกอบการทั้งเล็กและขนาดใหญ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และเขตมีนบุรี · ดูเพิ่มเติม »

เขตลาดกระบัง

ตลาดกระบัง เป็นเขตการปกครองที่มีพื้นที่มากที่สุดเป็นอันดับที่ 2 ของกรุงเทพมหานคร (รองจากเขตหนองจอก) อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพตะวันออก สภาพโดยทั่วไปเป็นท้องทุ่ง มีแหล่งชุมชนหนาแน่นทางทิศใต้และมีเขตนิคมอุตสาหกรรมทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของพื้นที.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และเขตลาดกระบัง · ดูเพิ่มเติม »

เขตหนองจอก

ตหนองจอก เป็นเขตการปกครองที่มีพื้นที่มากที่สุดของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพตะวันออก สภาพพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นท้องทุ่งและเกษตรกรรม มีลำคลองไหลผ่านหล.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และเขตหนองจอก · ดูเพิ่มเติม »

เขตคลองสามวา

ตคลองสามวา เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร จัดอยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพตะวันออก สภาพทั่วไปเป็นท้องทุ่ง มีคลองสามวาผ่านกลางพื้นที่และมีคลองซอยเชื่อมระหว่างคลองหลักเป็นก้างปลา ประชาชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพกสิกรรม ปัจจุบันเขตคลองสามวาเป็นเขตที่มีจำนวนประชากรมากเป็นอันดับที่ 2 รองจากเขตสายไหม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และเขตคลองสามวา · ดูเพิ่มเติม »

เดลี

ลี หรือในชื่อท้องถิ่นว่า ดิลลี (Delhi, दिल्ली, ਦਿੱਲੀ, دلّی) ชื่อเต็มคือ National Capital Territory of Delhi (NCT) เป็นมหานครที่มีขนาดใหญ่ที่สุดของอินเดียและมีประชากรมากเป็นอันดับสองของประเทศ ครอบคลุมพื้นที่ เดลีเก่า และเดลีใหม่ (นิวเดลี) ซึ่งเป็นเมืองหลวงปัจจุบันของอินเดี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และเดลี · ดูเพิ่มเติม »

เดือน บุนนาค

ตราจารย์ เดือน บุนนาค ราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ รองประธานสภาผู้แทนราษฎร ผู้ร่วมก่อตั้ง เลขาธิการ และรักษาการผู้ประศาสน์การมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง คณบดีคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี และคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ หัวหน้าพรรคสหชีพ มีผลงานที่สำคัญระหว่างปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และเดือน บุนนาค · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องพิมพ์ดีด

รื่องพิมพ์ดีด Olivetti Lettera 22 รุ่นแรก เครื่องพิมพ์ดีด เป็นเครื่องกลที่มนุษย์ประดิษฐ์ขึ้นเพื่อใช้แทนการเขียนด้วยมือ ทำให้เกิดความสะดวกในการอ่าน และการเผยแพร่ มีลักษณะเป็นแป้นพิมพ์ แล้วใช้คานกระแทกลงบนผ้าคาร์บอน ทับลงบนกระดาษอีกที่หนึ่ง ปัจจุบัน พัฒนาเป็นเครื่องพิมพ์ดีดไฟฟ้า สามารถพิมพ์ตัวหนังสือได้มากขึ้น และออกแรงกดน้อยลง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และเครื่องพิมพ์ดีด · ดูเพิ่มเติม »

เต่านา

ำหรับบุคคลดูที่ หม่อมหลวงมิ่งมงคล โสณกุล เต่านา หรือ เต่าสามสัน (Snail-eating turtles) เป็นสกุลของสัตว์เลื้อยคลาน 2 ชนิดจำพวกเต่าที่อยู่ในสกุล Malayemys ในวงศ์ Bataguridae เป็นเต่าน้ำจืดขนาดเล็ก มีลักษณะเด่น คือ กระดองส่วนบนมีสันนูน 3 เส้น เห็นได้ชัดเจน อันเป็นที่มาของชื่อสามัญ และมีขอบเรียบ ส่วนหัวมีขนาดใหญ่และมีลายเส้นสีเหลืองหรือสีขาว กระดองส่วนบนมีสีน้ำตาลและขอบสีครีมหรือสีเหลือง กระดองส่วนล่างมีสีเหลือง และแต้มสีดำบนแผ่นเกล็ด ขณะที่สีผิวทั่วไปเป็นสีน้ำตาลเทาหรือดำ บริเวณส่วนหน้าและจมูกมีลายเส้นขีดสีขาว เป็นเต่าที่พบกระจายพันธุ์ทั่วไปในแหล่งน้ำของภูมิภาคอินโดจีนและแหลมมลายู พบเห็นได้ทั่วไปทั้งนาข้าว, สวนสาธารณะ หรือท้องร่องสวนผลไม้ พื้นที่การเกษตรทั่วไป เป็นเต่าที่กินหอยเป็นอาหารหลักทั้งหอยฝาเดียวและหอยสองฝา โดยใช้ริมฝีปากขบกัดเปลือกหอยให้แตก แล้วใช้เล็บจิกเนื้อหอยออกมากิน และยังกินสัตว์น้ำอย่างอื่นได้ด้วย เดิมทีเต่านาถูกจำแนกไว้เพียงชนิดเดียว แต่ต่อมาได้มีการศึกษาเพิ่มขึ้นโดยนักวิชาการชาวตะวันตก เมื่อปี ค.ศ. 2004 พบว่าแท้จริงแล้วมี 2 ชนิด โดยมีลักษณะแตกต่างกันทางกายวิภาคบางประการ และถิ่นที่แพร่กระจายพันธุ์ คือ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และเต่านา · ดูเพิ่มเติม »

เซนต์เจมส์พาร์ก (เอ็กซิเตอร์)

ซนต์เจมส์พาร์ก (St James' Park - The Park, SJP) เป็นสนามฟุตบอลในเมืองเอ็กซิเตอร์ ทางภาคตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศอังกฤษ และเป็นสนามเหย้าของสโมสรฟุตบอลเอ็กซิเตอร์ซิตี มีสแตนด์ทั้งส่วนที่เป็นที่นั่ง และบริเวณสำหรับยืน โดยมีความจุทั้งหมดรวม 8,541 ที.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และเซนต์เจมส์พาร์ก (เอ็กซิเตอร์) · ดูเพิ่มเติม »

1 พฤษภาคม

วันที่ 1 พฤษภาคม เป็นวันที่ 121 ของปี (วันที่ 122 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 244 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และ1 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

1 กรกฎาคม

วันที่ 1 กรกฎาคม เป็นวันที่ 182 ของปี (วันที่ 183 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 183 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และ1 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

10 ธันวาคม

วันที่ 10 ธันวาคม เป็นวันที่ 344 ของปี (วันที่ 345 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 21 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และ10 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

10 เมษายน

วันที่ 10 เมษายน เป็นวันที่ 100 ของปี (วันที่ 101 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 265 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และ10 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

11 กุมภาพันธ์

วันที่ 11 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 42 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 323 วันในปีนั้น (324 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และ11 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

12 กรกฎาคม

วันที่ 12 กรกฎาคม เป็นวันที่ 193 ของปี (วันที่ 194 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 172 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และ12 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

15 ตุลาคม

วันที่ 15 ตุลาคม เป็นวันที่ 288 ของปี (วันที่ 289 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 77 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และ15 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

16 กรกฎาคม

วันที่ 16 กรกฎาคม เป็นวันที่ 197 ของปี (วันที่ 198 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 168 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และ16 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

17 สิงหาคม

วันที่ 17 สิงหาคม เป็นวันที่ 229 ของปี (วันที่ 230 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 136 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และ17 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

17 ตุลาคม

วันที่ 17 ตุลาคม เป็นวันที่ 290 ของปี (วันที่ 291 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 75 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และ17 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

18 พฤษภาคม

วันที่ 18 พฤษภาคม เป็นวันที่ 138 ของปี (วันที่ 139 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 227 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และ18 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

18 กันยายน

วันที่ 18 กันยายน เป็นวันที่ 261 ของปี (วันที่ 262 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 104 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และ18 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

18 ตุลาคม

วันที่ 18 ตุลาคม เป็นวันที่ 291 ของปี (วันที่ 292 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 74 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และ18 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

2 มีนาคม

วันที่ 2 มีนาคม เป็นวันที่ 61 ของปี (วันที่ 62 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 304 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และ2 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

2 ธันวาคม

วันที่ 2 ธันวาคม เป็นวันที่ 336 ของปี (วันที่ 337 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 29 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และ2 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

20 พฤศจิกายน

วันที่ 20 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 324 ของปี (วันที่ 325 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 41 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และ20 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

20 กันยายน

วันที่ 20 กันยายน เป็นวันที่ 263 ของปี (วันที่ 264 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 102 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และ20 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

20 สิงหาคม

วันที่ 20 สิงหาคม เป็นวันที่ 232 ของปี (วันที่ 233 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 133 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และ20 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

20 ตุลาคม

วันที่ 20 ตุลาคม เป็นวันที่ 293 ของปี (วันที่ 294 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 72 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และ20 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

21 กันยายน

วันที่ 21 กันยายน เป็นวันที่ 264 ของปี (วันที่ 265 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 101 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และ21 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

22 มีนาคม

วันที่ 22 มีนาคม เป็นวันที่ 81 ของปี (วันที่ 82 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 284 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และ22 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

27 พฤศจิกายน

วันที่ 27 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 331 ของปี (วันที่ 332 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 34 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และ27 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

27 พฤษภาคม

วันที่ 27 พฤษภาคม เป็นวันที่ 147 ของปี (วันที่ 148 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 218 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และ27 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

27 กรกฎาคม

วันที่ 27 กรกฎาคม เป็นวันที่ 208 ของปี (วันที่ 209 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 157 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และ27 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

27 กันยายน

วันที่ 27 กันยายน เป็นวันที่ 270 ของปี (วันที่ 271 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 95 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และ27 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

27 ธันวาคม

วันที่ 27 ธันวาคม เป็นวันที่ 361 ของปี (วันที่ 362 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 4 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และ27 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

28 มีนาคม

วันที่ 28 มีนาคม เป็นวันที่ 87 ของปี (วันที่ 88 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 278 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และ28 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

3 กันยายน

วันที่ 3 กันยายน เป็นวันที่ 246 ของปี (วันที่ 247 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 119 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และ3 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

30 พฤศจิกายน

วันที่ 30 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 334 ของปี (วันที่ 335 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 31 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และ30 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

30 กันยายน

วันที่ 30 กันยายน เป็นวันที่ 273 ของปี (วันที่ 274 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 92 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และ30 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

30 ธันวาคม

วันที่ 30 ธันวาคม เป็นวันที่ 364 ของปี (วันที่ 365 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 1 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และ30 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

31 (แก้ความกำกวม)

31 อาจหมายถึง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และ31 (แก้ความกำกวม) · ดูเพิ่มเติม »

4 พฤษภาคม

วันที่ 4 พฤษภาคม เป็นวันที่ 124 ของปี (วันที่ 125 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 241 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และ4 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

5 มกราคม

วันที่ 5 มกราคม เป็นวันที่ 5 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 360 วันในปีนั้น (361 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และ5 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

6 มกราคม

วันที่ 6 มกราคม เป็นวันที่ 6 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 359 วันในปีนั้น (360 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และ6 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

6 สิงหาคม

วันที่ 6 สิงหาคม เป็นวันที่ 218 ของปี (วันที่ 219 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 147 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และ6 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

8 กรกฎาคม

วันที่ 8 กรกฎาคม เป็นวันที่ 189 ของปี (วันที่ 190 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 176 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และ8 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

8 มกราคม

วันที่ 8 มกราคม เป็นวันที่ 8 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 357 วันในปีนั้น (358 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และ8 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

8 มิถุนายน

วันที่ 8 มิถุนายน เป็นวันที่ 159 ของปี (วันที่ 160 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 206 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และ8 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

8 ธันวาคม

วันที่ 8 ธันวาคม เป็นวันที่ 342 ของปี (วันที่ 343 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 23 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และ8 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

9 กรกฎาคม

วันที่ 9 กรกฎาคม เป็นวันที่ 190 ของปี (วันที่ 191 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 175 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2474และ9 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

ค.ศ. 1931

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »