เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทย

ดัชนี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทย

ัญชีดังต่อไปนี่แสดงรายพระนาม รายนาม เสนาบดีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมแห่งราชอาณาจักรไท.

สารบัญ

  1. 119 ความสัมพันธ์: บรรจบ บุนนาคชวลิต ยงใจยุทธชิต มั่นศิลป์ สินาดโยธารักษ์บุญรอด สมทัศน์บุรีรัตน์ รัตนวานิชพรรคพลังประชาชน (พ.ศ. 2541)พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน)พระยาราชวังสันพระยาราชวังสัน (ศรี กมลนาวิน)พระยาประเสริฐสงคราม (เทียบ คมกฤส)พระราชบัญญัติพรรคการเมือง พ.ศ. 2511พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวุฒิไชยเฉลิมลาภ กรมหลวงสิงหวิกรมเกรียงไกรพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทองกองก้อนใหญ่ กรมหลวงประจักษ์ศิลปาคมพระเทพคุณาธาร (อภัย อภโย)พฤณท์ สุวรรณทัตพะเนียง กานตรัตน์พิรุณ แผ้วพลสงกรมแพทย์ทหารบกกระทรวงกลาโหม (ประเทศไทย)กฤษณ์ สีวะรากองบัญชาการตำรวจท่องเที่ยวกองบิน 2 ลพบุรีการอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจรัฐมนตรีไทย พ.ศ. 2555การเตรียมงานพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชกำธร พุ่มหิรัญกิตติพงษ์ เกษโกวิทกิตติศักดิ์ รัฐประเสริฐมหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยามังกร พรหมโยธียิ่งลักษณ์ ชินวัตรยุทธศักดิ์ ศศิประภารัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2514รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2520รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2534รายชื่อผู้บัญชาการทหารสูงสุดของไทยรายชื่อธงในกองทัพไทยรายการธงในประเทศไทยรายนามรัฐมนตรีสตรีในคณะรัฐมนตรีไทยรายนามสมุหราชองครักษ์ของไทยรายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยรายนามผู้บัญชาการทหารเรือไทยวิชญ์ เทพหัสดิน ณ อยุธยาวิจิตร สุขมากวิทวัส รชตะนันทน์ศาลทหาร (ประเทศไทย)สภานโยบายวิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติสมชาย วงศ์สวัสดิ์สมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์สมัคร สุนทรเวชสมเจตน์ บุญถนอม... ขยายดัชนี (69 มากกว่า) »

บรรจบ บุนนาค

ลเอก บรรจบ บุนนาค (เกิด 10 ธันวาคม พ.ศ. 2468 - ปัจจุบัน) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม (14 มิถุนายน 2535 - 30 กันยายน 2535) ในรัฐบาลนายอานันท์ ปันยารชุน และ อดีตเสนาธิการทหารบก.

ดู รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและบรรจบ บุนนาค

ชวลิต ยงใจยุทธ

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก ชวลิต ยงใจยุทธ (15 พฤษภาคม พ.ศ. 2475 —) เป็นนายกรัฐมนตรีของประเทศไทย คนที่ 22 อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม อดีตผู้บัญชาการทหารบกและอดีดรักษาการผู้บัญชาการทหารสูงสุด เป็นเจ้าของสมญา "ขงเบ้งแห่งกองทัพบก" เคยได้รับการแต่งตั้งให้เป็น สมาชิกวุฒิสภา ขณะดำรงตำแหน่งทางทหาร เป็นผู้ก่อตั้ง และหัวหน้า พรรคความหวังใหม่ คนแรก และเป็นอดีต..หลายสมัย มีคะแนนเสียงหนาแน่นในจังหวัดนครพนม สื่อมวลชนและประชาชนทั่วไป เรียก พล.อ.ชวลิต ว่า "บิ๊กจิ๋ว" และในพื้นที่ภาคอีสาน เรียก พล.อ.ชวลิต ว่า "พ่อใหญ่จิ๋ว" นอกจากนี้แล้วยังมีอีกฉายาหนึ่งว่า "จิ๋วหวานเจี๊ยบ" จากการมีบุคลิกพูดจาอ่อนนิ่ม นุ่มนวล.

ดู รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและชวลิต ยงใจยุทธ

ชิต มั่นศิลป์ สินาดโยธารักษ์

ลโท ชิต มั่นศิลป์ สินาดโยธารักษ์ (พ.ศ. 2439 - พ.ศ. 2532) เป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม และรัฐมนตรี.

ดู รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและชิต มั่นศิลป์ สินาดโยธารักษ์

บุญรอด สมทัศน์

ลเอกบุญรอด สมทัศน์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ในรัฐบาลพลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท.

ดู รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและบุญรอด สมทัศน์

บุรีรัตน์ รัตนวานิช

ลอากาศเอก บุรีรัตน์ รัตนวานิช อดีตรองผู้บัญชาการทหารสูงสุด เกิดเมื่อวันที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2491 เป็นน้องชายคนสุดท้องของในบรรดาพี่น้องทั้งหมด 6 คน ของ พล.อ.เลิศรัตน์ รัตนวานิช สมาชิกวุฒิสภา (ส.ว.) แบบสรรหา จบการศึกษาจากโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย, โรงเรียนเตรียมทหารรุ่นที่ 7 (ตท.7-ร่วมรุ่นเดียวกับ พล.อ.สพรั่ง กัลยาณมิตร, พล.อ.ปฐมพงษ์ เกษรศุกร์, พล.ร.อ.บรรณวิทย์ เก่งเรียน), โรงเรียนนายเรืออากาศรุ่นที่ 14, โรงเรียนการบิน, โรงเรียนนายทหารชั้นผู้บังคับฝูง รุ่นที่ 41, โรงเรียนเสนาธิการทหารอากาศรุ่นที่ 27, วิทยาลัยการทัพอากาศรุ่นที่ 28, วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร รุ่นที่ 42 รับราชการในตำแหน่งที่สำคัญ ๆ อาทิ ผู้บังคับบัญชากองบิน 2 ลพบุรี (1 ตุลาคม พ.ศ.

ดู รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและบุรีรัตน์ รัตนวานิช

พรรคพลังประชาชน (พ.ศ. 2541)

รรคพลังประชาชน (อักษรย่อ: พปช. People Power Party) เป็นพรรคการเมืองที่ก่อตั้งเมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2541 ช่วงก่อนการเข้าร่วมของกลุ่มไทยรักไทย เมื่อปลายเดือนกรกฎาคม พ.ศ.

ดู รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและพรรคพลังประชาชน (พ.ศ. 2541)

พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน)

ระยาพหลพลพยุหเสนา (แถวหน้าซ้ายมือ) นำคณะรัฐมนตรีของไทยเข้าเยือนประเทศญี่ปุ่น และพบกับ ฮิเดกิ โตโจ (แถวหน้าตรงกลาง) นายกรัฐมนตรีญี่ปุ่น เมื่อปี พ.ศ.

ดู รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและพระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน)

พระยาราชวังสัน

ระยาราชวังสัน หรือ พระยาราชบังสัน เป็นบรรดาศักดิ์ ตำแหน่งจางวางอาสาจาม มีปรากฏในพงศาวดารตั้งแต่สมัยต้นกรุงศรีอยุธยาตอนต้น อาจหมายถึง.

ดู รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและพระยาราชวังสัน

พระยาราชวังสัน (ศรี กมลนาวิน)

ลเรือโท พระยาราชวังสัน (ศรี กมลนาวิน) (9 มิถุนายน พ.ศ. 2429 - 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2482) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม พลเรือโท พระยาราชวังสัน มีนามเดิมว่า ศรี กมลนาวิน เกิดที่ตำบลบ้านท่าจีน อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร เป็นบุตรนายเล็ก-นางจู กมลนาวิน เป็นพี่ชายของหลวงสินธุสงครามชัย (สินธุ์ กมลนาวิน) สมรสกับ นางสาวถนอมศรี วีระศิริ (นางถนอมศรี ประดิยัตินาวายุทธ) เมื่อ..

ดู รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและพระยาราชวังสัน (ศรี กมลนาวิน)

พระยาประเสริฐสงคราม (เทียบ คมกฤส)

ลตรี พระยาประเสริฐสงคราม (เทียบ คมกฤส) (18 ธันวาคม พ.ศ. 2425 - พ.ศ. 2494) ทหารบกชาวไทย อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมในรัฐบาลพันเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน).

ดู รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและพระยาประเสริฐสงคราม (เทียบ คมกฤส)

พระราชบัญญัติพรรคการเมือง พ.ศ. 2511

ระราชบัญญัติพรรคการเมือง..

ดู รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและพระราชบัญญัติพรรคการเมือง พ.ศ. 2511

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวุฒิไชยเฉลิมลาภ กรมหลวงสิงหวิกรมเกรียงไกร

ลเอก พลเรือเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวุฒิไชยเฉลิมลาภ กรมหลวงสิงหวิกรมเกรียงไกร (ประสูติ: 5 ธันวาคม พ.ศ.

ดู รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวุฒิไชยเฉลิมลาภ กรมหลวงสิงหวิกรมเกรียงไกร

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทองกองก้อนใหญ่ กรมหลวงประจักษ์ศิลปาคม

นายพลตรี นายพลเรือเอก มหาเสวกเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงประจักษ์ศิลปาคม เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว อดีตเสนาบดีกระทรวงกลาโหม.

ดู รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทองกองก้อนใหญ่ กรมหลวงประจักษ์ศิลปาคม

พระเทพคุณาธาร (อภัย อภโย)

ระเทพคุณาธาร​ (อภัย​อภโย) (นามเดิม: อภัย วงศ์บุปผา) (15 ตุลาคม พ.ศ. 2465 - 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2549) อดีตเจ้าคณะจังหวัดระยอง และอดีตเจ้าอาวาสวัดป่าประดู่ ท่านเกิดเมื่อวันที่ 15 ตุลาคม พ.ศ.

ดู รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและพระเทพคุณาธาร (อภัย อภโย)

พฤณท์ สุวรรณทัต

ลเอก พฤณท์ สุวรรณทัต อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม ในรัฐบาลยิ่งลักษณ์ ชินวัตร ชุดที่ 3 อดีตที่ปรึกษาศูนย์รักษาความสงบ ในรัฐบาล ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร เป็นอดีตผู้บัญชาการทหารกองพลที่ 1 รักษาพระองค์ และเป็นนักเรียนเตรียมทหารรุ่นที่ 10.

ดู รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและพฤณท์ สุวรรณทัต

พะเนียง กานตรัตน์

ลอากาศเอก พะเนียง กานตรัตน์ เกิดเมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2464 สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาจากโรงเรียนมัธยมวัดเทพศิรินทร์, โรงเรียนการบิน, โรงเรียนการบินประเทศอังกฤษ, Air Command and Staff College และ Tactical Air Command ประเทศสหรัฐอเมริกา, โรงเรียนเสนาธิการทหารอากาศ, โรงเรียนวิทยาลัยกองทัพบก, วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร พ.ศ.

ดู รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและพะเนียง กานตรัตน์

พิรุณ แผ้วพลสง

ลเอก พิรุณ แผ้วพลสง อดีตประธานกรรมการ การไฟฟ้านครหลวง อดีตรองผู้บัญชาการทหารสูงสุด เกิดเมื่อปี พ.ศ. 2494 ที่จังหวัดบุรีรัมย์ จบการศึกษาจากโรงเรียนวัดเขมาภิรตาราม, โรงเรียนเตรียมทหารรุ่นที่ 10 (ตท.10), โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้ารุ่นที่ 21 (จปร.21) กรรมการศูนย์อำนวยการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉิน กรรมการ เป็นหนึ่งในนายทหารที่ ควบคุมการชุมนุมของแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ พ.ศ.

ดู รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและพิรุณ แผ้วพลสง

กรมแพทย์ทหารบก

กรมแพทย์ทหารบก เป็นหน่วยงานในประเทศไทย ที่ศึกษาวิจัย ฝึกอบรมบุคลากรเหล่าทหารแพทย์ ในการให้บริการแก่ กำลังพลของกองทัพบก และครอบครัว รวมถึงประชาชน โดยให้บริการในโรงพยาบาลสังกัดกองทัพบก จำนวน 37 แห่ง เริ่มก่อตั้งเป็นกองกรมกลาง กรมยุทธนาธิการ และโรงพยาบาลกลางกรมทหารบก บริเวณฝั่งทิศเหนือปากคลองหลอด ในปี พ.ศ.

ดู รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและกรมแพทย์ทหารบก

กระทรวงกลาโหม (ประเทศไทย)

กระทรวงกลาโหม (Ministry of Defence) เป็นหน่วยงานราชการไทยประเภทกระทรวง มีหน้าที่ป้องกันประเทศ เพิ่มขีดความสามารถ และรักษาผลประโยชน์ของชาติ สร้างความร่วมมือด้านความมั่นคงกับประเทศเพื่อนบ้าน ประเทศในกลุ่มอาเซียน และมิตรประเทศ เพื่อลดความหวาดระแวงสร้างสันติภาพ ให้ความสำคัญในการตอบสนองนโยบายเร่งด่วนของคณะรัฐมนตรี ที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินการของกระทรวงกลาโหม ตลอดจนภารกิจอื่นตามที่ได้รับมอบหมายเป็นการเฉพาะ และมีหน้าที่พิทักษ์รักษาสถาบันพระมหากษัตริย์ ทั้งในฐานะที่พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขของประเทศ และทรงดำรงตำแหน่งจอมทัพไทย รวมทั้งสนับสนุนการดำเนินการตามพระราชประสง.

ดู รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและกระทรวงกลาโหม (ประเทศไทย)

กฤษณ์ สีวะรา

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก กฤษณ์ สีวะรา อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม ผู้บัญชาการทหารบกคนที่ 19 ของไทย อดีตแม่ทัพภาคที่ 1 ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในเหตุการณ์ 14 ตุลา ในฐานะ ผู้อำนวยการรักษาความสงบ ภายหลังการลาออกจากทุกตำแหน่งและเดินทางออกนอกประเทศ ของจอมพล ถนอม กิตติขจร จอมพลประภาส จารุเสถียร พันเอกณรงค์ กิตติขจร.

ดู รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและกฤษณ์ สีวะรา

กองบัญชาการตำรวจท่องเที่ยว

กองบัญชาการตำรวจท่องเที่ยว หน่วยงานระดับกองบัญชาการในสังกัด สำนักงานตำรวจแห่งชาต.

ดู รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและกองบัญชาการตำรวจท่องเที่ยว

กองบิน 2 ลพบุรี

กองบิน 2 เป็นกองบินสังกัดกองทัพอากาศไทยที่ตั้งอยู่ใน อำเภอเมืองลพบุรี จังหวัดลพบุรี.

ดู รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและกองบิน 2 ลพบุรี

การอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจรัฐมนตรีไทย พ.ศ. 2555

การอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจรัฐมนตรีไท..

ดู รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและการอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจรัฐมนตรีไทย พ.ศ. 2555

การเตรียมงานพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

ระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีกำหนดระหว่างวันที่ 25–29 ตุลาคม..

ดู รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและการเตรียมงานพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

กำธร พุ่มหิรัญ

ลเรือเอก กำธร พุ่มหิรัญ (ชื่อเล่น: ติ๊ด) เกิดเมื่อวันที่ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2494 เป็นบุตรของนายอรุณ พุ่มหิรัญ อดีตรองปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กับนางนันทนา พุ่มหิรัญ จบการศึกษาจากโรงเรียนอัสสัมชัญธนบุรี โรงเรียนอำนวยศิลป์พระนคร โรงเรียนเตรียมทหารรุ่นที่ 10 (ตท.10) โรงเรียนนายเรือรุ่นที่ 67 โรงเรียนเสนาธิการทหารเรือรุ่นที่ 45 วิทยาลัยการทัพเรือรุ่นที่ 29 วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักรรุ่นที่ 46 และหลักสูตรจากต่างประเทศอีก 4 หลักสูตร.

ดู รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและกำธร พุ่มหิรัญ

กิตติพงษ์ เกษโกวิท

ลเอก กิตติพงษ์ เกษโกวิท อดีตปลัดกระทรวงกลาโหม เกิดเมื่อวันที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2493 จบการศึกษาจากโรงเรียนเตรียมทหารรุ่นที่ 8 (ตท.8-ร่วมรุ่นเดียวกับ พล.อ.อภิชาต เพ็ญกิตติ, พล.อ.พหล สง่าเนตร, พล.อ.สมเจตน์ บุญถนอม, พล.ต.อ.เสรีพิศุทธ์ เตมียาเวส), โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้ารุ่นที่ 19 (จปร.19) จากนั้นได้ศึกษาต่อหลักสูตรชั้นนายร้อย-นายพันเหล่าทหารราบไทย, หลักสูตรชั้นนายพันเหล่าทหารราบสหรัฐอเมริกา และวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักรรุ่นที่ 47 (วปร.47-ร่วมรุ่นเดียวกับ พล.อ.อ.อิทธพร ศุภวงศ์).

ดู รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและกิตติพงษ์ เกษโกวิท

กิตติศักดิ์ รัฐประเสริฐ

ลเอกกิตติศักดิ์ รัฐประเสริฐ นักการเมืองชาวไทย ประธานที่ปรึกษา พรรคไทยศรีวิไลย์ อดีตผู้ช่วยหัวหน้านายทหารฝ่ายเสนาธิการ ประจำรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม (นายชวน หลีกภัย) เคยเป็นอดีตเลขาธิการพรรคความหวังใหม่ และประธานที่ปรึกษาพรรคประชาสันติ และพรรคต้นตระกูลไทย รวมถึงอดีตกรรมการบริหารพรรคการเมืองใหม.

ดู รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและกิตติศักดิ์ รัฐประเสริฐ

มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา

(Bansomdejchaopraya Rajabhat University) เป็นมหาวิทยาลัยในกลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏ ตั้งอยู่ในเขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร.

ดู รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและมหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา

มังกร พรหมโยธี

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก มังกร พรหมโยธี หรือ หลวงพรหมโยธี (16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2439 - 24 มีนาคม พ.ศ. 2509) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม และอดีตรัฐมนตรี.

ดู รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและมังกร พรหมโยธี

ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร

งลักษณ์ ชินวัตร เกิดวันที่ 21 มิถุนายน..

ดู รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและยิ่งลักษณ์ ชินวัตร

ยุทธศักดิ์ ศศิประภา

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก ยุทธศักดิ์ ศศิประภา อดีตสมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ ประธานสมาพันธ์กีฬาแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม อดีตที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี (ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร) อดีตรองนายกรัฐมนตรี ฝ่ายความมั่นคง อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ในรัฐบาลยิ่งลักษณ์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พรรคเพื่อไทย อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม ในรัฐบาลทักษิณ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พรรคไทยรักไทย และอดีตปลัดกระทรวงกลาโหม โดยสื่อมวลชนมักเรียกว่า "บิ๊กอ็อด".

ดู รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและยุทธศักดิ์ ศศิประภา

รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2514

รัฐประหารในประเทศไท..

ดู รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2514

รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2520

รัฐประหาร 20 ตุลาคม..

ดู รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2520

รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2534

รัฐประหาร 23 กุมภาพัน..

ดู รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2534

รายชื่อผู้บัญชาการทหารสูงสุดของไทย

ผู้บัญชาการทหารสูงสุด เป็นชื่อตำแหน่งผู้บัญคับบัญชาระดับบนสุดของกองทัพไทยและกองบัญชาการกองทัพไทย ตั้งแต..

ดู รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและรายชื่อผู้บัญชาการทหารสูงสุดของไทย

รายชื่อธงในกองทัพไทย

ตารางเบื้องล่างต่อไปนี้คือข้อมูลเกี่ยวกับธงต่างๆ ที่ใช้อยู่ในกองทัพไทยอย่างสังเขป.

ดู รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและรายชื่อธงในกองทัพไทย

รายการธงในประเทศไทย

งชาติไทย หน้านี้คือรายชื่อธงต่างๆ ในประเทศไท.

ดู รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและรายการธงในประเทศไทย

รายนามรัฐมนตรีสตรีในคณะรัฐมนตรีไทย

รายนามต่อไปนี้เป็นสตรีที่ได้ดำรงตำแหน่งในคณะรัฐมนตรีไทย หมายถึงสตรีคนแรกที่ได้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรี.

ดู รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและรายนามรัฐมนตรีสตรีในคณะรัฐมนตรีไทย

รายนามสมุหราชองครักษ์ของไทย

มุหราชองครักษ์ กำเนิดขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๕ ซึ่งเดิมเรียกว่า "นายทหารรักษาพระองค์" โดยทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ปฏิบัติหน้าที่รับใช้เบื้องพระยุคลบาท พิทักษ์รักษาความปลอดภัยแด่องค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในกาลต่อมาพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงเล็งเห็นถึงความสำคัญและคุณประโยชน์ที่จะต้องมีราชองครักษ์ไว้ปฏิบัติราชการสนองพระเดชพระคุณโดยใกล้ชิด จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้คัดเลือก นายทหารรักษาพระองค์มาจากกรมทหามหาดเล็กรักษาพระองค์และทรงพระราชทานนามนายทหารเหล่านี้ว่า "ราช-แอด-เดอ-แกมป์" จนกระทั่งในปี..

ดู รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและรายนามสมุหราชองครักษ์ของไทย

รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทย

รายพระนาม รายนาม ผู้บัญชาการทหารบก แห่งกองทัพบกไท.

ดู รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและรายนามผู้บัญชาการทหารบกไทย

รายนามผู้บัญชาการทหารเรือไทย

รายพระนาม รายนาม ผู้บัญชาการทหารเรือ แห่งกองทัพเรือไท.

ดู รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและรายนามผู้บัญชาการทหารเรือไทย

วิชญ์ เทพหัสดิน ณ อยุธยา

ลเอก วิชญ์ เทพหัสดิน ณ อยุธยา (ชื่อเล่น: น้อย) สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ กรรมการอิสระ บริษัท บางจาก คอร์ปอเรชัน จำกัด (มหาชน) และอดีตกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการปิโตรเลียม อดีตประธานคณะที่ปรึกษากองทัพบก เกิดเมื่อวันที่ 19 ตุลาคม พ.ศ.

ดู รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและวิชญ์ เทพหัสดิน ณ อยุธยา

วิจิตร สุขมาก

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก วิจิตร สุขมาก (เกิด 18 มิถุนายน พ.ศ. 2476) เป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม (25 ต.ค.2535-17 ก.ค.2537) ในรัฐบาลชวน หลีกภัย และอดีตผู้บัญชาการโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้.

ดู รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและวิจิตร สุขมาก

วิทวัส รชตะนันทน์

ลเอก วิทวัส รชตะนันทน์ (27 เมษายน พ.ศ. 2495 -) รักษาการประธานผู้ตรวจการแผ่นดิน ผู้ตรวจการแผ่นดินของประเทศไทย อดีตรักษาการปลัดกระทรวงกลาโหม อดีตรองปลัดกระทรวงกลาโหม อดีตตุลาการศาลทหารสูงสุด และอดีตเลขาธิการสภากลาโหม.

ดู รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและวิทวัส รชตะนันทน์

ศาลทหาร (ประเทศไทย)

ลทหาร ได้มีขึ้นเป็นของคู่กันมาตั้งแต่มีการทหารไว้ป้องกันประเทศ จากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ระบบศาลทหารไทยปรากฏตามกฎหมายลักษณะขบฎศึก จุลศักราช 796 ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตั้งแต่รัชกาลที่ 1 ถึงรัชกาลที่ 5 มีศาลกลาโหม ชำระความที่เกี่ยวกับทหารและยังชำระความพลเรือนด้วย ทั้งนี้ เนื่องจากสมุหพระกลาโหมนั้นมิได้มีเพียงอำนาจหน้าที่เฉพาะการบังคับบัญชาทหารบก ทหารเรือ เท่านั้น แต่ยังมีหน้าที่จัดการปกครองหัวเมืองฝ่ายใต้ด้วย ศาลที่ขึ้นอยู่ในกระทรวงกลาโหมมีทั้งศาลที่ตั้งอยู่ในกรุงเทพ และศาลในหัวเมืองฝ่ายใต้ด้วย ศาลกลาโหมจึงมีลักษณะเป็นทั้งศาลทหารและศาลพลเรือน..

ดู รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและศาลทหาร (ประเทศไทย)

สภานโยบายวิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ

นโยบายวิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ (สวนช., นวนช., National Research and Innovation Policy Council) สภาที่ปรึกษาที่มีอำนาจหน้าที่กำหนดทิศทางและนโยบายการดำเนินงานของหน่วยงานในระบบวิจัยและนวัตกรรมของประเทศให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน.

ดู รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและสภานโยบายวิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ

สมชาย วงศ์สวัสดิ์

มชาย วงศ์สวัสดิ์ (31 สิงหาคม พ.ศ. 2490 —) เป็นนายกรัฐมนตรีคนที่ 26 ของประเทศไทย เป็นอดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม อดีตผู้พิพากษา อดีตปลัดกระทรวงยุติธรรม อดีตปลัดกระทรวงแรงงาน ในขณะที่สมชายดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีนั้นเขาไม่ได้ปฏิบัติหน้าที่ในทำเนียบรัฐบาล เพราะพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยยังคงยึดพื้นที่ไว้ตั้งแต่ในสมัยรัฐบาลนายสมัคร สุนทรเวช โดยใช้สนามบินดอนเมืองเป็นที่ทำการแทน.

ดู รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและสมชาย วงศ์สวัสดิ์

สมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์

นายสมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์ (27 มิถุนายน 2497 —) อดีตประธานรัฐสภา และประธานสภาผู้แทนราษฎร รองหัวหน้าพรรคเพื่อไทย แกนนำกลุ่มขุนค้อน ประธานสภาสถาบันพระปกเกล้า สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดขอนแก่น พรรคเพื่อไทย อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม.

ดู รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและสมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์

สมัคร สุนทรเวช

มัคร สุนทรเวช (ชื่อจีน: 李沙馬 Lǐ Shāmǎ; 13 มิถุนายน พ.ศ. 2478 – 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 25 และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม หัวหน้าพรรคพลังประชาชน อดีตผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร และผู้ก่อตั้งพรรคประชากรไทย เกิดที่กรุงเทพมหานคร เป็นนักการเมืองเก่าแก่ ที่มีเสียงพูดและลีลาการพูดเป็นเอกลักษณ์ เคยดำรงตำแหน่งสำคัญมากมาย เช่น รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม (2 สมัย) ได้ฉายาจากสื่อมวลชนทั่วไปว่า "น้าหมัก" "ออหมัก" หรือ "ชมพู่" (มาจากลักษณะจมูกของสมัคร) "ชาวนา" (จากกรณีกลุ่มงูเห่า) เป็นต้น สมัครเริ่มทำงานหลังจบนิติศาสตร์ ธรรมศาสตร์ เป็นสื่อมวลชนสายการเมือง โดยเขียนบทความ และความคิดเห็น ทางการเมืองแบบไม่ประจำใน หนังสือพิมพ์สยามรัฐ, สยามรัฐสัปดาห์วิจารณ์ และชาวกรุง ตั้งแต..

ดู รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและสมัคร สุนทรเวช

สมเจตน์ บุญถนอม

ลเอก สมเจตน์ บุญถนอม อดีตสมาชิกวุฒิภาแบบสรรหา กรรมการการประปานครหลวงและ กรรมการที่เป็นอิสระการปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย (ปตท.) อดีตหัวหน้าคณะสำนักงานเลขาธิการคณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ (คมช.) และอดีตประธานคณะที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม (นายสมัคร สุนทรเวช).

ดู รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและสมเจตน์ บุญถนอม

สมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช

อมพล จอมพลเรือ สมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช (11 มกราคม พ.ศ.

ดู รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและสมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต

อมพล จอมพลเรือ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต (29 มิถุนายน พ.ศ. 2424 — 18 มกราคม พ.ศ.

ดู รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์

ลเอก มหาอำมาตย์เอก สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ มีพระนามเดิมว่าพระองค์เจ้าจิตรเจริญ เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวที่ประสูติแต่พระสัมพันธวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพรรณร.

ดู รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์

สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)

มเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ นามเดิม ช่วง บุนนาค (พ.ศ. 2351 – พ.ศ. 2425) เป็นขุนนางชั้นผู้ใหญ่ของสยามในสมัยรัตนโกสินทร์ ผู้มีบทบาทสำคัญในการเมืองการปกครองของสยาม โดยเริ่มเข้ารับราชการเป็นมหาดเล็กในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย และได้รับการสถาปนาขึ้นเป็นสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งนับเป็นผู้ที่ดำรงตำแหน่ง "สมเด็จเจ้าพระยา" เป็นคนสุดท้าย นอกจากนี้ ท่านยังมีบทบาทในการอัญเชิญพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ขึ้นครองสิริราชสมบัติและได้รับการแต่งตั้งเป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ตั้งแต่ปี พ.ศ.

ดู รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)

สฤษดิ์ ธนะรัชต์

อมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ (16 มิถุนายน พ.ศ. 2451 — 8 ธันวาคม พ.ศ. 2506) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 11, รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม, ผู้บัญชาการทหารบกและอธิบดีกรมตำรวจ เป็นผู้ริเริ่มการจัดทำแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เป็นผู้ก่อตั้งสำนักงบประมาณ เป็นผู้ก่อตั้งธนาคารทหารไทย และบริษัท ทิพยประกันภัย จำกัด เจ้าของคำพูดที่ว่า "พบกันใหม่เมื่อชาติต้องการ" และ "ข้าพเจ้าขอรับผิดชอบแต่เพียงผู้เดียว" พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ เป็นผู้รักษาพระนครฝ่ายทหาร ใน วันที่ 16 กันยายน..

ดู รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและสฤษดิ์ ธนะรัชต์

สะพานมิตรภาพ (ไทย–มาเลเซีย)

นบ้านบูเก๊ะตา (Jambatan Bukit Tal) เป็นสะพานข้ามแม่น้ำโก-ลกแห่งที่ 2 เชื่อมระหว่างบ้านบูเก๊ะตา ตำบลโละจูด อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส กับบ้านบูกิตบูงา รัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย เป็นสะพานคอนกรีต 2 ช่องจราจร ยาว 120 เมตร กว้าง 16.9 เมตร ดำเนินการสร้างโดยกรมทางหลวงของไทย และกรมโยธาธิการ มาเลเซีย ใช้เวลาสร้าง 1 ปี งบประมาณ 90 ล้านบาท โดยออกค่าใช้จ่ายฝ่ายละครึ่ง เปิดให้บริการ 08.00-17.00 น.

ดู รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและสะพานมิตรภาพ (ไทย–มาเลเซีย)

สัมพันธ์ บุญญานันต์

ลเอก สัมพันธ์ บุญญานันต์ ประธานกรรมการ บริษัท สามารถเทลคอม จำกัด (มหาชน) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม และที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของทักษิณ ชินวัตร และอดีตปลัดกระทรวงกลาโหม (พ.ศ.

ดู รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและสัมพันธ์ บุญญานันต์

สำนักงานคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

ำนักงานคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ หน่วยงานระดับกรมในสังกัด กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม มีหน้าที่จัดทำร่างนโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยการพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม.

ดู รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและสำนักงานคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

สำนักงานคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก

ำนักงานคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (ชื่อย่อ: สกพอ.) หน่วยงานของรัฐที่เป็นนิติบุคคลภายใต้การบังคับบัญชาของ นายกรัฐมนตรี ทำหน้าที่เป็นสำนักงานเลขานุการของคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกมีวัตถุประสงค์เพื่อดำเนินการพัฒนาพื้นที่ภาคตะวันออกให้เป็นระบบและโดยสอดคล้องกับหลักการพัฒนาอย่างยั่งยืน.

ดู รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและสำนักงานคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก

สิทธิ จิรโรจน์

ลเอก สิทธิโรจน์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย 2 สมัย พล.อ.สิทธิ์ เกิดเมื่อวันที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2463 ที่ตำบลบางหว้า อำเภอภาษีเจริญ จังหวัดธนบุรี เป็นบุตรชายของนายทองดีและนางสร้อย จิรโรจน์ จบการศึกษาจากโรงเรียนวัดรางบัวและโรงเรียนวัดนวลนรดิศ โรงเรียนเทคนิคทหารบก (รุ่นเดียวกับ พล.อ.เปรม ติณสูลานนท์ นายกรัฐมนตรี 4 สมัยและประธานองคมนตรีในรัชกาลปัจจุบัน) โดยเรียนดีเคยสอบได้ที่ 1 โรงเรียนเสนาธิการทหารบกรุ่นที่ 21 และวิทยาลัยการทัพบกรุ่นที่ 5 ชีวิตราชการทหารบกเริ่มตั้งแต่ปี พ.ศ.

ดู รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและสิทธิ จิรโรจน์

สุกำพล สุวรรณทัต

ลอากาศเอก สุกำพล สุวรรณทัต (ชื่อเล่น: โอ๋) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม ในสมัยรัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร อดีตที่ปรึกษาพิเศษสำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม อดีตจเรทหารทั่วไป อดีตผู้ช่วยผู้บัญชาการทหารอากาศ และอดีตเสนาธิการทหารอาก.

ดู รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและสุกำพล สุวรรณทัต

สุจินดา คราประยูร

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก สุจินดา คราประยูร (เกิด 6 สิงหาคม พ.ศ. 2476) เป็นอดีตนายกรัฐมนตรีของประเทศไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ผู้บัญชาการทหารบก และ ผู้บัญชาการทหารสูง.

ดู รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและสุจินดา คราประยูร

สุเมธ โพธิ์มณี

ลอากาศเอก สุเมธ โพธิ์มณี รองหัวหน้าพรรคเพื่อไทย อดีตผู้ทรงคุณวุฒิพิเศษ สำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม และเป็นนักเรียนเตรียมทหารรุ่นที่ 10 รุ่นเดียวกันกั.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร.

ดู รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและสุเมธ โพธิ์มณี

สถาบันเทคโนโลยีป้องกันประเทศ (องค์การมหาชน)

ันเทคโนโลยีป้องกันประเทศ (องค์การมหาชน) เป็นองค์การมหาชนไทย ภายใต้การกำกับดูแลของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมไทย มีภารกิจในการดำเนินการวิจัยโครงการขนาดใหญ่ด้านยุทโธปกรณ์ที่ต้องใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีชั้นสูง ทำการวิจัยและพัฒนาจากระดับองค์ความรู้ที่มีอยู่ไปสู่ระดับที่ซับซ้อนมากขึ้น โดยใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ของกระทรวงกลาโหม ตลอดจนพัฒนายุทโธปกรณ์ต้นแบบตามความต้องการของเหล่าทั.

ดู รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและสถาบันเทคโนโลยีป้องกันประเทศ (องค์การมหาชน)

สถานการณ์ฉุกเฉิน

นการณ์ฉุกเฉิน (state of emergency) คือ สถานการณ์อันอาจเป็นภัยต่อความมั่นคงหรือความปลอดภัยแห่งรัฐ หรืออันอาจทำให้รัฐตกอยู่ในภาวะคับขันหรือภาวะการรบหรือการสงคราม ซึ่งฝ่ายบริหารรัฐมีอำนาจประกาศว่าพื้นที่ใดกำลังตกอยู่ในสถานการณ์เช่นว่าโดยอาศัยอำนาจตามกฎหมายของรัฐนั้น ๆ ซึ่งให้อำนาจพิเศษในการจัดการสถานการณ์ฉุกเฉิน และมักเป็นกฎหมายที่มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจำกัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล อย่างไรก็ดี กฎหมายว่าด้วยสถานการณ์ฉุกเฉินเป็นกฎหมายที่ให้อำนาจพิเศษแก่เจ้าหน้าที่ไม่เบ็ดเสร็จเท่ากฎอัยการศึกหรือกฎหมายที่ใช้ในสภาวะสงคราม การประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินมักมีภายหลังจากการเกิดภัยธรรมชาติ การก่อความไม่สงบ หรือการประกาศสงคราม ซึ่งอาจมีผลให้เจ้าหน้าที่บางฝ่ายต้องหยุดการปฏิบัติการตามอำนาจหน้าที่ลงชั่วคราว โดยอำนาจหน้าที่เช่นว่านั้นอาจรวมศูนย์ไปยังเจ้าหน้าที่อีกฝ่ายเพื่ออำนวยความสะดวกในการควบคุมสถานการณ์โดยไม่ชักช้า และอาจนำไปสู่การห้ามออกจากเคหสถาน (curfew) หรือการห้ามมั่วสุมชุมนุมกันเพื่อการใด ๆ ก็ดี ณ พื้นที่นั้นในระหว่างที่มีการประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน.

ดู รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและสถานการณ์ฉุกเฉิน

สงัด ชลออยู่

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก สงัด ชลออยู่ (4 มีนาคม พ.ศ. 2458 - 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2523) เกิดที่บ้านเขาพระ หมู่ที่ 2 ตำบลเขาพระ อำเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี เป็นบุตรนายแปลก และนางส้มลิ้ม ชลออยู่ สมรสกับคุณหญิงสุคนธ์ ชลออยู่ (สหัสสานนท์) ในเหตุการณ์กบฏแมนฮัตตันระหว่างวันที่ 29 มิถุนายน-30 มิถุนายน พ.ศ.

ดู รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและสงัด ชลออยู่

หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช

ม.ร.ว. เสนีย์ ปราโมช เมื่อครั้งดำรงตำแหน่งเป็นเอกอัครราชทูตไทยประจำสหรัฐอเมริกา ภาพนี้ถ่ายเมื่อ พ.ศ. 2487 ในงานเฉลิมพระชนมพรรษาครบ 19 พรรษา ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล ที่สหรัฐอเมริกา ศาสตราจารย์ (พิเศษ) หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช (26 พฤษภาคม พ.ศ.

ดู รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช

หลวงชาตินักรบ (ศุข ชาตินักรบ)

ลโท หลวงชาตินักรบ (ศุข ชาตินักรบ) เป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมในรัฐบาลพันตรี ควง อภัยวงศ์ และรัฐบาลจอมพล ป.

ดู รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและหลวงชาตินักรบ (ศุข ชาตินักรบ)

หลวงสารานุประพันธ์ (นวล ปาจิณพยัคฆ์)

ันเอก หลวงสารานุประพันธ์ (นวล ปาจิณพยัคฆ์) (24 สิงหาคม พ.ศ. 2439 - 14 มิถุนายน พ.ศ. 2497) นักเขียน นักประพันธ์ บรรณาธิการหนังสือ สารานุกูล เป็นผู้แต่งเพลงชาติไทย เป็นนายกสมาคมศิษย์เก่าสวนกุหลาบวิทยาลัยในพระบรมราชูปถัมภ์ คนที่ 4 เมื่อปี..

ดู รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและหลวงสารานุประพันธ์ (นวล ปาจิณพยัคฆ์)

หลวงเกรียงศักดิ์พิชิต (พิชิต เกรียงศักดิ์พิชิต)

ลโท พลเรือโท พลอากาศโท หลวงเกรียงศักดิ์พิชิต (20 กรกฎาคม พ.ศ. 2439 - 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2507) อดีตแม่ทัพกองทัพภาคอีสานในสงครามไทย-อินโดจีน, อดีตผู้บัญชาการทหารบก, อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม, อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข, อดีตสมาชิกคณะราษฎร และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรประเภทที่ 2 (ส.ส.ประเภทที่ 2) ในปี..

ดู รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและหลวงเกรียงศักดิ์พิชิต (พิชิต เกรียงศักดิ์พิชิต)

อภิวันท์ วิริยะชัย

ันเอก อภิวันท์ วิริยะชัย อดีตรองประธานสภาผู้แทนราษฎรคนที่สอง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรบัญชีรายชื่อ พรรคเพื่อไทย และอดีตที่ปรึกษารัฐมนตรีหลายกระทรวง.

ดู รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและอภิวันท์ วิริยะชัย

อุทยานแห่งชาติเอราวัณ

อุทยานแห่งชาติเอราวัณ เป็นอุทยานแห่งชาติที่ตั้งอยู่ในจังหวัดกาญจนบุรี.

ดู รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและอุทยานแห่งชาติเอราวัณ

อนุดิษฐ์ นาครทรรพ

นาวาอากาศเอก อนุดิษฐ์ นาครทรรพ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และรักษาการแทนรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอดีตที่ปรึกษาและโฆษกและเลขานุการศูนย์รักษาความสงบ ในรัฐบาลของนายกรัฐมนตรี นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร สังกัดพรรคเพื่อไท.

ดู รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและอนุดิษฐ์ นาครทรรพ

จักรทิพย์ ชัยจินดา

ลตำรวจเอก จักรทิพย์ ชัยจินดา (ชื่อเล่น: แป๊ะ, เกิด 19 ตุลาคม พ.ศ. 2502) ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ, สมาชิกคณะรักษาความสงบแห่งชาติ, นายตำรวจราชสำนักเวร, กรรมการในคณะกรรมการนโยบายป่าไม้แห่งชาติ, กรรมการในคณะกรรมการเตรียมการด้านการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์แห่งชาติ, กรรมการในคณะกรรมการสำนักงานป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน, กรรมการในคณะกรรมการบริหารการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก, กรรมการในคณะกรรมการขับเคลื่อนการแก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้, กรรมการในคณะกรรมการนโยบายการจัดการปัญหาแรงงานต่างด้าวและการค้ามนุษย์, กรรมการในคณะกรรมการป้องกันและแก้ไขปัญหาทางพระพุทธศาสนา, กรรมการในคณะกรรมการนโยบายแก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์และการทำประมงผิดกฎหมาย, ประธานกรรมการคณะกรรมการกำกับธุรกิจรักษาความปลอดภัย, กรรมการในคณะกรรมการนโยบายทรัพย์สินทางปัญญาแห่งชาติ, กรรมการศูนย์อำนวยการต่อต้านการทุจริตแห่งชาติ,กรรมการในคณะกรรมการนโยบายการบริหารจัดการ การทำงานของคนต่างด้าว, กรรมการ ในคณะกรรมการจัดกิจกรรมเฉลิมฉลองครบรอบ 100 ปี การประกาศใช้ธงไตรรงค์เป็นธงชาติไทย ตามคำสั่งนายกรัฐมนตรีที่ 210/2559, กรรมการในคณะกรรมการเพื่อเตรียมการเพื่อสร้างความสามัคคีปรองดอง และ กรรมการในคณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติกรรมการบริหาร มูลนิธิราชประชานุเคราะห์ ในพระบรมราชูปถัมภ์กรรมการในคณะกรรมการการบริหารการแก้ไขบำบัดฟื้นฟูเด็กและเยาวชนที่กระทำผิดใน รัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา ประธาน บริษัท พรีเมียร์ลีกไทยแลนด์ จำกัด ประธานสโมสร โปลิศ เทโร กรรมการในคณะกรรมการมูลนิธิโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราช และ อดีตกรรมการอิสระ บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) อดีตรองผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ พล.ต.อ.จักรทิพย์ ชัยจินดา เกิดเมื่อวันที่ 19 ตุลาคม พ.ศ.

ดู รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและจักรทิพย์ ชัยจินดา

จิร วิชิตสงคราม

ลเอก จิร วิชิตสงคราม (? - พ.ศ. 2522) เป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม รัฐมนตรี ปลัดกระทรวงกลาโหม เสนาธิการกลาโหม และเสนาธิการกองทัพบก.

ดู รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและจิร วิชิตสงคราม

ธรรมรักษ์ อิศรางกูร ณ อยุธยา

ลเอก ธรรมรักษ์ อิศรางกูร ณ อยุธยา อดีตรองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม สมัยรัฐบาลของ พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร.

ดู รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและธรรมรักษ์ อิศรางกูร ณ อยุธยา

ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พุทธศักราช 2520

รรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พุทธศักราช 2520 เป็น รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับที่ 12 ได้ประกาศใช้ใน ราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน..

ดู รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พุทธศักราช 2520

ธีรชัย นาควานิช

ลเอก ธีรชัย นาควานิช (ชื่อเล่น: หมู, เกิด 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2498) อดีตองคมนตรี ราชองครักษ์พิเศษตุลาการศาลทหารสูงสุด ประธานกรรมการ การประปาส่วนภูมิภาค กรรมการการไฟฟ้านครหลวง และสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ อดีตผู้บัญชาการทหารบก, อดีตเลขาธิการคณะรักษาความสงบแห่งชาติ,นายทหารพิเศษประจำ หน่วยทหารรักษาพระองค์ กรมทหารราบที่ 31 รักษาพระองค์ ประธานสโมสรฟุตบอลอาร์มี่ ยูไนเต็ด กรรมการ ธนาคารทหารไท.

ดู รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและธีรชัย นาควานิช

ถนอม กิตติขจร

อมพล จอมพลเรือ จอมพลอากาศ ถนอม กิตติขจร (11 สิงหาคม พ.ศ. 2454—16 มีนาคม พ.ศ. 2547) เป็น อดีตนายกรัฐมนตรีคนที่ 10 ของประเทศไทย ผู้บัญชาการทหารบก รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม และ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ผู้ซึ่งเป็นหัวหน้าคณะรัฐบาลในเหตุการณ์ 14 ตุลา ปี 2516 ซึ่งเป็นเหตุการณ์การประท้วงของ นิสิต นักศึกษา และประชาชน โดยในเหตุการณ์ ทหารได้ใช้อาวุธสงครามเข้าปราบปรามนักศึกษาประชาชนที่ชุมนุมเรียกร้องรัฐธรรมนูญ จนทำให้มีผู้เสียชีวิตเป็นจำนวนมาก เป็นผลให้ จอมพล ถนอม กิตติขจร ต้องประกาศลาออกจากตำแหน่ง และเดินทางออกจากประเทศ พร้อมกับ จอมพล ประภาส จารุเสถียร และ พ.อ.ณรงค์ กิตติขจร ภายหลังเหตุการณ์ จอมพล ถนอม กิตติขจร ก็ได้เดินทางกลับ แล้วบวชเป็นพระสามเณร เป็นชนวนไปสู่การ ขับไล่ ของนักศึกษาธรรมศาสตร์ จนโยงไปสู่เหตุการณ์ 6 ตุลา ปี 2519 ทำให้มีผู้บาดเจ็บ เสียชีวิต และสูญหายจำนวนมาก จอมพล ถนอม กิตติขจร เคยดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีถึง 4 สมัย เป็นระยะเวลาถึง 10 ปี 6 เดือนเศษ และนับจากการเปลี่ยนการปกครอง พ.ศ.

ดู รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและถนอม กิตติขจร

ทวิช เสนีย์วงศ์ ณ อยุธยา

ลเอก ทวิช เสนีวงศ์ ณ อยุธยา (12 มกราคม พ.ศ. 2456 - ???) เป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม และอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม ในรัฐบาลหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช และอดีตสมาชิกว.

ดู รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและทวิช เสนีย์วงศ์ ณ อยุธยา

ทนงศักดิ์ อภิรักษ์โยธิน

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก ทนงศักดิ์ อภิรักษ์โยธิน เกิดเมื่อปี..

ดู รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและทนงศักดิ์ อภิรักษ์โยธิน

ครวญ สุทธานินทร์

ลเอก ครวญ สุทธานินทร์ (18 มิถุนายน พ.ศ. 2442 - ?) เป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมในรัฐบาลนายสัญญา ธรรมศักดิ์ อดีตแม่ทัพภาคที่ 2 อดีตแม่ทัพภาคที่ 3 และอดีตรองประธานวุฒิสภาคนที่ 2.

ดู รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและครวญ สุทธานินทร์

ครองแผ่นดินโดยธรรม

หน้าปกสื่อบันทึกเสียง ของเพลง "ครองแผ่นดินโดยธรรม" ครองแผ่นดินโดยธรรม เป็นชื่อเพลงที่กระทรวงกลาโหม, กองทัพไทย และสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ร่วมกับ บริษัท เวิร์คพอยท์ เอ็นเทอร์เทนเมนท์ จำกัด (มหาชน) จัดทำขึ้นเพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เนื่องในพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ 5 ธันวาคม 2554 โดยเพลงและมิวสิกวิดีโอดังกล่าว เผยแพร่เป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ.

ดู รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและครองแผ่นดินโดยธรรม

ความขัดแย้งระหว่างพม่ากับกะเหรี่ยง

วามขัดแย้งระหว่างพม่ากับกะเหรี่ยง (พ.ศ. 2492 – ปัจจุบัน) เป็นการขัดกันด้วยอาวุธในพม่า ซึ่งถือว่าเป็นสงครามกลางเมืองที่ยาวนานที่สุดในโลก ขบวนการชาตินิยมกะเหรี่ยงได้ต่อสู้เพื่อสิทธิในการปกครองตนเองหรือเอกราชจากพม่า ชาวกะเหรี่ยงได้ต่อสู้เพื่อให้รัฐกะเหรี่ยงเป็นเอกราชตั้งแต..

ดู รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและความขัดแย้งระหว่างพม่ากับกะเหรี่ยง

คณะรัฐมนตรีไทย

ณะรัฐมนตรีไทยเป็นคณะบุคคลที่ทำหน้าที่บริหารราชการแผ่นดินในราชอาณาจักรไทย คณะรัฐมนตรีเป็นกลุ่มบุคคลหลักที่ขับเคลื่อนส่วนราชการต่างๆของรัฐบาลไทย สมาชิกของคณะรัฐมนตรีนั้นจะได้รับการเสนอชื่อโดยนายกรัฐมนตรีและได้รับการแต่งตั้งอย่างเป็นทางการโดยพระมหากษัตริย์ไทยซึ่งประกอบไปด้วย รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีประจำกระทรวงต่างๆ โดยมีนายกรัฐมนตรีเป็นหัวหน้าคณะ คณะรัฐมนตรีไทยนั้นมีขึ้นครั้งแรกหลังจากการเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นระบอบประชาธิบไตยตามพระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พุทธศักราช 2475 ซึ่งในขณะนั้นเรียกว่าคณะกรรมการราษฎร และหลังจากมีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช พ.ศ.

ดู รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและคณะรัฐมนตรีไทย

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 2

ณะรัฐมนตรี คณะที่ 2 (10 ธันวาคม พ.ศ. 2475 - 1 เมษายน พ.ศ. 2476) พระยามโนปกรณ์นิติธาดา นายกรัฐมนตรีคนที่ 1 หัวหน้าคณะรัฐมนตรีคณะที่ 2 พระยามโนปกรณ์นิติธาดา (ก้อน หุตะสิงห์) เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการ ลงวันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ.

ดู รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 2

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 29

ณะรัฐมนตรี คณะที่ 29 (9 กุมภาพันธ์ 2502 - 8 ธันวาคม 2506) จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ นายกรัฐมนตรีคนที่ 11 หัวหน้าคณะรัฐมนตรีคณะที่ 29 จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการ เมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2502 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงลงพระปรมาภิไธยในประกาศ พลเอกสุทธิ์ สุทธิสารรณกร ประธานสภาร่างรัฐธรรมนูญเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ และในวันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2502 ได้มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งคณะรัฐมนตรี.

ดู รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 29

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 53

นายชวน หลีกภัย นายกรัฐมนตรีคนที่ 20 หัวหน้าคณะรัฐมนตรีคณะที่ 53 คณะรัฐมนตรีคณะที่ 53 (14 พฤศจิกายน 2540 - 9 พฤศจิกายน 2543) นายชวน หลีกภัย เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการ เมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน 2540 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงลงพระปรมาภิไธยในประกาศ นายวันมูหะมัดนอร์ มะทา ประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ.

ดู รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 53

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 6

ระยาพหลพลพยุหเสนา นายกรัฐมนตรีคนที่ 2 หัวหน้าคณะรัฐมนตรีคณะที่ 6 คณะรัฐมนตรีคณะที่ 6 (22 กันยายน พ.ศ. 2477 - 9 สิงหาคม พ.ศ.

ดู รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 6

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 7

ระยาพหลพลพยุหเสนา นายกรัฐมนตรีคนที่ 2 หัวหน้าคณะรัฐมนตรีคณะที่ 7 คณะรัฐมนตรี คณะที่ 7 ของไทย (9 สิงหาคม พ.ศ. 2480 - 21 ธันวาคม พ.ศ.

ดู รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 7

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 8

ระยาพหลพลพยุหเสนา นายกรัฐมนตรีคนที่ 2 หัวหน้าคณะรัฐมนตรีคณะที่ 8 พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรรณไวทยากร, (ซ้ายสุด) จิตร ณ สงขลา, (แถวบนซ้ายสุด) หลวงชำนาญยุทธศิลป์, (ที่ 3 จากซ้าย) ควง อภัยวงศ์ คณะรัฐมนตรี คณะที่ 8 ของไทย (21 ธันวาคม พ.ศ.

ดู รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 8

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 9

นายพันเอก หลวงพิบูลสงคราม (แปลก ขีตตะสังคะ) นายกรัฐมนตรีคนที่ 3 หัวหน้าคณะรัฐมนตรีคณะที่ 9 หลวงพรหมโยธี คณะรัฐมนตรี คณะที่ 9 ของไทย (16 ธันวาคม พ.ศ.

ดู รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 9

คณะองคมนตรีไทย

ณะองคมนตรีในประเทศไทย คือกลุ่มบุคคลที่ให้คำปรึกษาแก่พระมหากษัตริย์ โดยในอดีตเคยใช้ชื่อ ปรีวีเคาน์ซิล (สภาที่ปฤกษาในพระองค์), องคมนตรีสภา, และ สภากรรมการองคมนตรี ตามลำดับ ก่อนจะเปลี่ยนมาเป็นชื่อปัจจุบัน.

ดู รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและคณะองคมนตรีไทย

ประพัฒน์ กฤษณจันทร์

ลเรือเอก ประพัฒน์ กฤษณจันทร์ (11 มกราคม พ.ศ. 2473 - 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2540) เป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ในรัฐบาลนายอานันท์ ปันยารชุน อดีตผู้บัญชาการทหารเรือ และอดีตรองหัวหน้าคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาต.

ดู รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและประพัฒน์ กฤษณจันทร์

ประมาณ อดิเรกสาร

ลเอก พลตำรวจเอก ประมาณ อดิเรกสาร (31 ธันวาคม พ.ศ. 2456 - 20 สิงหาคม พ.ศ. 2553) นักการเมืองไทย อดีตรองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย กระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เคยเป็นสมาชิกพรรคเสรีมนังคศิลา เมื่อ..

ดู รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและประมาณ อดิเรกสาร

ประวิตร วงษ์สุวรรณ

ลเอก ประวิตร วงษ์สุวรรณ (เกิด 11 สิงหาคม พ.ศ. 2488) เป็นรองนายกรัฐมนตรีฝ่ายความมั่นคงและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมตั้งแต่ปี 2557 รองหัวหน้าและประธานคณะที่ปรึกษาคณะรักษาความสงบแห่งชาติ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ในรัฐบาลนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ และอดีตผู้บัญชาการทหารบก.

ดู รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและประวิตร วงษ์สุวรรณ

ประสงค์ สุ่นศิริ

นาวาอากาศตรี ประสงค์ สุ่นศิริ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ อดีตเลขาธิการนายกรัฐมนตรี (พลเอกเปรม ติณสูลานนท์) และผู้อำนวยการหนังสือพิมพ์แนวหน้.

ดู รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและประสงค์ สุ่นศิริ

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ดู รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและประเทศไทย

ประเทือง กีรติบุตร

ตราจารย์พิเศษ นายกองใหญ่ ประเทือง กีรติบุตร อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ในรัฐบาลพลเอก เปรม ติณสูลานนท์ (ครม.42) และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย, รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย ในรัฐบาลพลเอก เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ (ครม.41) อดีตตุลาการรัฐธรรมนูญ อดีตสมาชิกวุฒิสภา และอดีตประธานกรรมการอัยการ.

ดู รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและประเทือง กีรติบุตร

ปรีชา เอี่ยมสุพรรณ

ล.อ.ปรีชา เอี่ยมสุพรรณ.

ดู รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและปรีชา เอี่ยมสุพรรณ

นายกรัฐมนตรีไทย

นายกรัฐมนตรีไทย เป็นประธานแห่งคณะรัฐมนตรีไทย และทำหน้าที่หัวหน้ารัฐบาลของประเทศไทย โดยมีจุดกำเนิดมาจากการปฏิวัติสยาม พ.ศ.

ดู รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและนายกรัฐมนตรีไทย

แปลก พิบูลสงคราม

งครามอินโดจีน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เมื่อครั้งผนวชทรงรับบาตรจากจอมพล ป. นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น จอมพล จอมพลเรือ จอมพลอากาศ แปลก พิบูลสงคราม (14 กรกฎาคม พ.ศ.

ดู รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและแปลก พิบูลสงคราม

โมเช ดายัน

มเช ดายัน (משה דיין, Moshe Dayan; 20 พฤษภาคม พ.ศ. 2458 – 16 ตุลาคม พ.ศ. 2524) คือผู้บัญชาการเหล่าทัพและนักการเมืองชาวอิสราเอล รู้จักกันดีในฐานะบุรุษตาเดียว.

ดู รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและโมเช ดายัน

โมเช แอเร็นส์

มเช แอเร็นส์ (משה ארנס, Moshe Arens; เกิด 27 ธันวาคม ค.ศ. 1925) เป็นวิศวกรการบิน นักวิจัย อดีตนักการทูตและนักการเมืองชาวอิสราเอล ในระหว่างปี..

ดู รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและโมเช แอเร็นส์

โรงเรียนชัยนาทพิทยาคม

รงเรียนชัยนาทพิทยาคม เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาประจำจังหวัดขนาดใหญ่พิเศษ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 5 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่เลขที่ 55/30 ถนนลูกเสือ 1 ต.

ดู รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและโรงเรียนชัยนาทพิทยาคม

โรงเรียนวัดป่าประดู่

รงเรียนวัดป่าประดู่ ในระยะเริ่มแรกได้รับการก่อตั้งขึ้นให้เป็นโรงเรียนประถมศึกษา เปิดทำการเรียนการสอนครั้งแรกเมื่อวันที่ 30 สิงหาคม พ.ศ.

ดู รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและโรงเรียนวัดป่าประดู่

โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย

รงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย (อักษรย่อ: ส.ก./S.K.) เป็นโรงเรียนชายล้วนในระดับชั้น มัธยมศึกษา สังกัด สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ก่อตั้งโดย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ปัจจุบันตั้งอยู่เลขที่ 88 ถนนตรีเพชร แขวงวังบูรพาภิรมย์ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร บนเนื้อที่ 11 ไร่ 2 งาน 23 ตารางวา ประกอบด้วยอาคารเรียน 7 หลัง ห้องเรียนทั้งหมด 78 ห้อง นอกจากนี้โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยยังโดดเด่นในเรื่องคุณภาพมาตรฐานของศิษย์เก่าที่จบไปโดยเฉพาะด้านวิชาการ ภาษา และความเป็นผู้นำ โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย เป็น 1 ในกลุ่มโรงเรียนจตุรมิตรสามัคคี ซึ่งประกอบด้วย โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย โรงเรียนเทพศิรินทร์ โรงเรียนอัสสัมชัญ และโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย มีการแข่งขันฟุตบอลระหว่างทีมของทั้ง 4 โรงเรียน โดยแต่ละโรงเรียนจะผลัดกันเป็นเจ้าภาพในทุกๆ 2 ปี นอกจากการแข่งขันฟุตบอล ยังมี การแปรอักษร ของทั้ง 4 โรงเรียน ซึ่งเป็นอีกสัญลักษณ์สำคัญของงาน โดยกีฬาจตุรมิตรสามัคคีจะจัดขึ้นในทุกๆ 4 ปี ที่ สนามศุภชลาศัย นอกจากนี้ โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ยังมีงานกรีฑาสวนกุหลาบสัมพันธ์ และงานชุมนุมลูกเสือสวนกุหลาบสัมพันธ์ ซึ่งจัดขึ้นร่วมกับโรงเรียนใน เครือสวนกุหลาบวิทยาลัย เป็นประจำทุกปี โดยแต่ละโรงเรียนจะผลัดกันเป็นเจ้.

ดู รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย

โรงเรียนสามเสนวิทยาลัย

รงเรียนสามเสนวิทยาลัย (ย่อ: ส.ส., S.S.) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษประเภทสหศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต1 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่บนถนนพระรามที่ 6 แขวงพญาไท เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร มีเนื้อที่จำนวน 22 ไร่ 1 งาน 44 ตารางว.

ดู รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและโรงเรียนสามเสนวิทยาลัย

โรงเรียนปทุมคงคา

รงเรียนปทุมคงคา (Patumkongka School) เป็นโรงเรียนชายล้วนระดับมัธยมศึกษา สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่เลขที่ 920 ถนนสุขุมวิท แขวงพระโขนง เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร.

ดู รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและโรงเรียนปทุมคงคา

โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา

รงเรียนเตรียมอุดมศึกษา (Triam Udom Suksa School) เป็นโรงเรียนสหศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายแห่งแรกของประเทศไทย อยู่ในความดูแลของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ก่อตั้งเมื่อวันที่ 3 มกราคม พ.ศ.

ดู รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา

เชษฐา ฐานะจาโร

ลเอกเชษฐา ฐานะจาโร (23 สิงหาคม พ.ศ. 2481 —) ประธานที่ปรึกษาพรรคเพื่อไทย อดีตหัวหน้าพรรครวมใจไทยชาติพัฒนา อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม อดีตผู้บัญชาการทหารบก และอดีตแม่ทัพภาคที่ 1.

ดู รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและเชษฐา ฐานะจาโร

เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ (17 ธันวาคม พ.ศ. 2460 - 23 ธันวาคม พ.ศ. 2546) อดีตนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ผู้บัญชาการทหารสูง.

ดู รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและเกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์

เล็ก แนวมาลี

ลเอก นายกองใหญ่ เล็ก แนวมาลี อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย และอดีตสมาชิกวุฒิสภาไท.

ดู รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและเล็ก แนวมาลี

เสถียร เพิ่มทองอินทร์

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก เสถียร เพิ่มทองอินทร์ อดีตปลัดกระทรวงกลาโหม อดีตเป็นประธานคณะที่ปรึกษากองบัญชาการกองทัพไทย และได้รับโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งเป็นปลัดกระทรวงกลาโหม สืบต่อจาก พล.อ.กิตติพงษ์ เกษโกวิท ที่เกษียณอายุราชการ ในเดือนตุลาคม พ.ศ.

ดู รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและเสถียร เพิ่มทองอินทร์

เหตุการณ์ 6 ตุลา

หตุการณ์ 6 ตุลา เป็นเหตุการณ์จลาจลและปราบปรามนักศึกษาและผู้ประท้วงในและบริเวณหน้ามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ และท้องสนามหลวง ขณะที่นักศึกษาจากหลายมหาวิทยาลัยกำลังชุมนุมประท้วงการเดินทางกลับประเทศของจอมพลถนอม กิตติขจร อดีตนายกรัฐมนตรี ที่สนามฟุตบอลมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โดยสถิติอย่างเป็นทางการระบุว่า มีผู้เสียชีวิต 46 คน ซึ่งมีทั้งถูกยิงด้วยอาวุธปืน ถูกทุบตี หรือถูกทำให้พิการHandley, Paul M.

ดู รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและเหตุการณ์ 6 ตุลา

เจ้าพระยาบดินทรเดชานุชิต (แย้ม ณ นคร)

ลเอก เจ้าพระยาบดินทรเดชานุชิต (แย้ม ณ นคร) (21 เมษายน พ.ศ. 2410 - 1 มีนาคม พ.ศ. 2504) อดีตเสนาบดีกระทรวงกลาโหม ระหว่าง 1 เมษายน..

ดู รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและเจ้าพระยาบดินทรเดชานุชิต (แย้ม ณ นคร)

เจ้าพระยาวงศาสุรศักดิ์ (แสง วงศาโรจน์)

้าพระยาวงศาสุรศักดิ์ (แสง วงศาโรจน์) ที่สมุหพระกลาโหม ในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ต้นสกุล วงศาโรจน.

ดู รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและเจ้าพระยาวงศาสุรศักดิ์ (แสง วงศาโรจน์)

เจ้าพระยาสุรวงษ์ไวยวัฒน์ (วร บุนนาค)

้าพระยาสุรวงษ์ไวยวัฒน์ (วร บุนนาค) (พ.ศ. 2371 - พ.ศ. 2431) มีนามเดิมว่า วร หรือ วอน เป็นบุตรชายใหญ่ของสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) กับท่านผู้หญิงกลิ่น ธิดาหลวงแก้วอายัติ (จาด) ท่านเริ่มรับราชการตั้งแต่รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ต่อมาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้เป็นเจ้าหมื่นไวยวรนารถ หัวหมื่นมหาดเล็ก และเป็นอุปทูตติดตามพระยาศรีพิพัฒน์ (แพ บุนนาค) ราชทูต ออกไปเจริญทางพระราชไมตรีที่กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส ในปี พ.ศ.

ดู รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและเจ้าพระยาสุรวงษ์ไวยวัฒน์ (วร บุนนาค)

เปรม ติณสูลานนท์

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก เปรม ติณสูลานนท์ ประธานองคมนตรี รัฐบุรุษ อดีตผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร และนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 16 ดำรงตำแหน่ง 3 สมัย ระหว่างปี..

ดู รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและเปรม ติณสูลานนท์

หรือที่รู้จักกันในชื่อ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมรายนามรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยรายนามเสนาบดี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมรายนามเสนาบดีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมรายนามเสนาบดีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยเสนาบดีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม

สมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดชสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิตสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)สฤษดิ์ ธนะรัชต์สะพานมิตรภาพ (ไทย–มาเลเซีย)สัมพันธ์ บุญญานันต์สำนักงานคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติสำนักงานคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกสิทธิ จิรโรจน์สุกำพล สุวรรณทัตสุจินดา คราประยูรสุเมธ โพธิ์มณีสถาบันเทคโนโลยีป้องกันประเทศ (องค์การมหาชน)สถานการณ์ฉุกเฉินสงัด ชลออยู่หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมชหลวงชาตินักรบ (ศุข ชาตินักรบ)หลวงสารานุประพันธ์ (นวล ปาจิณพยัคฆ์)หลวงเกรียงศักดิ์พิชิต (พิชิต เกรียงศักดิ์พิชิต)อภิวันท์ วิริยะชัยอุทยานแห่งชาติเอราวัณอนุดิษฐ์ นาครทรรพจักรทิพย์ ชัยจินดาจิร วิชิตสงครามธรรมรักษ์ อิศรางกูร ณ อยุธยาธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พุทธศักราช 2520ธีรชัย นาควานิชถนอม กิตติขจรทวิช เสนีย์วงศ์ ณ อยุธยาทนงศักดิ์ อภิรักษ์โยธินครวญ สุทธานินทร์ครองแผ่นดินโดยธรรมความขัดแย้งระหว่างพม่ากับกะเหรี่ยงคณะรัฐมนตรีไทยคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 2คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 29คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 53คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 6คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 7คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 8คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 9คณะองคมนตรีไทยประพัฒน์ กฤษณจันทร์ประมาณ อดิเรกสารประวิตร วงษ์สุวรรณประสงค์ สุ่นศิริประเทศไทยประเทือง กีรติบุตรปรีชา เอี่ยมสุพรรณนายกรัฐมนตรีไทยแปลก พิบูลสงครามโมเช ดายันโมเช แอเร็นส์โรงเรียนชัยนาทพิทยาคมโรงเรียนวัดป่าประดู่โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยโรงเรียนสามเสนวิทยาลัยโรงเรียนปทุมคงคาโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาเชษฐา ฐานะจาโรเกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์เล็ก แนวมาลีเสถียร เพิ่มทองอินทร์เหตุการณ์ 6 ตุลาเจ้าพระยาบดินทรเดชานุชิต (แย้ม ณ นคร)เจ้าพระยาวงศาสุรศักดิ์ (แสง วงศาโรจน์)เจ้าพระยาสุรวงษ์ไวยวัฒน์ (วร บุนนาค)เปรม ติณสูลานนท์