โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

เกริกกำพล ประถมปัทมะ

ดัชนี เกริกกำพล ประถมปัทมะ

หน้าปกอัลบั้ม วิชาแพะ (จากซ้าย) อ๊อด, แอ๊ด, เล็ก เกริกกำพล ประถมปัทมะ หรือที่รู้จักในชื่อ อ๊อด คาราบาว (ชื่อเดิม: อนุพงษ์ ประถมปัทมะ) เป็นอดีตสมาชิกวงเพรสซิเดนท์ และได้เป็นสมาชิกของวงคาราบาวในตำแหน่งมือเบสตั้งแต่ปี พ.ศ. 2528 โดยอ๊อด คาราบาวโด่งดังจากการร้องเพลงกระถางดอกไม้ให้คุณ ในอัลบั้มเวลคัม ทู ไทยแลนด์เมื่อปี..

70 ความสัมพันธ์: ช้างไห้พ.ศ. 2494พ.ศ. 2525พ.ศ. 2526พ.ศ. 2528พ.ศ. 2529พ.ศ. 2530พ.ศ. 2531พ.ศ. 2532พ.ศ. 2533พ.ศ. 2534พ.ศ. 2535พ.ศ. 2536พ.ศ. 2537พ.ศ. 2538พ.ศ. 2540พ.ศ. 2541พ.ศ. 2543พ.ศ. 2544พ.ศ. 2545พ.ศ. 2548พ.ศ. 2550พ.ศ. 2552พ.ศ. 2554พ.ศ. 2557พออยู่พอกินกำลังใจคาราบาว 30 ปีกีตาร์กีตาร์เบสมิวสิกวิดีโอยืนยง โอภากุลรุ่นคนสร้างชาติร็อกลูกลุงขี้เมาวิชาแพะสวัสดีประเทศไทยสหรัฐสัจจะ ๑๐ ประการสามัคคีประเทศไทยสาวเบียร์ช้างหากหัวใจยังรักควายห้ามจอดควายอำเภอเมืองสุรินทร์อเมริกันอันธพาลอเมริโกยจังหวัดพระนครศรีอยุธยาจังหวัดสุรินทร์ท.ทหารอดทนทับหลัง (อัลบั้มเพลง)คอนเสิร์ต...คอนเสิร์ตทำโดยคนไทยคาราบาวประชาธิปไตย (อัลบั้ม)ปรีชา ชนะภัยนักสู้ผู้ยิ่งใหญ่แจกกล้วยแป๊ะขายขวดโรงเรียนมัธยมวัดมกุฏกษัตริย์โฮะไพรัช เพิ่มฉลาดเช' ยังไม่ตายเบสเพรสซิเดนท์เพลงเพื่อชีวิตเมด อิน ไทยแลนด์เวลคัมทูไทยแลนด์เสียงเพลงแห่งเสรีภาพเส้นทางสายปลาแดกเซียมหล่อตือ หมูสยาม14 มิถุนายน ขยายดัชนี (20 มากกว่า) »

ช้างไห้

้างไห้ เป็นสตูดิโออัลบั้มลำดับที่ 13 ของวงคาราบาว ออกวางจำหน่ายในปี พ.ศ. 2536 ในรูปแบบซีดี แผ่นเสียง และเทปคาสเซ็ท โดยออกในนามบริษัท ดี-เดย์ เอ็นเทอร์เทนเมนท.

ใหม่!!: เกริกกำพล ประถมปัทมะและช้างไห้ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2494

ทธศักราช 2494 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1951.

ใหม่!!: เกริกกำพล ประถมปัทมะและพ.ศ. 2494 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2525

ทธศักราช 2525 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1982 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปี สมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ 200 ปี.

ใหม่!!: เกริกกำพล ประถมปัทมะและพ.ศ. 2525 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2526

ทธศักราช 2526 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1983 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: เกริกกำพล ประถมปัทมะและพ.ศ. 2526 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2528

ทธศักราช 2528 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1985 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: เกริกกำพล ประถมปัทมะและพ.ศ. 2528 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2529

ทธศักราช 2529 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1986 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: เกริกกำพล ประถมปัทมะและพ.ศ. 2529 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2530

ทธศักราช 2530 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1987 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: เกริกกำพล ประถมปัทมะและพ.ศ. 2530 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2531

ทธศักราช 2531 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1988 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ (ลิงก์ไปยังปฏิทิน) ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: เกริกกำพล ประถมปัทมะและพ.ศ. 2531 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2532

ทธศักราช 2532 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1989 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: เกริกกำพล ประถมปัทมะและพ.ศ. 2532 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2533

ทธศักราช 2533 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1990 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: เกริกกำพล ประถมปัทมะและพ.ศ. 2533 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2534

ทธศักราช 2534 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1991 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: เกริกกำพล ประถมปัทมะและพ.ศ. 2534 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2535

ทธศักราช 2535 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1992 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: เกริกกำพล ประถมปัทมะและพ.ศ. 2535 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2536

ทธศักราช 2536 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1993 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: เกริกกำพล ประถมปัทมะและพ.ศ. 2536 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2537

ทธศักราช 2537 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1994 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: เกริกกำพล ประถมปัทมะและพ.ศ. 2537 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2538

ทธศักราช 2538 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1995 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: เกริกกำพล ประถมปัทมะและพ.ศ. 2538 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2540

ทธศักราช 2540 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1997 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: เกริกกำพล ประถมปัทมะและพ.ศ. 2540 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2541

ทธศักราช 2541 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1998 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: เกริกกำพล ประถมปัทมะและพ.ศ. 2541 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2543

ทธศักราช 2543 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2000 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: เกริกกำพล ประถมปัทมะและพ.ศ. 2543 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2544

ทธศักราช 2544 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2001 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: เกริกกำพล ประถมปัทมะและพ.ศ. 2544 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2545

ทธศักราช 2545 V 2002 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2002 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: เกริกกำพล ประถมปัทมะและพ.ศ. 2545 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2548

ทธศักราช 2548 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2005 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรโกเรียน และเป็น.

ใหม่!!: เกริกกำพล ประถมปัทมะและพ.ศ. 2548 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2550

ทธศักราช 2550 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2007 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: เกริกกำพล ประถมปัทมะและพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2552

ทธศักราช 2552 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2009 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีสุดท้ายในคริสต์ทศวรรษ 2000.

ใหม่!!: เกริกกำพล ประถมปัทมะและพ.ศ. 2552 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2554

ทธศักราช 2554 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2011 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: เกริกกำพล ประถมปัทมะและพ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2557

ทธศักราช 2557 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2014 วันแรกของปีตรงกับวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน นับเป็นปีที่ 2014 ตามกำหนดสากลศักราช และปีที่ 2557 ตามกำหนดพุทธศักร.

ใหม่!!: เกริกกำพล ประถมปัทมะและพ.ศ. 2557 · ดูเพิ่มเติม »

พออยู่พอกิน

ออยู่พอกิน เป็นสตูดิโออัลบั้มลำดับที่ 20 ของวงคาราบาว ออกจำหน่ายถัดจากอัลบั้มชุดที่แล้วเพียง 3 เดือน เนื่องจากชุดนี้มีบทเพลงที่จำเป็นผลิตเพื่อออกเผยแพร่ในช่วงเดือนที่มีวันเฉลิมพระชนมพรรษา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 โดยนำเอาพระราชดำริของในหลวงว่าด้วยหลักทฤษฎีใหม่ เศรษฐกิจพอเพียง เพื่อให้ประชาชนคนไทยใช้ชีวิตแบบพออยู่พอกิน มาถ่ายทอดเนื้อหาเป็นบทเพลงชื่อเดียวกับชื่ออัลบั้ม โดยทำดนตรีด้วยจังหวะสนุกสนานแบบ สามช่า ตามสไตล์ของวง ดังที่เคยทำไว้ในเพลง วณิพก นอกจากนี้ยังมีบทเพลง ลมพัดใจเพ ซึ่งกลายเป็นเพลงฟังที่ฮิตอีกเพลงหนึ่งจากเสียงร้องของ เทียรี่ เมฆวัฒนา จนมีนักร้องท่านอื่น ๆ นำไปร้องต่ออีกด้ว.

ใหม่!!: เกริกกำพล ประถมปัทมะและพออยู่พอกิน · ดูเพิ่มเติม »

กำลังใจคาราบาว 30 ปี

กำลังใจคาราบาว 30 ปี เป็นสตูดิโออัลบั้มลำดับที่ 27 ของวงคาราบาว ออกวางจำหน่ายครั้งแรกวันที่ 27 สิงหาคม พ.ศ. 2554 สังกัด วอร์นเนอร์ มิวสิก ไทยแลนด์ โดยเป็นอัลบั้มที่ทำขึ้นเนื่องในโอกาสครบรอบ 30 ปีของวง ออกจำหน่ายในรูปแบบซีดีและโบนัสดีวีดี ต่อมามีการเปลี่ยนปกใหม่เป็นคอลเลกชั่นพิเศษโดยใช้ชื่ออัลบั้ม ผู้ปิดทองหลังพระ โดยนำเพลง ผู้ปิดทองหลังพระ ซึ่งวงคาราบาวจัดทำเนื่องในโอกาสมหามงคลที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงเจริญพระชนมายุ 84 พรรษา มาไว้เป็นเพลงแรกของอัลบั้ม และยังได้เพิ่มโบนัสแทร็ค โดยนำบทเพลงที่ทางวงแต่งขึ้นจากเหตุการณ์วิกฤติอุทกภัยในประเทศไทยอีก 3 เพลง มาไว้ในอัลบั้มด้วย ออกวางจำหน่ายเฉพาะที่เซเว่น อีเลฟเว่น ในเพลง ลำนำสามก๊ก ซึ่งเป็นเพลงสุดท้าย เป็นเพลงที่นำมาจากบทกวี "ฉือ" จากตำราพิชัยยุทธสามก๊ก ซึ่งเป็นเพลงนำของละครโทรทัศน์ชุดสามก๊ก ที่ถอดความเป็นภาษาไทยโดย ทองแถม นาถจำนง.

ใหม่!!: เกริกกำพล ประถมปัทมะและกำลังใจคาราบาว 30 ปี · ดูเพิ่มเติม »

กีตาร์

กีตาร์ (guitar) เป็นเครื่องดนตรีชนิดหนึ่ง จัดเป็นพวกเครื่องสาย มักจะเล่นด้วยนิ้วมือซ้าย และดีดด้วยนิ้วมือขวาหรือใช้ปิ๊กดีดกีตาร์ เสียงของกีตาร์นั้นเกิดจากการสั่นสะเทือนของสาย ทำให้เกิดกำทอน (resonance) แก่ตัวกีตาร์และคอกีตาร์ ยอร์ช กีตาร์นั้น มีทั้งแบบกีตาร์อะคูสติก และกีตาร์ไฟฟ้า บางตัวก็เป็นได้ทั้งสองอย่าง กีตาร์มีส่วนตัวเป็นกล่องกำทอน ซึ่งในกีตาร์อะคูสติกจะเจาะเป็นช่อง ส่วนกีตาร์ไฟฟ้ามักจะตัน และมีโพรงในส่วนคอกีตาร์ โดยทั่วไปแล้วส่วนหัวของกีตาร์จะยืดขึ้นไปจากคอ เพื่อใส่ลูกบิดหมุนสายสำหรับปรับเสียง กีตาร์เป็นเครื่องดนตรีที่นิยมใช้แพร่หลาย และใช้กับดนตรีหลากหลายสไตล์ นับเป็นเครื่องดนตรีที่นิยมใช้บรรเลงเดี่ยวอย่างกว้างขวางที่พบเห็นมากที่สุดคือกีตาร์คลาสสิก และยังเป็นเครื่องดนตรีหลักในวงดนตรีประเภทบลูส์ และดนตรีร็อกอีกด้วย กีตาร์สามารถเล่นในยามว่าง หรือ เป็นงานอดิเรก ได้ดี ปกติกีตาร์จะมี 6 สาย แต่แบบ 4- 7- 8- 10- 12- สายก็มีเช่นกัน ผู้ประดิษฐ์กีตาร์จะเรียกว่า Luthier.

ใหม่!!: เกริกกำพล ประถมปัทมะและกีตาร์ · ดูเพิ่มเติม »

กีตาร์เบส

ป็นเครื่องดนตรีประเภทเครื่องสาย ในทางสากลสามารถเรียกได้ทั้ง electric bass (เบสไฟฟ้า), electric bass guitar (กีตาร์เบสไฟฟ้า) หรือเรียกสั้น ๆ ว่า bass (เบส) ลักษณะของเบสมีขนาดใหญ่กว่ากีตาร์ มีโครงสร้างของคอที่ใหญ่และยาวกว่า มีย่านความถี่เสียงต่ำ มีหน้าที่โดยหลัก ๆ ในการให้จังหวะ คือคุมจังหวะตาม rhythm, line, pattern และ groove ของดนตรี ในขณะเดียวกันก็สามารถขยายระดับความสามารถการเล่นให้สูงขึ้นตามแนวเพลงและการประยุกต์ใช้ต่าง ๆ เช่น เทคนิคการ Slap หรือการตบเบส (รวมไปถึงเทคนิคอื่นที่ใช้ร่วมกันกับการ Slap) ในดนตรี Funk, Jazz และอีกหลายแนว การ Tapping การเดิน Improvising การเล่น Harmonics การเล่น Picking เป็นต้น เบสไฟฟ้าจัดว่าเป็นเครื่องดนตรีที่ถือกำเนิดหลังเครื่องดนตรีอื่น ๆ ในประเภทวงสตริงคือสร้างขึ้นหลัง กีตาร์ กลอง คีย์บอร์ดหรือซินธิไซเซอร์ (รายละเอียดจะมีในหัวข้อประวัติ) เครื่องดนตรีประเภทเบสที่ใช้กันในวงดนตรีและแนวต่าง ๆ ก็จะมี เบสไฟฟ้า เบสโปร่งไฟฟ้า fretless bass (เบสไม่มีเฟรต) และ double bass, upright bass บ้างทีก็เรียกกันว่า acoustic bass แต่ก็มีภาษาพูดเรียกกันติดปากสำหรับนักดนตรีบางคนว่า เบสใหญ่ เบสไฟฟ้าที่ใช้โดยทั่วไปจะมี 4 สาย 5 สาย และ 6 สาย ส่วนสายที่มากไปกว่านี้ก็มีเนื่องจากนักดนตรีบางคนอาจจะออกแบบเพื่อประยุกต์ใช้ทางการเล่นเฉพาะตัว เบส 4 สายการตั้งสายตามมาตรฐานคือ E-A-D-G (เรียงจากต่ำ-สูง) เบส 5 สายคือ B-E-A-D-G ส่วน 6 สายคือ B-E-A-D-G-C แต่อย่างไรก็ตามเบสก็ได้ถูกขยายขอบเขตออกไปตามแนวคิดและการประยุกต์ใช้ของมือเบสต่าง ๆ จำนวนสายก็อาจจะมีอื่น ๆ อีก เช่น 3 สาย, 7 สาย, 8 สาย, 9 สาย เป็นต้น.

ใหม่!!: เกริกกำพล ประถมปัทมะและกีตาร์เบส · ดูเพิ่มเติม »

มิวสิกวิดีโอ

มิวสิกวิดีโอ (Music video) หรือเรียกสั้นๆว่า เอ็มวี (MV) เป็นการถ่ายทอดบทเพลงแบบมีภาพประกอบ โดยยุคแรกๆ มิวสิกวิดีโอ นำมาใช้ในการเผยแพร่เพลงทางโทรทัศน์ ซึ่งมักเป็นรูปแบบการถ่ายภาพวงดนดรีหรือนักร้องที่ร้องเพลง ต่อมามีนำภาพมาประกอบเพลง และพัฒนามาเป็นการการนำเนื้อหาของบทเพลงมาสร้างเป็นเรื่องราว เป็นละครประกอบเพลง พอมาถึงยุคที่คาราโอเกะเป็นที่นิยม มิวสิกวิดีโอ ก็นำมาซ้อนกับเนื้อเพลง ทำเป็น วิดีโอคาราโอเกะ และผลิตเป็นสื่อ วีซีดีคาราโอเกะ ปัจจุบัน มีการให้รางวัลศิลปิน จากการประกวดมิวสิกวิดีโออีกด้วย เช่น งานเอ็มทีวี วิดีโอ มิวสิก อวอร.

ใหม่!!: เกริกกำพล ประถมปัทมะและมิวสิกวิดีโอ · ดูเพิ่มเติม »

ยืนยง โอภากุล

ืนยง โอภากุล หรือที่รู้จักกันดีในชื่อ แอ๊ด คาราบาว เป็นศิลปินเพลงเพื่อชีวิตชาวไทยเชื้อสายจีน เป็นหัวหน้าวงคาราบาว วงดนตรีเพื่อชีวิตและเป็นตำนานเพลงเพื่อชีวิตที่มีชื่อเสียงโด่งดัง ได้รับยกย่องให้เป็น ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (นักร้อง-นักประพันธ์เพลงไทยสากล) ประจำปี พ.ศ. 2556.

ใหม่!!: เกริกกำพล ประถมปัทมะและยืนยง โอภากุล · ดูเพิ่มเติม »

รุ่นคนสร้างชาติ

รุ่นคนสร้างชาติ เป็นสตูดิโออัลบั้มลำดับที่ 14 ของวงคาราบาว ออกวางจำหน่ายในปลายปี พ.ศ. 2537 ในรูปแบบซีดีและเทปคาสเซ็ท โดยเป็นอัลบั้มชุดแรกที่ออกในนามบริษัท วอร์นเนอร์ มิวสิก ไทยแลน.

ใหม่!!: เกริกกำพล ประถมปัทมะและรุ่นคนสร้างชาติ · ดูเพิ่มเติม »

ร็อก

ร็อก (Rock) แนวเพลงที่ได้รับความนิยม มีต้นกำเนิดจากดนตรีร็อกแอนด์โรลในสหรัฐอเมริกาในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1950 และเริ่มพัฒนาสู่แนวเพลงหลายแขนงในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1960 และช่วงหลังจากนั้น โดยเฉพาะในสหราชอาณาจักรและสหรัฐอเมริกาW.

ใหม่!!: เกริกกำพล ประถมปัทมะและร็อก · ดูเพิ่มเติม »

ลูกลุงขี้เมา

ลูกลุงขี้เมา เป็นสตูดิโออัลบั้มลำดับที่ 25 ของวงคาราบาว ออกวางจำหน่ายในเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2550 ในนามบริษัท วอร์นเนอร์ มิวสิก ไทยแลนด์ โดยเป็นอัลบั้มที่ทำขึ้นเนื่องในโอกาสครบรอบ 25 ปีของวง ออกจำหน่ายในรูปแบบ เทปคลาสเซ็ท จำนวน 2 ชุด + ซีดี และ วีซีดี คาราโอเกะ จำนวน 2 แผ่น รวมทั้งสิ้น 18 เพลง และเป็นอัลบั้มชุดสุดท้ายของวงคาราบาวที่ทำออกมาในรูปแบบเทปคลาสเซ็ท.

ใหม่!!: เกริกกำพล ประถมปัทมะและลูกลุงขี้เมา · ดูเพิ่มเติม »

วิชาแพะ

"วิชาแพะ" เป็นสตูดิโออัลบั้มลำดับที่ 11 ของวงคาราบาว ออกจำหน่ายเดือนธันวาคม พ.ศ. 2534 ภายใต้สังกัดดี-เดย์ เอ็นเทอร์เทนเมนท์ วางจำหน่ายทั้งรูปแบบแผ่นเสียง, แผ่นซีดี และ เทปคาสเซตต์ โดยมีสมาชิกของวงเพียง 3 คน คือ ยืนยง โอภากุล, ปรีชา ชนะภัย และ อนุพงษ์ ประถมปัทม.

ใหม่!!: เกริกกำพล ประถมปัทมะและวิชาแพะ · ดูเพิ่มเติม »

สวัสดีประเทศไทย

วัสดีประเทศไทย เป็นสตูดิโออัลบั้มชุดที่ 28 และชุดล่าสุดของวงคาราบาว วางจำหน่ายเมื่อวันที่ 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 ซึ่งวันนั้น วอร์นเนอร์ มิวสิก ไทยแลนด์ ได้จัดแถลงข่าวเปิดอัลบั้มด้วย มีเพลงทั้งสิ้น 11 เพลง อาทิ เพลงชื่อเดียวกับอัลบั้ม มีเนื้อหาเพื่อกระตุ้นจิตสำนึกคนไทยให้หันมองถึงสิ่งที่เกิดขึ้นในแผ่นดินไทย, ใครวะแก๊แก่ บทเพลงเสียดสีที่เต็มไปด้วยอารมณ์ขันสนุก ๆ หยอกเย้ากับชีวิตที่เมื่อมีอายุมากขึ้น ความคะนองที่เคยมีกลับหดหาย แต่ก็ได้ภูมิปัญญาที่สั่งสมมาในแต่ละวันเวลาที่ผ่านไปมาแทน, รักราดแกง เพลงรักที่ชื่อเพลงเปรียบเปรยได้อย่างเห็นภาพชัด กับเรื่องราวชีวิตคู่ที่ไม่ราบรื่น ไม่สดใส แต่หากรู้จักเอาความรัก การให้อภัยมาคลุกเคล้า ความรักก็จะกลมกล่อม มีรสอร่อยเหมือนข้าวราดแกง, วันพ่อ ที่มีเนื้อหามองไปถึงชีวิตของพ่อของใครบางคน ที่ทำหน้าที่เพื่อสังคม ทำงานเก็บขยะ จนยากจะหาเวลาดูแลครอบครัวและลูก ๆ ถึงกับไม่มีเวลาไปร่วมงานวันพ่อที่โรงเรียนของลูกจัดขึ้น, ซานตาน่าคาราบาว ที่แต่งขึ้นเพื่อยกย่องศิลปินละตินร็อคระดับโลก คาร์ลอส ซานตานา ซึ่งวงคาราบาวถือเป็นต้นแบบ และชื่นชอบผลงานเพลงมายาวนาน โดยมีคอนเสิร์ตเปิดอัลบั้ม คือ กินลม ชมบาว ในวันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556.

ใหม่!!: เกริกกำพล ประถมปัทมะและสวัสดีประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

สหรัฐ

หรัฐอเมริกา (United States of America) โดยทั่วไปเรียก สหรัฐ (United States) หรือ อเมริกา (America) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐ ประกอบด้วยรัฐ 50 รัฐ และหนึ่งเขตปกครองกลาง ห้าดินแดนปกครองตนเองสำคัญ และเกาะเล็กต่าง ๆ โดย 48 รัฐและเขตปกครองกลางตั้งอยู่ ณ ทวีปอเมริกาเหนือระหว่างประเทศแคนาดาและเม็กซิโก รัฐอะแลสกาอยู่มุมตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปอเมริกาเหนือ มีเขตแดนติดต่อกับประเทศแคนาดาทางทิศตะวันออกและข้ามช่องแคบเบริงจากประเทศรัสเซียทางทิศตะวันตก และรัฐฮาวายเป็นกลุ่มเกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกกลาง ดินแดนของสหรัฐกระจายอยู่ตามมหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลแคริบเบียน ครอบคลุมเขตเวลาเก้าเขต ภูมิศาสตร์ ภูมิอากาศและสัตว์ป่าของประเทศหลากหลายอย่างยิ่ง สหรัฐมีพื้นที่ขนาด 9.8 ล้านตารางกิโลเมตร มีประชากรราว 326 ล้านคน ทำให้มีพื้นที่ขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 4 ของโลก และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 3 ของโลก เป็นประเทศซึ่งมีความหลากหลายทางเชื้อชาติและวัฒนธรรม และเป็นที่พำนักของประชากรเข้าเมืองใหญ่สุดในโลกAdams, J.Q., and Pearlie Strother-Adams (2001).

ใหม่!!: เกริกกำพล ประถมปัทมะและสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

สัจจะ ๑๐ ประการ

ัจจะ ๑๐ ประการเป็นอัลบั้มชุดที่ 12 ของวงคาราบาว วางจำหน่ายในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2535 จัดจำหน่ายโดย Musica และโปรโมตโดย ดี-เดย์ เอ็นเทอร์เทนเมนท์ (ปัจจุบันคือ วอร์นเนอร์ มิวสิก ไทยแลนด์) โดยมีเพลงในอัลบั้มนี้ทั้งหมด 10 เพลง และมีเพลงฮิตคือ สัจจะ ๑๐ ประการ, ชนะภัย, ช้าก่อน และ "สามช่าจงเจริญ".

ใหม่!!: เกริกกำพล ประถมปัทมะและสัจจะ ๑๐ ประการ · ดูเพิ่มเติม »

สามัคคีประเทศไทย

มัคคีประเทศไทย อัลบั้มชุดที่ 24 ของคาราบาว.

ใหม่!!: เกริกกำพล ประถมปัทมะและสามัคคีประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

สาวเบียร์ช้าง

วเบียร์ช้าง เป็นสตูดิโออัลบั้มลำดับที่ 22 ของวงคาราบาว ออกจำหน่ายเดือนธันวาคม พ.ศ. 2544 ซึ่งอยู่ในช่วงที่ทางวงมีอายุ 20 ปี และเป็นช่วงที่รัฐบาลสมัย พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร มีนโยบายให้ปิดสถานบริการกลางคืนตามเวลากำหนด ทำให้คนทำงานกลางคืนเดือดร้อนกันถ้วนหน้า ด้วยเหตุนี้ทางวงจึงได้แต่งเพลง "ปุระชัยเคอร์ฟิว" ขึ้นมา นอกจากนี้ยังมีเพลงที่ไว้อาลัยเหตุการณ์ตึกถล่มที่เวิลด์เทรดเซ็นเตอร์ สหรัฐอเมริกา ในเพลง "เดือน 9 เช้า 11" และเพลงที่แต่งขึ้นเพื่อสดุดีผู้กล้าหาญของชาติไทย คือ "ดาวแห่งโดม" และ "นางสาวสยาม" อัลบั้มชุดนี้เป็นอัลบั้มภาคปกติชุดเดียวของวงที่ผลิตโดย บริษัท "มองโกล" หลังการแยกตัวจาก กระบือ แอนด์ โค และออกมาก่อนที่ ยืนยง โอภากุล จะทำธุรกิจเครื่องดื่มคาราบาวแดง และทางวงจะกลับไปผลิตผลงานในอัลบั้มถัดไปกับ "วอร์เนอร์ มิวสิก (ประเทศไทย)" โดยเป็นอัลบั้มเพียงชุดเดียวที่ใช้ชื่อยี่ห้อสินค้าสนับสนุนของคาราบาวมาเป็นส่วนหนึ่งของชื่ออัลบั้ม.

ใหม่!!: เกริกกำพล ประถมปัทมะและสาวเบียร์ช้าง · ดูเพิ่มเติม »

หากหัวใจยังรักควาย

หากหัวใจยังรักควาย คืออัลบั้มสตูดิโอชุดที่ 16 ของคาราบาว เป็นอัลบั้มที่เป็นการกลับมาร่วมงานกันของสมาชิกวงในยุคคลาสสิกทั้ง 7 คน โดยออกจำหน่ายเป็น 2 ชุด รวมทั้งสิ้น 20 เพลง เพลงที่ได้รับความนิยมในอัลบั้มชุดนี้ ได้แก่ หลงวัฒน์ เต้าหู้ยี้ และ สามช่าคาราบาว.

ใหม่!!: เกริกกำพล ประถมปัทมะและหากหัวใจยังรักควาย · ดูเพิ่มเติม »

ห้ามจอดควาย

ห้ามจอดควายเป็นสตูดิโออัลบั้มลำดับที่ 10 ของวงคาราบาว จัดจำหน่ายครั้งแรกในเดือนมีนาคม..

ใหม่!!: เกริกกำพล ประถมปัทมะและห้ามจอดควาย · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเมืองสุรินทร์

มืองสุรินทร์ เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดสุรินทร.

ใหม่!!: เกริกกำพล ประถมปัทมะและอำเภอเมืองสุรินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

อเมริกันอันธพาล

อเมริกันอันธพาล เป็นสตูดิโออัลบั้มชุดที่ 19 ของวงคาราบาว และเป็นอัลบั้มที่ 2 ที่ออกกับสังกัดวอร์นเนอร์ มิวสิก โดยทางวงลดความเคร่งเครียดของเนื้อหาลงมาจากชุดที่แล้ว และทำเพลงร่วมสมัยและฟังง่ายมากขึ้น โดยมีส่วนผสมของเพลงบลูส์และริทึมแอนด์บลูส์เข้ามาเพิ่มความแปลกใหม่ในดนตรีของคาราบาวเอง จึงให้เป็นอัลบั้มที่แฟนเพลงคาราบาวยุคใหม่ชื่นชอบอัลบั้มหนึ่ง โดยมีเพลงที่ได้รับความนิยมอาทิ อเมริกันอันธพาล, เสือ, ฝัน,สาธุชน,มาลัยเสี่ยงรถ โดยมี กีรติ พรหมสาขา ณ สกลนคร หรือเขียว ซึ่งเป็นสมาชิกเก่าเข้ามาร่วมงานอีกครั้ง ซึ่งอัลบั้มชุดนี้ได้รับรางวัลสีสันอะวอร์ดส์ 2 รางวัล คือ อัลบั้มยอดเยี่ยม และโปรดิวเซอร์ยอดเยี่ยม ประจำปี พ.ศ. 2541.

ใหม่!!: เกริกกำพล ประถมปัทมะและอเมริกันอันธพาล · ดูเพิ่มเติม »

อเมริโกย

อเมริโกย เป็นสตูดิโออัลบั้มชุดที่ 6 ของวงคาราบาว วางจำหน่ายวันที่ 1 ธันวาคม..

ใหม่!!: เกริกกำพล ประถมปัทมะและอเมริโกย · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

ังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางซึ่งเป็นเขตเศรษฐกิจที่สำคัญ โดยมีผลิตภัณฑ์มวลรวมของจังหวัดมีมูลค่าสูงเป็นอันดับ 3 ของประเทศ และมีประวัติศาสตร์ความเป็นมาที่ยาวนาน เคยมีชื่อเสียงในฐานะเป็นแหล่งปลูกข้าวที่สำคัญ จังหวัดพระนครศรีอยุธยาเป็นจังหวัดที่ไม่มีอำเภอเมือง มีอำเภอพระนครศรีอยุธยาเป็นศูนย์กลางการบริหารจัดการด้านต่าง ๆ ชาวบ้านโดยทั่วไปนิยมเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า "กรุงเก่า" หรือ "เมืองกรุงเก่า".

ใหม่!!: เกริกกำพล ประถมปัทมะและจังหวัดพระนครศรีอยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสุรินทร์

รินทร์ (เขมรถิ่นไทย: ซเร็น) เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่างหรือ "อีสานใต้" มีชื่อเสียงด้านการเลี้ยงช้าง การทอผ้าไหม ข้าวหอมมะลิสุรินทร์ มีผู้คนหลายเผ่าพันธุ์และภาษา เช่น เขมร กูยและลาวหรือไทยอีสาน มีประชากรมากเป็นอันดับที่ 11 และมีพื้นที่กว้างเป็นอันดับที่ 24.

ใหม่!!: เกริกกำพล ประถมปัทมะและจังหวัดสุรินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

ท.ทหารอดทน

ท.ทหารอดทน เป็นสตูดิโออัลบั้มชุดที่ 4 ของวงคาราบาว ออกวางจำหน่ายในปลายปี พ.ศ. 2526 ในรูปแบบแผ่นเสียง และ เทปคาสเซ็ท โดยเป็นอัลบั้มชุดสุดท้ายที่ออกภายใต้สังกัดอโซน่า และ เป็นอัลบั้มแรกที่ได้ เป้า - อำนาจ ลูกจันทร์ และ รัช - ไพรัช เพิ่มฉลาด เข้ามาเป็นสมาชิกใหม่ในวง ในตำแหน่งมือกลอง และ มือเบสตามลำดับ หลังวงคาราบาวประสบความสำเร็จกับอัลบั้มวณิพก เมื่อช่วงต้นปี ทางวงก็เริ่มมีปัญหากับอโซน่าต้นสังกัด เรื่องห้องอัด ที่อโซน่าไม่ยอมให้คาราบาวไปบันทึกเสียงที่ห้องบันทึกเสียงศรีสยาม อัลบั้มชุดนี้จึงเป็นชุดสุดท้ายที่ออกกับค่ายอโซน่า โดยทางวงได้พบกับนักดนตรีฝีมือดีหลายคนในห้องบันทึกเสียงอโซน่า อัลบั้มนี้จึงมีสมาชิกใหม่เพิ่มเข้ามาอีก 2 คน คือ อำนาจ ลูกจันทร์ - มือกลอง และ ไพรัช เพิ่มฉลาด - มือเบส นอกจากนี้ยังได้ เทียรี่ เมฆวัฒนา ดารานายแบบซึ่งมีผลงานเพลงร่วมกับ ไพจิตร อักษรณรงค์ มาร่วมร้องประสานเสียง, ร่วมเล่นกีตาร์ และ อ.ธนิสร์ ศรีกลิ่นดี มาเล่นแซ็กโซโฟนและคลาริเน็ตเป็นแบ็คอัพ และ ร่วมทัวร์คอนเสิร์ตกับทางวงด้วย โดยเฉพาะเทียรี่ที่ต้องเป็นมือกีตาร์แทน เล็ก - ปรีชา ชนะภัย ที่ต้องไปทัวร์คอนเสิร์ตกับวงเพรสซิเดนท์ ที่ สหรัฐอเมริกา ก่อนที่ทั้งสองคนจะกลายเป็นสมาชิกของคาราบาวในอัลบั้มชุดต่อมา อัลบั้มนี้มีบทเพลงที่ได้รับความนิยมอย่างมาก คือเพลง คือเพลง ท.ทหารอดทน แต่กลับถูก คณะกรรมการบริหารวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ (กบว.) สั่งห้ามออกอากาศตามสื่อต่าง ๆ ในเวลาต่อมา เพราะมีเนื้อหาพาดพิงเกี่ยวกับทหารในท่อนที่ร้องว่า ดาวเดือนลอยเกลื่อนท้องฟ้ายิงให้ตกลงมาติดบ่าได้สบาย โดย พลเอก อาทิตย์ กำลังเอก ผบท.

ใหม่!!: เกริกกำพล ประถมปัทมะและท.ทหารอดทน · ดูเพิ่มเติม »

ทับหลัง (อัลบั้มเพลง)

ทับหลัง เป็นสตูดิโออัลบั้มลำดับที่ 9 ของ คาราบาว ภายใต้สังกัดแว่วหวาน กำหนดเดิมออกจำหน่ายวันที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2531 แต่เมื่อทางสถาบันศิลปะนครชิคาโก สหรัฐอเมริกา ยินยอมให้นำทับหลังนารายณ์บรรทมสินธุ์กลับคืนสู่ปราสาทหินพนมรุ้ง จังหวัดบุรีรัมย์ ภายในวันที่ 10 พฤศจิกายน อัลบั้มก็ได้เลื่อนวันจำหน่ายเป็นวันที่ 9 พฤศจิกายน ซึ่งตรงกับวันเกิดของหัวหน้าวงคาราบาว เนื่องจากเนื้อหาของบทเพลงชื่อเดียวกับอัลบั้มเป็นเพียงการเรียกร้องให้กลับคืนมาซึ่งไม่กำหนดวันที่แน่นอน พอเมื่อสถานการณ์พลิกกลับจึงนำเพลง "แม่สาย" ขึ้นมาเป็นเพลงนำร่องอีกเพลงหนึ่ง สมาชิกวงในชุดนี้ยังคงเป็นชุดคลาสสิก แต่สิ่งที่เปลี่ยนแปลงหรือพัฒนาจากชุดที่แล้วก็คือ มีความคืบหน้าทางดนตรีที่เด่นชัดยิ่งขึ้น ด้วยรูปแบบการนำเสนอที่หลากหลาย เช่น มีการเริ่มใช้คอรัสหญิงมาสอดใส่เสียงประสาน มีการใช้เสียงพูดกับดนตรีตลอดเพลง ในภาคการโปรโมทนั้นได้มีการผลิตมิวสิกฟิล์มเป็นครั้งแรกในเพลง "ทับหลัง" และมิวสิกแอนิเมชั่นครั้งแรกในเพลง "แม่สาย" จากฝีมือของกลุ่มอัศเจรีย์ และเพลง "รักทรหด" ที่ได้นำดาวตลกชื่อดังอย่าง อรุณ ภาวิไล และ ปู โลกเบี้ยว มาเล่นมิวสิกวิดีโอให้กับคาราบาวเป็นครั้งแรก ซึ่งเพลงรักทรหดได้มีการถ่ายทอดเรื่องราวต่อเป็นภาคสองในอัลบั้มถัดไป เพลงดังในอัลบั้มชุดนี้ ได้แก่ "ทับหลัง", "รักทรหด"(ภาค 1) และเพลงสะท้อนสังคมที่มีความหมายลึกซึ้งกินใจอย่าง "แม่สาย" ซึ่งเพลงดังกล่าวยังคงถูกเผยแพร่และมีศิลปินคนอื่นๆ ในแนวเดียวกันและต่างแนวนำขับร้องใหม่จนถึงปัจจุบัน ส่วนเพลงที่ถูกทาง กบว. ห้ามออกอากาศได้แก่เพลง "พระอภัยมุณี" และถือเป็นอัลบั้มชุดสุดท้ายของสมาชิกยุคคลาสสิกเมื่อเกิดข่าวการแยกวง จนมีการออกอัลบั้มในลักษณะเดี่ยวและส่วนหนึ่งของวงในภายหลัง.

ใหม่!!: เกริกกำพล ประถมปัทมะและทับหลัง (อัลบั้มเพลง) · ดูเพิ่มเติม »

คอนเสิร์ต

'''ไทยเทเนี่ยมในงาน MTV LIVE – Thaitanium Uncensored''' คอนเสิร์ต (Concert) คือการแสดงสด โดยมากหมายถึงดนตรี เป็นการแสดงต่อหน้าคนดู โดยอาจเป็นการแสดงของนักดนตรีคนเดียว หรือ อาจจะรวมหลายเครื่องดนตรี เช่น วงออร์เคสตรา, วงประสานเสียง หรือ วงดนตรี เราอาจเรียกการแสดงคอนเสิร์ตว่า โชว์ (Show) หรือ กิ๊ก (gig) ทัวร์ คอนเสิร์ต คือการทัวร์ของนักดนตรี กลุ่มดนตรี ศิลปิน ในหลายๆเมือง หลายๆสถานที่ โดยเฉพาะในวงการเพลงป็อปที่จะมีโปรเจกต์ใหญ่หลายเดือน หรือเป็นปี มีการทัวร์อีกประเภทหนึ่งที่มีจุดประสงค์เพื่อการโปรโมทอัลบั้ม ยอดขายของตัวศิลปิน เรียกว่า โปรโมทัวร.

ใหม่!!: เกริกกำพล ประถมปัทมะและคอนเสิร์ต · ดูเพิ่มเติม »

คอนเสิร์ตทำโดยคนไทย

อนเสิร์ตทำโดยคนไทย เป็นการจัดคอนเสิร์ตใหญ่ครั้งแรกของวงคาราบาว เมื่อวันเสาร์ที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2528 ณ.สนามเวโลโดรม ในสนามกีฬาหัวหมาก ซึ่งเป็นครั้งแรกของศิลปินไทยที่มีการจัดคอนเสิร์ตในสนามกีฬา และถ่ายทอดสดทางสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 อีกด้วย คอนเสิร์ตครั้งนี้มีผู้ชมประมาณ 60,000 คน.

ใหม่!!: เกริกกำพล ประถมปัทมะและคอนเสิร์ตทำโดยคนไทย · ดูเพิ่มเติม »

คาราบาว

ราบาว (Carabao) เป็นวงดนตรีเพื่อชีวิตและยังเป็นตำนานเพลงเพื่อชีวิตที่มีชื่อเสียงโด่งดังและยังเป็นวงที่อมตะตลอดกาลของประเทศไทย โดยมี ยืนยง โอภากุล (แอ๊ด) เป็นหัวหน้าวง.

ใหม่!!: เกริกกำพล ประถมปัทมะและคาราบาว · ดูเพิ่มเติม »

ประชาธิปไตย (อัลบั้ม)

ประชาธิปไตย เป็นสตูดิโออัลบั้มลำดับที่ 7 ของ คาราบาว ออกจำหน่ายในเดือน ธันวาคม พ.ศ. 2529 โดยทำขึ้นมาตามกระแสการเรียกร้องประชาธิปไตย โดยมีเพลงที่สะท้อนปัญหาประชาธิปไตยไว้ในชุด คือ ประชาธิปไตย และ ผู้ทน และยังมีบทเพลงอื่น ๆ ซึ่งล้วนเป็นบทเพลงที่มีคุณค่าต่อสังคมไทย โดยอัลบั้มชุดนี้เป็นชุดแรกที่ทางวงได้ทำมิวสิกวิดีโออย่างเป็นทางการขึ้น และมีเพลงดังที่มีการร้องต่ออยู่บ่อยครั้ง คือ เจ้าตาก ซึ่งได้รับรางวัลรองชนะเลิศสาขามิวสิกวิดีโอดีเด่นจากงานประกาศผลรางวัลโทรทัศน์ทองคำ ครั้งที่ 1 และถือเป็นอัลบั้มชุดแรกของวงที่ได้รับรางวัลประเภทมิวสิกวิดีโออีกด้วย รายชื่อเพลงในชุดนี้ตามลำดับ ได้แก่ ตาตี๋, ประชาธิปไตย, ผู้ทน, เจ้าตาก, พ่อ, ถึกควายทุย ภาค 7, วันเด็ก, มหาจำลอง รุ่น 7, มรดกเฮงซวย แล.คว.คน โดยเพลง ผู้ทน, วันเด็ก แล.คว.คน ถูก คณะกรรมการบริหารวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ หรือ กบว.

ใหม่!!: เกริกกำพล ประถมปัทมะและประชาธิปไตย (อัลบั้ม) · ดูเพิ่มเติม »

ปรีชา ชนะภัย

ปรีชา ชนะภัย หรือที่รู้จักกันในชื่อ เล็ก คาราบาว เป็นนักแสดง นักร้อง นักดนตรี และมือกีตาร์วงคาราบาว และเป็นนักกีตาร์ฝีมือดีคนหนึ่งของเมืองไทย มีความสามารถในการเล่นกีตาร์โดยไม่ใช้ปิ๊ก มีฝีมือการโซโล่กีตาร์อันดับต้น ๆ ของประเทศ รวมทั้งเล่นเครื่องดนตรีได้หลากหลาย เช่น แบนโจ, คีย์บอร์ด, เปียโน, กลอง, ซอ เป็นต้น บทเพลงที่แสดงถึงความสามารถทางดนตรีของเล็กที่เห็นเด่นชัดคือเพลง ขุนเขายะเยือก ซึ่งเป็นเพลงบรรเลงที่มีการโซโล่กีตาร์ยาวนานถึง 5 นาที ในอัลบั้ม หากหัวใจยังรักควาย ในปี พ.ศ. 2538 ที่สมาชิกวงในยุคคลาสสิกไลน์อัพกลับมารวมตัวกันอีกครั้ง หลังจากที่แยกย้ายกันไปทำอัลบั้มเดี่ยวของแต่ละคน.

ใหม่!!: เกริกกำพล ประถมปัทมะและปรีชา ชนะภัย · ดูเพิ่มเติม »

นักสู้ผู้ยิ่งใหญ่

นักสู้ผู้ยิ่งใหญ่ เป็นสตูดิโออัลบั้มชุดที่ 23 ของคาราบาว.

ใหม่!!: เกริกกำพล ประถมปัทมะและนักสู้ผู้ยิ่งใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

แจกกล้วย

แจกกล้วย เป็นสตูดิโออัลบั้มลำดับที่ 15 ของวงคาราบาว ออกวางจำหน่ายในปี พ.ศ. 2538 ในรูปแบบซีดีและเทปคาสเซ็ท โดยผลิตในนามบริษัท วอร์นเนอร์ มิวสิก ไทยแลนด์ เพลงที่ได้รับความนิยมในอัลบั้ม ได้แก่ "กำนันผู้ใหญ่บ้าน" เป็นต้น.

ใหม่!!: เกริกกำพล ประถมปัทมะและแจกกล้วย · ดูเพิ่มเติม »

แป๊ะขายขวด

แป๊ะขายขวด เป็นสตูดิโออัลบั้มชุดที่ 2 ของวงคาราบาว ออกวางจำหน่ายในปลายปี..

ใหม่!!: เกริกกำพล ประถมปัทมะและแป๊ะขายขวด · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนมัธยมวัดมกุฏกษัตริย์

รงเรียนมัธยมวัดมกุฏกษัตริย์ (Mathayom Wat Makutkasat School) เป็นโรงเรียนสหศึกษา (เดิมชื่อโรงเรียนวัดมกุฏกษัตริย์ เป็นโรงเรียนชายล้วน) เปิดการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ถึงระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ตั้งอยู่บนพื้นที่ของวัดมกุฏกษัตริยารามวรวิหาร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ก่อตั้งเมื่อวันที่ 7 มิถุนายน พ.ศ. 2494 โดยกระทรวงศึกษาธิการกำหนดสถานที่ตั้งไว้ที่บริเวณหน้าวัดมกุฏกษัตริยารามวรวิหาร หน่วยแนะแนวการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการจัดนักเรียนที่สำเร็จการศึกษาชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ที่หาที่เรียนไม่ได้มาเข้าเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนมัธยมวัดมกุฏกษัตริย์ ตั้งอยู่เลขที่ 330/3 ถนนกรุงเกษม แขวงบางขุนพรหม เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร รหัสไปรษณีย์ 10200 ใช้พื้นที่ของวัดมกุฏกษัตริยารามวรวิหาร รวมพื้นที่ทั้งหมด 3 ไร่ 1 งาน 86.66 ตารางวา ประกอบด้วยอาคารต่าง ๆ ทั้งหมด 5 อาคาร.

ใหม่!!: เกริกกำพล ประถมปัทมะและโรงเรียนมัธยมวัดมกุฏกษัตริย์ · ดูเพิ่มเติม »

โฮะ

ป็นสตูดิโออัลบั้มที่ 26 ของวงคาราบาว ออกจำหน่ายเมื่อวันที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2552 โดยมีเพลงทั้งหมด 12 เพลง เช่นเพลงชื่อเดียวกับอัลบั้มที่เปรียบเทียบสภาพบ้านเมืองในขณะนั้นกับ แกงโฮะ อาหารประจำภาคเหนือของไทย เมด อิน ไทยแลนด์ '52 ที่นำเพลง เมด อิน ไทยแลนด์ ดั้งเดิมมาแต่งเนื้อใหม่ให้เข้ากับสถานการณ์บ้านเมืองในปัจจุบัน และย้ำเตือนให้คนไทยใช้สินค้าในประเทศ องค์ดำ ซึ่งเป็นอีกเพลงที่แต่งขึ้นเพื่อเฉลิมพระเกียรติพระนเรศวรมหาราช เช่นเดียวกับเพลง พระนเรศวรมหาราช ในอัลบั้ม ขุนศึก โดยมีดนตรีที่ใกล้เคียงกับเพลง เจ้าตาก และ บางระจันวันเพ็ญ ที่โด่งดัง เพื่อชีวิตติดล้อ ที่ได้ เสก โลโซ มาร่วมแต่งเพลงและเล่นกีต้าร์ด้วย หรือ ควายไทย เพลงที่พูดถึงควาย ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของวงคาราบาว จากปลายปากกาของ ประภาส ชลศรานนท์ นอกจากนี้ยังมีเพลง Lonely Man Magic Moon ที่คาราบาวนำมาแปลเป็นภาษาไทยด้วย โดยใช้ชื่อภาษาไทยว่า คนเหงาเดือนหง.

ใหม่!!: เกริกกำพล ประถมปัทมะและโฮะ · ดูเพิ่มเติม »

ไพรัช เพิ่มฉลาด

หน้าปกอัลบั้ม ท.ทหารอดทน (ไพรัช เพิ่มฉลาด-ขวาสุด) ไพรัช เพิ่มฉลาด อดีตสมาชิกวงคาราบาว เคยมีผลงานร่วมกับวง 2 ชุด คือ ชุด "ท.ทหารอดทน" ในปี พ.ศ. 2526 และ "เมด อิน ไทยแลนด์" ในปี พ.ศ. 2527 ไพรัช มีชื่อเล่นว่า "หนุ่ม" (แต่นิยมเรียกกันในวงว่า "รัช") เกิดเมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2490 ที่จังหวัดเชียงราย เป็นนักดนตรีแบ๊คอัพในห้องอัดของอโซน่า เข้าร่วมวงคาราบาวจากการชักชวนของ อาจารย์ธนิสร์ ศรีกลิ่นดี โดยเข้าร่วมวงในตำแหน่งมือเบส และกีตาร์ พร้อมกับตัวอ.ธนิสร์เอง, เทียรี่ เมฆวัฒนา และ อำนาจ ลูกจันทร์ (เป้า) ทั้งนี้เนื่องจาก อนุพงษ์ ประถมปัทมะ (อ๊อด) มือเบสอีกคนจากวงเพรสซิเดนท์ที่ได้มีการชักชวนมาก่อนหน้านั้นติดการเล่นอยู่กับวงเพรสซิเดนท์ที่สหรัฐอเมริกา ไพรัชจึงเข้ามาในวงเสมือนตัวแทนของอ๊อด จึงมีผลงานเพียง 2 ชุดเท่านั้นกับวงแต่กลับเป็นที่รู้จักไปทั่วประเทศจากอัลบั้มเมด อิน ไทยแลนด์ ที่สามารถทำยอดขายได้ถึง 5,000,000 ตลับ นอกจากนั้นไพรัชยังได้มีส่วนร่วมกับอัลบั้มชุด กัมพูชา ซึ่งเป็นอัลบั้มเดี่ยวชุดแรกของ ยืนยง โอภากุล หรือ แอ๊ด คาราบาว ซึ่งเป็นหัวหน้าวงอีกด้วย ไพรัช เพิ่มฉลาด เสียชีวิตลงในกลางปี พ.ศ. 2549 ด้วยโรคมะเร็งที่ลิ้น รวมอายุได้ 58 ปี.

ใหม่!!: เกริกกำพล ประถมปัทมะและไพรัช เพิ่มฉลาด · ดูเพิ่มเติม »

เช' ยังไม่ตาย

' ยังไม่ตาย เป็นสตูดิโออัลบั้มลำดับที่ 18 ของวงคาราบาว ออกวางจำหน่ายในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2540 ในรูปแบบซีดีและเทปคาสเซ็ท โดยออกในนามบริษัท วอร์นเนอร์ มิวสิก ไทยแลน.

ใหม่!!: เกริกกำพล ประถมปัทมะและเช' ยังไม่ตาย · ดูเพิ่มเติม »

เบส

มารถหมายถึง.

ใหม่!!: เกริกกำพล ประถมปัทมะและเบส · ดูเพิ่มเติม »

เพรสซิเดนท์

รสซิเดนท์ หรือ เดอะ เพรสซิเดนท์ (The President) คือชื่อวงดนตรีสัญชาติไทย โดยแนวดนตรีเป็นสไตล์เต้นรำ โซล ฟังกี้ และ ดิสโก้ เริ่มแรกเล่นประจำตามไนท์คลับในโรงแรมชื่อดัง จนกระทั่งมีผลงานอัลบั้มเพลงในสังกัดอโซน่า ในช่วงปี พ.ศ. 2525 - พ.ศ. 2527 ที่มีสมาชิกเด่นๆ คือ ตู้ - ดิเรก อมาตยกุล, อ้วน - วารุณี สุนทรีสวัสดิ์, เล็ก - ปรีชา ชนะภัย และอ๊อด - อนุพงษ์ ประถมปัทมะ โดยสองรายหลังเป็นสมาชิกวงคาราบาว จนถึงปัจจุบัน วงเพรสซิเดนท์ มีหัวหน้าวง คือ ศุภกร บุญยานันต์ ในตำแหน่งคีย์บอร์ด ภายหลังเป็นโปรดิวเซอร์ให้กับ วารุณี และ นิตยา บุญสูงเนิน สมาชิกในช่วงเริ่มก่อตั้งมี ช.อ้น ณ บางช้าง ในตำแหน่งกีตาร์ ต่อมามีการเปลี่ยนเป็น ฟาโรห์ ตอยยีบี ภายหลังเป็นมือกีตาร์วงเพื่อน และ ปรีชา ชนะภัย ตามลำดับ โดยแยกมาจากวง "เดอะ มิชชั่น" กับวง "เมด อิน ไทยแลนด์""เมด อิน ไทยแลนด์" เป็นชื่อวงดนตรีที่มีสมาชิกคือ.อ้น ณ บางช้าง, รัศมี เทพกิจ และ คัมภีร์ นอสูงเนิน ก่อนจะร่วมวงเพรสซิเดนท์ และเป็นชื่อเดียวกับชื่ออัลบั้มลำดับที่ 5 ของวงคาราบาว ซึ่งเล็ก - ปรีชา ชนะภัย เข้าร่วมหลังลาออกจากวงเพรสซิเดนท์ ปรีชา เข้าร่วมวงเพรสซิเดนท์จนมีอัลบั้มกับอโซน่าสองชุด คือ "เด็กฮาร์ดฉันไม่สน" (พ.ศ. 2525) และ "สายลมลวง" (พ.ศ. 2526) และยังได้นำนักดนตรีของวงเข้าร่วมเป็นแบ็คอัพบันทึกเสียงให้กับวงคาราบาวในอัลบั้ม แป๊ะขายขวด และ วณิพก จากนั้นคาราบาวได้ให้ เทียรี่ เมฆวัฒนา รับหน้าที่แทน เนื่องจากวงเพรสซิเดนท์มีภารกิจทัวร์แสดงที่สหรัฐอเมริกา เมื่อกลับมาได้เปลี่ยนตัวมือกีตาร์เป็น จารึก อยู่เอม โดยออกอัลบั้ม "รักที่แสนหวาน" และ "เข็ดรัก" (พ.ศ. 2527) ซึ่งไม่ประสบความสำเร็จเท่าที่ควร เล็กจึงเข้าร่วมวงคาราบาวอย่างเป็นทางการในอัลบั้ม เมด อิน ไทยแลนด์ โดยมีอ๊อดตามมาทัวร์คอนเสิร์ตในช่วงต้นปี พ.ศ. 2528 ด้วย วงเพรสซิเดนท์จึงประกาศยุบวง เพลงที่โด่งดังของวง ได้แก่ เด็กฮาร์ดฉันไม่สน, ธรรม..ธรรมดา, บ่มีเซ็ง และ "สาวบางโพ" โดยเพลงหลังสุดสร้างชื่อเสียงให้กับ ตู้ ดิเรก จนกลายเป็นเพลงประจำตัวไปแล้ว.

ใหม่!!: เกริกกำพล ประถมปัทมะและเพรสซิเดนท์ · ดูเพิ่มเติม »

เพลงเพื่อชีวิต

การแสดงดนตรีของวงคาราวานในรายการเมืองไทยรายสัปดาห์สัญจรครั้งที่ 3 เพลงเพื่อชีวิต ถือกำเนิดขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช แต่แรกเริ่มหมายถึงเพลงที่มีเนื้อหากล่าวถึงชีวิตของคน โดยเฉพาะคนชนชั้นล่าง กล่าวถึงความยากลำบากในการใช้ชีวิต การถูกเอารัดเอาเปรียบ เพลงในแนวเพื่อชีวิตในยุคนี้โดยมากจะเป็นเพลงลูกทุ่ง เช่น เพลง กลิ่นโคนสาบควาย ของคำรณ สัมบุญณานนท์, จักรยานคนจน ของยอดรัก สลักใจ, น้ำมันแพง ของสรวง สันติ, น้ำตาอีสาน แต่งโดยชลธี ธารทอง และขับร้องโดยสายัณห์ สัญญา เป็นต้น เพลงเพื่อชีวิตในประเทศไทยเริ่มเฟื่องฟูเป็นที่รู้จักและได้รับความนิยมอย่างกว้างขวางโดยแพร่หลายช่วงหลังเหตุการณ์ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 โดยเนื้อหาของเพลงไม่จำกัดเฉพาะชีวิตของคนชั้นล่างอย่างเดียว แต่ยังรวมถึงการเรียกร้องประชาธิปไตยและการเหน็บแนมการเมืองอีกด้วย และแนวดนตรีได้เปิดกว้างขึ้นเป็นแนวอคูสสติกหรือร็อก โดยได้รับอิทธิพลและแรงบันดาลใจจากศิลปินต่างประเทศ เช่น บ็อบ ดิลลัน, บ็อบ มาร์เลย์, นีล ยัง, ไซมอน แอนด์ การ์ฟังเกล เป็นต้น เทียบได้กับโปรเทสต์ซองของสหรัฐอเมริกา โดยคำว่า "เพลงเพื่อชีวิต" นั้น มาจากคำว่าศิลปะเพื่อชีวิต หรือวรรณกรรมเพื่อชีวิต ซึ่งเป็นวรรณกรรมที่ว่าถึงชีวิตและการต่อสู้ของมนุษย์ในสังคม ในยุคนี้เพลงเพื่อชีวิตเฟื่องฟูมาก จนอาจกล่าวได้ว่าเป็น "เพชรเม็ดงามของวรรณกรรมเพื่อชีวิต" เพลงเพื่อชีวิตมักจะรวมเอาองค์ประกอบของดนตรีตะวันตกเหมือนกันเช่นเพลงบัลลาด และเพิ่มเป็นจังหวะของดนตรีไทยเซ่น สามช่า หมอลำ และลูกทุ่ง และมีองค์ประกอบของดนตรีคลาสสิกไทยบ้างเช่นกัน เพลงเพื่อชีวิตในยุคแรกจะเป็นดนตรีโฟล์กตะวันตกพร้อมกับการใช้เครื่องดนตรีอคูสติก ซึ่งต่อมาได้เพิ่มดนตรีร็อกพร้อมกับกีตาร์ไฟฟ้า เบส และกลองชุด บางศิลปินยังได้รับอิทธิพลของเร้กเก้ สกา และเพลงละตินบ้างและบางศิลปินยังใช้เครื่องดนตรีไทยเซ่น พิณ ขลุ่ย และซออู้ โดยวงดนตรีเพื่อชีวิตที่มีชื่อเสียง ได้แก่ คาราวาน, แฮมเมอร์, โคมฉาย เป็นต้น ความนิยมในเพลงเพื่อชีวิตไม่ได้เป็นเพียงกระแสในห้วงเวลานั้น หากแต่ยังได้รับความนิยมเรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน โดยมีวงดนตรีและนักร้องเพลงเพื่อชีวิตที่มีชื่อเสียงในปัจจุบัน เช่น คาราบาว, พงษ์สิทธิ์ คำภีร์, พงษ์เทพ กระโดนชำนาญ, อินโดจีน, คนด่านเกวียน, มาลีฮวนน่า, โฮป, ซูซู, ตีฆอลาซู เป็นต้น อีกทั้งยังมีศิลปินบางคนหรือบางกลุ่มที่ไม่ได้เป็นเพื่อชีวิตอย่างเต็มตัว แต่เนื้อหาของเพลงหลายเพลงมีเนื้อหาที่คล้ายคลึงกับเพื่อชีวิตหรือจัดให้อยู่ประเภทเพื่อชีวิตได้ เช่น จรัล มโนเพ็ชร, เสกสรร ทองวัฒนา, ธนพล อินทฤทธิ์, หนู มิเตอร์, นิค นิรนาม, พลพล พลกองเส็ง, กะท้อน, ศุ บุญเลี้ยง, สิบล้อ เป็นต้น.

ใหม่!!: เกริกกำพล ประถมปัทมะและเพลงเพื่อชีวิต · ดูเพิ่มเติม »

เมด อิน ไทยแลนด์

มด อิน ไทยแลนด์ เป็นเพลงที่แต่งโดย ยืนยง โอภากุล (แอ๊ด คาราบาว) โดยครั้งแรกอยู่ในอัลบั้ม เมด อิน ไทยแลนด์ ซึ่งออกจำหน่ายในปี พ.ศ. 2527.

ใหม่!!: เกริกกำพล ประถมปัทมะและเมด อิน ไทยแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

เวลคัมทูไทยแลนด์

วลคัมทูไทยแลนด์ (Welcome to Thailand) เป็นสตูดิโออัลบั้มชุดที่ 8 ของวงคาราบาว ภายใต้สังกัดแว่วหวาน ออกจำหน่ายในเดือน ตุลาคม..

ใหม่!!: เกริกกำพล ประถมปัทมะและเวลคัมทูไทยแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

เสียงเพลงแห่งเสรีภาพ

ียงเพลงแห่งเสรีภาพ เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายเมื่อปี พ.ศ. 2528 นำแสดงโดย ศิลปินคาราบาวทั้งวง, พงษ์เทพ กระโดนชำนาญ, สุรชัย จันทิมาธร, สุพรรษา เนื่องภิรมย์, อุทุมพร ศิลาพันธุ์ เขียนบทโดย ยืนยง โอภากุล, อรุณศักดิ์ อ่องลออ กำกับโดย คัมภีร์ ภาคสุวรรณ์ อำนวยการสร้างโดย กิตติ อัครเศรณี.

ใหม่!!: เกริกกำพล ประถมปัทมะและเสียงเพลงแห่งเสรีภาพ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นทางสายปลาแดก

้นทางสายปลาแดก เป็นสตูดิโออัลบั้มลำดับที่ 17 ของวงคาราบาว ออกวางจำหน่ายในปี พ.ศ. 2540 ในรูปแบบซีดีและเทปคาสเซ็ท โดยออกในนามบริษัท กระบือ แอน.

ใหม่!!: เกริกกำพล ประถมปัทมะและเส้นทางสายปลาแดก · ดูเพิ่มเติม »

เซียมหล่อตือ หมูสยาม

ซียมหล่อตือ หมูสยาม เป็นสตูดิโออัลบั้มลำดับที่ 21 ของวงคาราบาว ออกจำหน่ายเดือนธันวาคม พ.ศ. 2543 ซึ่งอยู่ในช่วงรอยต่อทางการเมืองไทย โดยมีเพลงชื่อเดียวกับอัลบั้มคือ "เซียมหล่อตือ" ซึ่งแปลเป็นไทยว่า หมูสยาม แต่ในเพลงหมายถึง นักการเมืองที่ชอบโกงกินบ้านเมือง และ "สัญญาหน้าเลือกตั้ง" ที่มีเนื้อหากล่าวเชิญชวนให้ประชาชนใช้สิทธิ์เลือกตั้งอย่างถูกต้อง นอกจากนี้ยังมีเพลง "บางระจันวันเพ็ญ" ซึ่งเป็นเพลงท้ายของภาพยนตร์เรื่อง บางระจัน ของธนิตย์ จิตนุกูล จนกลายเป็นภาพยนตร์ที่ประสบความสำเร็จอย่างสูงเรื่องหนึ่ง และเป็นเพลงดังตลอดกาลอีกเพลงหนึ่งของคาราบาว.

ใหม่!!: เกริกกำพล ประถมปัทมะและเซียมหล่อตือ หมูสยาม · ดูเพิ่มเติม »

14 มิถุนายน

วันที่ 14 มิถุนายน เป็นวันที่ 165 ของปี (วันที่ 166 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 200 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: เกริกกำพล ประถมปัทมะและ14 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

อนุพงษ์ ประถมปัทมะอ๊อด คาราบาว

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »