โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พออยู่พอกินและเกริกกำพล ประถมปัทมะ

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง พออยู่พอกินและเกริกกำพล ประถมปัทมะ

พออยู่พอกิน vs. เกริกกำพล ประถมปัทมะ

ออยู่พอกิน เป็นสตูดิโออัลบั้มลำดับที่ 20 ของวงคาราบาว ออกจำหน่ายถัดจากอัลบั้มชุดที่แล้วเพียง 3 เดือน เนื่องจากชุดนี้มีบทเพลงที่จำเป็นผลิตเพื่อออกเผยแพร่ในช่วงเดือนที่มีวันเฉลิมพระชนมพรรษา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 โดยนำเอาพระราชดำริของในหลวงว่าด้วยหลักทฤษฎีใหม่ เศรษฐกิจพอเพียง เพื่อให้ประชาชนคนไทยใช้ชีวิตแบบพออยู่พอกิน มาถ่ายทอดเนื้อหาเป็นบทเพลงชื่อเดียวกับชื่ออัลบั้ม โดยทำดนตรีด้วยจังหวะสนุกสนานแบบ สามช่า ตามสไตล์ของวง ดังที่เคยทำไว้ในเพลง วณิพก นอกจากนี้ยังมีบทเพลง ลมพัดใจเพ ซึ่งกลายเป็นเพลงฟังที่ฮิตอีกเพลงหนึ่งจากเสียงร้องของ เทียรี่ เมฆวัฒนา จนมีนักร้องท่านอื่น ๆ นำไปร้องต่ออีกด้ว. หน้าปกอัลบั้ม วิชาแพะ (จากซ้าย) อ๊อด, แอ๊ด, เล็ก เกริกกำพล ประถมปัทมะ หรือที่รู้จักในชื่อ อ๊อด คาราบาว (ชื่อเดิม: อนุพงษ์ ประถมปัทมะ) เป็นอดีตสมาชิกวงเพรสซิเดนท์ และได้เป็นสมาชิกของวงคาราบาวในตำแหน่งมือเบสตั้งแต่ปี พ.ศ. 2528 โดยอ๊อด คาราบาวโด่งดังจากการร้องเพลงกระถางดอกไม้ให้คุณ ในอัลบั้มเวลคัม ทู ไทยแลนด์เมื่อปี..

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง พออยู่พอกินและเกริกกำพล ประถมปัทมะ

พออยู่พอกินและเกริกกำพล ประถมปัทมะ มี 7 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พ.ศ. 2541ยืนยง โอภากุลอเมริกันอันธพาลคาราบาวปรีชา ชนะภัยเพลงเพื่อชีวิตเซียมหล่อตือ หมูสยาม

พ.ศ. 2541

ทธศักราช 2541 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1998 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน.

พ.ศ. 2541และพออยู่พอกิน · พ.ศ. 2541และเกริกกำพล ประถมปัทมะ · ดูเพิ่มเติม »

ยืนยง โอภากุล

ืนยง โอภากุล หรือที่รู้จักกันดีในชื่อ แอ๊ด คาราบาว เป็นศิลปินเพลงเพื่อชีวิตชาวไทยเชื้อสายจีน เป็นหัวหน้าวงคาราบาว วงดนตรีเพื่อชีวิตและเป็นตำนานเพลงเพื่อชีวิตที่มีชื่อเสียงโด่งดัง ได้รับยกย่องให้เป็น ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (นักร้อง-นักประพันธ์เพลงไทยสากล) ประจำปี พ.ศ. 2556.

พออยู่พอกินและยืนยง โอภากุล · ยืนยง โอภากุลและเกริกกำพล ประถมปัทมะ · ดูเพิ่มเติม »

อเมริกันอันธพาล

อเมริกันอันธพาล เป็นสตูดิโออัลบั้มชุดที่ 19 ของวงคาราบาว และเป็นอัลบั้มที่ 2 ที่ออกกับสังกัดวอร์นเนอร์ มิวสิก โดยทางวงลดความเคร่งเครียดของเนื้อหาลงมาจากชุดที่แล้ว และทำเพลงร่วมสมัยและฟังง่ายมากขึ้น โดยมีส่วนผสมของเพลงบลูส์และริทึมแอนด์บลูส์เข้ามาเพิ่มความแปลกใหม่ในดนตรีของคาราบาวเอง จึงให้เป็นอัลบั้มที่แฟนเพลงคาราบาวยุคใหม่ชื่นชอบอัลบั้มหนึ่ง โดยมีเพลงที่ได้รับความนิยมอาทิ อเมริกันอันธพาล, เสือ, ฝัน,สาธุชน,มาลัยเสี่ยงรถ โดยมี กีรติ พรหมสาขา ณ สกลนคร หรือเขียว ซึ่งเป็นสมาชิกเก่าเข้ามาร่วมงานอีกครั้ง ซึ่งอัลบั้มชุดนี้ได้รับรางวัลสีสันอะวอร์ดส์ 2 รางวัล คือ อัลบั้มยอดเยี่ยม และโปรดิวเซอร์ยอดเยี่ยม ประจำปี พ.ศ. 2541.

พออยู่พอกินและอเมริกันอันธพาล · อเมริกันอันธพาลและเกริกกำพล ประถมปัทมะ · ดูเพิ่มเติม »

คาราบาว

ราบาว (Carabao) เป็นวงดนตรีเพื่อชีวิตและยังเป็นตำนานเพลงเพื่อชีวิตที่มีชื่อเสียงโด่งดังและยังเป็นวงที่อมตะตลอดกาลของประเทศไทย โดยมี ยืนยง โอภากุล (แอ๊ด) เป็นหัวหน้าวง.

คาราบาวและพออยู่พอกิน · คาราบาวและเกริกกำพล ประถมปัทมะ · ดูเพิ่มเติม »

ปรีชา ชนะภัย

ปรีชา ชนะภัย หรือที่รู้จักกันในชื่อ เล็ก คาราบาว เป็นนักแสดง นักร้อง นักดนตรี และมือกีตาร์วงคาราบาว และเป็นนักกีตาร์ฝีมือดีคนหนึ่งของเมืองไทย มีความสามารถในการเล่นกีตาร์โดยไม่ใช้ปิ๊ก มีฝีมือการโซโล่กีตาร์อันดับต้น ๆ ของประเทศ รวมทั้งเล่นเครื่องดนตรีได้หลากหลาย เช่น แบนโจ, คีย์บอร์ด, เปียโน, กลอง, ซอ เป็นต้น บทเพลงที่แสดงถึงความสามารถทางดนตรีของเล็กที่เห็นเด่นชัดคือเพลง ขุนเขายะเยือก ซึ่งเป็นเพลงบรรเลงที่มีการโซโล่กีตาร์ยาวนานถึง 5 นาที ในอัลบั้ม หากหัวใจยังรักควาย ในปี พ.ศ. 2538 ที่สมาชิกวงในยุคคลาสสิกไลน์อัพกลับมารวมตัวกันอีกครั้ง หลังจากที่แยกย้ายกันไปทำอัลบั้มเดี่ยวของแต่ละคน.

ปรีชา ชนะภัยและพออยู่พอกิน · ปรีชา ชนะภัยและเกริกกำพล ประถมปัทมะ · ดูเพิ่มเติม »

เพลงเพื่อชีวิต

การแสดงดนตรีของวงคาราวานในรายการเมืองไทยรายสัปดาห์สัญจรครั้งที่ 3 เพลงเพื่อชีวิต ถือกำเนิดขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช แต่แรกเริ่มหมายถึงเพลงที่มีเนื้อหากล่าวถึงชีวิตของคน โดยเฉพาะคนชนชั้นล่าง กล่าวถึงความยากลำบากในการใช้ชีวิต การถูกเอารัดเอาเปรียบ เพลงในแนวเพื่อชีวิตในยุคนี้โดยมากจะเป็นเพลงลูกทุ่ง เช่น เพลง กลิ่นโคนสาบควาย ของคำรณ สัมบุญณานนท์, จักรยานคนจน ของยอดรัก สลักใจ, น้ำมันแพง ของสรวง สันติ, น้ำตาอีสาน แต่งโดยชลธี ธารทอง และขับร้องโดยสายัณห์ สัญญา เป็นต้น เพลงเพื่อชีวิตในประเทศไทยเริ่มเฟื่องฟูเป็นที่รู้จักและได้รับความนิยมอย่างกว้างขวางโดยแพร่หลายช่วงหลังเหตุการณ์ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 โดยเนื้อหาของเพลงไม่จำกัดเฉพาะชีวิตของคนชั้นล่างอย่างเดียว แต่ยังรวมถึงการเรียกร้องประชาธิปไตยและการเหน็บแนมการเมืองอีกด้วย และแนวดนตรีได้เปิดกว้างขึ้นเป็นแนวอคูสสติกหรือร็อก โดยได้รับอิทธิพลและแรงบันดาลใจจากศิลปินต่างประเทศ เช่น บ็อบ ดิลลัน, บ็อบ มาร์เลย์, นีล ยัง, ไซมอน แอนด์ การ์ฟังเกล เป็นต้น เทียบได้กับโปรเทสต์ซองของสหรัฐอเมริกา โดยคำว่า "เพลงเพื่อชีวิต" นั้น มาจากคำว่าศิลปะเพื่อชีวิต หรือวรรณกรรมเพื่อชีวิต ซึ่งเป็นวรรณกรรมที่ว่าถึงชีวิตและการต่อสู้ของมนุษย์ในสังคม ในยุคนี้เพลงเพื่อชีวิตเฟื่องฟูมาก จนอาจกล่าวได้ว่าเป็น "เพชรเม็ดงามของวรรณกรรมเพื่อชีวิต" เพลงเพื่อชีวิตมักจะรวมเอาองค์ประกอบของดนตรีตะวันตกเหมือนกันเช่นเพลงบัลลาด และเพิ่มเป็นจังหวะของดนตรีไทยเซ่น สามช่า หมอลำ และลูกทุ่ง และมีองค์ประกอบของดนตรีคลาสสิกไทยบ้างเช่นกัน เพลงเพื่อชีวิตในยุคแรกจะเป็นดนตรีโฟล์กตะวันตกพร้อมกับการใช้เครื่องดนตรีอคูสติก ซึ่งต่อมาได้เพิ่มดนตรีร็อกพร้อมกับกีตาร์ไฟฟ้า เบส และกลองชุด บางศิลปินยังได้รับอิทธิพลของเร้กเก้ สกา และเพลงละตินบ้างและบางศิลปินยังใช้เครื่องดนตรีไทยเซ่น พิณ ขลุ่ย และซออู้ โดยวงดนตรีเพื่อชีวิตที่มีชื่อเสียง ได้แก่ คาราวาน, แฮมเมอร์, โคมฉาย เป็นต้น ความนิยมในเพลงเพื่อชีวิตไม่ได้เป็นเพียงกระแสในห้วงเวลานั้น หากแต่ยังได้รับความนิยมเรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน โดยมีวงดนตรีและนักร้องเพลงเพื่อชีวิตที่มีชื่อเสียงในปัจจุบัน เช่น คาราบาว, พงษ์สิทธิ์ คำภีร์, พงษ์เทพ กระโดนชำนาญ, อินโดจีน, คนด่านเกวียน, มาลีฮวนน่า, โฮป, ซูซู, ตีฆอลาซู เป็นต้น อีกทั้งยังมีศิลปินบางคนหรือบางกลุ่มที่ไม่ได้เป็นเพื่อชีวิตอย่างเต็มตัว แต่เนื้อหาของเพลงหลายเพลงมีเนื้อหาที่คล้ายคลึงกับเพื่อชีวิตหรือจัดให้อยู่ประเภทเพื่อชีวิตได้ เช่น จรัล มโนเพ็ชร, เสกสรร ทองวัฒนา, ธนพล อินทฤทธิ์, หนู มิเตอร์, นิค นิรนาม, พลพล พลกองเส็ง, กะท้อน, ศุ บุญเลี้ยง, สิบล้อ เป็นต้น.

พออยู่พอกินและเพลงเพื่อชีวิต · เกริกกำพล ประถมปัทมะและเพลงเพื่อชีวิต · ดูเพิ่มเติม »

เซียมหล่อตือ หมูสยาม

ซียมหล่อตือ หมูสยาม เป็นสตูดิโออัลบั้มลำดับที่ 21 ของวงคาราบาว ออกจำหน่ายเดือนธันวาคม พ.ศ. 2543 ซึ่งอยู่ในช่วงรอยต่อทางการเมืองไทย โดยมีเพลงชื่อเดียวกับอัลบั้มคือ "เซียมหล่อตือ" ซึ่งแปลเป็นไทยว่า หมูสยาม แต่ในเพลงหมายถึง นักการเมืองที่ชอบโกงกินบ้านเมือง และ "สัญญาหน้าเลือกตั้ง" ที่มีเนื้อหากล่าวเชิญชวนให้ประชาชนใช้สิทธิ์เลือกตั้งอย่างถูกต้อง นอกจากนี้ยังมีเพลง "บางระจันวันเพ็ญ" ซึ่งเป็นเพลงท้ายของภาพยนตร์เรื่อง บางระจัน ของธนิตย์ จิตนุกูล จนกลายเป็นภาพยนตร์ที่ประสบความสำเร็จอย่างสูงเรื่องหนึ่ง และเป็นเพลงดังตลอดกาลอีกเพลงหนึ่งของคาราบาว.

พออยู่พอกินและเซียมหล่อตือ หมูสยาม · เกริกกำพล ประถมปัทมะและเซียมหล่อตือ หมูสยาม · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง พออยู่พอกินและเกริกกำพล ประถมปัทมะ

พออยู่พอกิน มี 23 ความสัมพันธ์ขณะที่ เกริกกำพล ประถมปัทมะ มี 70 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 7, ดัชนี Jaccard คือ 7.53% = 7 / (23 + 70)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง พออยู่พอกินและเกริกกำพล ประถมปัทมะ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »