โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ยืนยง โอภากุลและเกริกกำพล ประถมปัทมะ

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ยืนยง โอภากุลและเกริกกำพล ประถมปัทมะ

ยืนยง โอภากุล vs. เกริกกำพล ประถมปัทมะ

ืนยง โอภากุล หรือที่รู้จักกันดีในชื่อ แอ๊ด คาราบาว เป็นศิลปินเพลงเพื่อชีวิตชาวไทยเชื้อสายจีน เป็นหัวหน้าวงคาราบาว วงดนตรีเพื่อชีวิตและเป็นตำนานเพลงเพื่อชีวิตที่มีชื่อเสียงโด่งดัง ได้รับยกย่องให้เป็น ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (นักร้อง-นักประพันธ์เพลงไทยสากล) ประจำปี พ.ศ. 2556. หน้าปกอัลบั้ม วิชาแพะ (จากซ้าย) อ๊อด, แอ๊ด, เล็ก เกริกกำพล ประถมปัทมะ หรือที่รู้จักในชื่อ อ๊อด คาราบาว (ชื่อเดิม: อนุพงษ์ ประถมปัทมะ) เป็นอดีตสมาชิกวงเพรสซิเดนท์ และได้เป็นสมาชิกของวงคาราบาวในตำแหน่งมือเบสตั้งแต่ปี พ.ศ. 2528 โดยอ๊อด คาราบาวโด่งดังจากการร้องเพลงกระถางดอกไม้ให้คุณ ในอัลบั้มเวลคัม ทู ไทยแลนด์เมื่อปี..

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ยืนยง โอภากุลและเกริกกำพล ประถมปัทมะ

ยืนยง โอภากุลและเกริกกำพล ประถมปัทมะ มี 30 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พ.ศ. 2528พ.ศ. 2529พ.ศ. 2530พ.ศ. 2531พ.ศ. 2532พ.ศ. 2533พ.ศ. 2534พ.ศ. 2535พ.ศ. 2536พ.ศ. 2537พ.ศ. 2538พ.ศ. 2540พ.ศ. 2541พ.ศ. 2543พ.ศ. 2544พ.ศ. 2545พ.ศ. 2548พ.ศ. 2550พ.ศ. 2552พ.ศ. 2554พ.ศ. 2557กีตาร์ร็อกสหรัฐคาราบาวปรีชา ชนะภัยแป๊ะขายขวดเพรสซิเดนท์เพลงเพื่อชีวิตเสียงเพลงแห่งเสรีภาพ

พ.ศ. 2528

ทธศักราช 2528 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1985 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

พ.ศ. 2528และยืนยง โอภากุล · พ.ศ. 2528และเกริกกำพล ประถมปัทมะ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2529

ทธศักราช 2529 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1986 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

พ.ศ. 2529และยืนยง โอภากุล · พ.ศ. 2529และเกริกกำพล ประถมปัทมะ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2530

ทธศักราช 2530 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1987 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน.

พ.ศ. 2530และยืนยง โอภากุล · พ.ศ. 2530และเกริกกำพล ประถมปัทมะ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2531

ทธศักราช 2531 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1988 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ (ลิงก์ไปยังปฏิทิน) ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

พ.ศ. 2531และยืนยง โอภากุล · พ.ศ. 2531และเกริกกำพล ประถมปัทมะ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2532

ทธศักราช 2532 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1989 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

พ.ศ. 2532และยืนยง โอภากุล · พ.ศ. 2532และเกริกกำพล ประถมปัทมะ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2533

ทธศักราช 2533 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1990 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

พ.ศ. 2533และยืนยง โอภากุล · พ.ศ. 2533และเกริกกำพล ประถมปัทมะ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2534

ทธศักราช 2534 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1991 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

พ.ศ. 2534และยืนยง โอภากุล · พ.ศ. 2534และเกริกกำพล ประถมปัทมะ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2535

ทธศักราช 2535 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1992 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

พ.ศ. 2535และยืนยง โอภากุล · พ.ศ. 2535และเกริกกำพล ประถมปัทมะ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2536

ทธศักราช 2536 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1993 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

พ.ศ. 2536และยืนยง โอภากุล · พ.ศ. 2536และเกริกกำพล ประถมปัทมะ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2537

ทธศักราช 2537 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1994 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

พ.ศ. 2537และยืนยง โอภากุล · พ.ศ. 2537และเกริกกำพล ประถมปัทมะ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2538

ทธศักราช 2538 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1995 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

พ.ศ. 2538และยืนยง โอภากุล · พ.ศ. 2538และเกริกกำพล ประถมปัทมะ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2540

ทธศักราช 2540 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1997 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

พ.ศ. 2540และยืนยง โอภากุล · พ.ศ. 2540และเกริกกำพล ประถมปัทมะ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2541

ทธศักราช 2541 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1998 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน.

พ.ศ. 2541และยืนยง โอภากุล · พ.ศ. 2541และเกริกกำพล ประถมปัทมะ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2543

ทธศักราช 2543 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2000 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

พ.ศ. 2543และยืนยง โอภากุล · พ.ศ. 2543และเกริกกำพล ประถมปัทมะ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2544

ทธศักราช 2544 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2001 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

พ.ศ. 2544และยืนยง โอภากุล · พ.ศ. 2544และเกริกกำพล ประถมปัทมะ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2545

ทธศักราช 2545 V 2002 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2002 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

พ.ศ. 2545และยืนยง โอภากุล · พ.ศ. 2545และเกริกกำพล ประถมปัทมะ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2548

ทธศักราช 2548 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2005 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรโกเรียน และเป็น.

พ.ศ. 2548และยืนยง โอภากุล · พ.ศ. 2548และเกริกกำพล ประถมปัทมะ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2550

ทธศักราช 2550 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2007 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

พ.ศ. 2550และยืนยง โอภากุล · พ.ศ. 2550และเกริกกำพล ประถมปัทมะ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2552

ทธศักราช 2552 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2009 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีสุดท้ายในคริสต์ทศวรรษ 2000.

พ.ศ. 2552และยืนยง โอภากุล · พ.ศ. 2552และเกริกกำพล ประถมปัทมะ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2554

ทธศักราช 2554 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2011 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

พ.ศ. 2554และยืนยง โอภากุล · พ.ศ. 2554และเกริกกำพล ประถมปัทมะ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2557

ทธศักราช 2557 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2014 วันแรกของปีตรงกับวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน นับเป็นปีที่ 2014 ตามกำหนดสากลศักราช และปีที่ 2557 ตามกำหนดพุทธศักร.

พ.ศ. 2557และยืนยง โอภากุล · พ.ศ. 2557และเกริกกำพล ประถมปัทมะ · ดูเพิ่มเติม »

กีตาร์

กีตาร์ (guitar) เป็นเครื่องดนตรีชนิดหนึ่ง จัดเป็นพวกเครื่องสาย มักจะเล่นด้วยนิ้วมือซ้าย และดีดด้วยนิ้วมือขวาหรือใช้ปิ๊กดีดกีตาร์ เสียงของกีตาร์นั้นเกิดจากการสั่นสะเทือนของสาย ทำให้เกิดกำทอน (resonance) แก่ตัวกีตาร์และคอกีตาร์ ยอร์ช กีตาร์นั้น มีทั้งแบบกีตาร์อะคูสติก และกีตาร์ไฟฟ้า บางตัวก็เป็นได้ทั้งสองอย่าง กีตาร์มีส่วนตัวเป็นกล่องกำทอน ซึ่งในกีตาร์อะคูสติกจะเจาะเป็นช่อง ส่วนกีตาร์ไฟฟ้ามักจะตัน และมีโพรงในส่วนคอกีตาร์ โดยทั่วไปแล้วส่วนหัวของกีตาร์จะยืดขึ้นไปจากคอ เพื่อใส่ลูกบิดหมุนสายสำหรับปรับเสียง กีตาร์เป็นเครื่องดนตรีที่นิยมใช้แพร่หลาย และใช้กับดนตรีหลากหลายสไตล์ นับเป็นเครื่องดนตรีที่นิยมใช้บรรเลงเดี่ยวอย่างกว้างขวางที่พบเห็นมากที่สุดคือกีตาร์คลาสสิก และยังเป็นเครื่องดนตรีหลักในวงดนตรีประเภทบลูส์ และดนตรีร็อกอีกด้วย กีตาร์สามารถเล่นในยามว่าง หรือ เป็นงานอดิเรก ได้ดี ปกติกีตาร์จะมี 6 สาย แต่แบบ 4- 7- 8- 10- 12- สายก็มีเช่นกัน ผู้ประดิษฐ์กีตาร์จะเรียกว่า Luthier.

กีตาร์และยืนยง โอภากุล · กีตาร์และเกริกกำพล ประถมปัทมะ · ดูเพิ่มเติม »

ร็อก

ร็อก (Rock) แนวเพลงที่ได้รับความนิยม มีต้นกำเนิดจากดนตรีร็อกแอนด์โรลในสหรัฐอเมริกาในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1950 และเริ่มพัฒนาสู่แนวเพลงหลายแขนงในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1960 และช่วงหลังจากนั้น โดยเฉพาะในสหราชอาณาจักรและสหรัฐอเมริกาW.

ยืนยง โอภากุลและร็อก · ร็อกและเกริกกำพล ประถมปัทมะ · ดูเพิ่มเติม »

สหรัฐ

หรัฐอเมริกา (United States of America) โดยทั่วไปเรียก สหรัฐ (United States) หรือ อเมริกา (America) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐ ประกอบด้วยรัฐ 50 รัฐ และหนึ่งเขตปกครองกลาง ห้าดินแดนปกครองตนเองสำคัญ และเกาะเล็กต่าง ๆ โดย 48 รัฐและเขตปกครองกลางตั้งอยู่ ณ ทวีปอเมริกาเหนือระหว่างประเทศแคนาดาและเม็กซิโก รัฐอะแลสกาอยู่มุมตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปอเมริกาเหนือ มีเขตแดนติดต่อกับประเทศแคนาดาทางทิศตะวันออกและข้ามช่องแคบเบริงจากประเทศรัสเซียทางทิศตะวันตก และรัฐฮาวายเป็นกลุ่มเกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกกลาง ดินแดนของสหรัฐกระจายอยู่ตามมหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลแคริบเบียน ครอบคลุมเขตเวลาเก้าเขต ภูมิศาสตร์ ภูมิอากาศและสัตว์ป่าของประเทศหลากหลายอย่างยิ่ง สหรัฐมีพื้นที่ขนาด 9.8 ล้านตารางกิโลเมตร มีประชากรราว 326 ล้านคน ทำให้มีพื้นที่ขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 4 ของโลก และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 3 ของโลก เป็นประเทศซึ่งมีความหลากหลายทางเชื้อชาติและวัฒนธรรม และเป็นที่พำนักของประชากรเข้าเมืองใหญ่สุดในโลกAdams, J.Q., and Pearlie Strother-Adams (2001).

ยืนยง โอภากุลและสหรัฐ · สหรัฐและเกริกกำพล ประถมปัทมะ · ดูเพิ่มเติม »

คาราบาว

ราบาว (Carabao) เป็นวงดนตรีเพื่อชีวิตและยังเป็นตำนานเพลงเพื่อชีวิตที่มีชื่อเสียงโด่งดังและยังเป็นวงที่อมตะตลอดกาลของประเทศไทย โดยมี ยืนยง โอภากุล (แอ๊ด) เป็นหัวหน้าวง.

คาราบาวและยืนยง โอภากุล · คาราบาวและเกริกกำพล ประถมปัทมะ · ดูเพิ่มเติม »

ปรีชา ชนะภัย

ปรีชา ชนะภัย หรือที่รู้จักกันในชื่อ เล็ก คาราบาว เป็นนักแสดง นักร้อง นักดนตรี และมือกีตาร์วงคาราบาว และเป็นนักกีตาร์ฝีมือดีคนหนึ่งของเมืองไทย มีความสามารถในการเล่นกีตาร์โดยไม่ใช้ปิ๊ก มีฝีมือการโซโล่กีตาร์อันดับต้น ๆ ของประเทศ รวมทั้งเล่นเครื่องดนตรีได้หลากหลาย เช่น แบนโจ, คีย์บอร์ด, เปียโน, กลอง, ซอ เป็นต้น บทเพลงที่แสดงถึงความสามารถทางดนตรีของเล็กที่เห็นเด่นชัดคือเพลง ขุนเขายะเยือก ซึ่งเป็นเพลงบรรเลงที่มีการโซโล่กีตาร์ยาวนานถึง 5 นาที ในอัลบั้ม หากหัวใจยังรักควาย ในปี พ.ศ. 2538 ที่สมาชิกวงในยุคคลาสสิกไลน์อัพกลับมารวมตัวกันอีกครั้ง หลังจากที่แยกย้ายกันไปทำอัลบั้มเดี่ยวของแต่ละคน.

ปรีชา ชนะภัยและยืนยง โอภากุล · ปรีชา ชนะภัยและเกริกกำพล ประถมปัทมะ · ดูเพิ่มเติม »

แป๊ะขายขวด

แป๊ะขายขวด เป็นสตูดิโออัลบั้มชุดที่ 2 ของวงคาราบาว ออกวางจำหน่ายในปลายปี..

ยืนยง โอภากุลและแป๊ะขายขวด · เกริกกำพล ประถมปัทมะและแป๊ะขายขวด · ดูเพิ่มเติม »

เพรสซิเดนท์

รสซิเดนท์ หรือ เดอะ เพรสซิเดนท์ (The President) คือชื่อวงดนตรีสัญชาติไทย โดยแนวดนตรีเป็นสไตล์เต้นรำ โซล ฟังกี้ และ ดิสโก้ เริ่มแรกเล่นประจำตามไนท์คลับในโรงแรมชื่อดัง จนกระทั่งมีผลงานอัลบั้มเพลงในสังกัดอโซน่า ในช่วงปี พ.ศ. 2525 - พ.ศ. 2527 ที่มีสมาชิกเด่นๆ คือ ตู้ - ดิเรก อมาตยกุล, อ้วน - วารุณี สุนทรีสวัสดิ์, เล็ก - ปรีชา ชนะภัย และอ๊อด - อนุพงษ์ ประถมปัทมะ โดยสองรายหลังเป็นสมาชิกวงคาราบาว จนถึงปัจจุบัน วงเพรสซิเดนท์ มีหัวหน้าวง คือ ศุภกร บุญยานันต์ ในตำแหน่งคีย์บอร์ด ภายหลังเป็นโปรดิวเซอร์ให้กับ วารุณี และ นิตยา บุญสูงเนิน สมาชิกในช่วงเริ่มก่อตั้งมี ช.อ้น ณ บางช้าง ในตำแหน่งกีตาร์ ต่อมามีการเปลี่ยนเป็น ฟาโรห์ ตอยยีบี ภายหลังเป็นมือกีตาร์วงเพื่อน และ ปรีชา ชนะภัย ตามลำดับ โดยแยกมาจากวง "เดอะ มิชชั่น" กับวง "เมด อิน ไทยแลนด์""เมด อิน ไทยแลนด์" เป็นชื่อวงดนตรีที่มีสมาชิกคือ.อ้น ณ บางช้าง, รัศมี เทพกิจ และ คัมภีร์ นอสูงเนิน ก่อนจะร่วมวงเพรสซิเดนท์ และเป็นชื่อเดียวกับชื่ออัลบั้มลำดับที่ 5 ของวงคาราบาว ซึ่งเล็ก - ปรีชา ชนะภัย เข้าร่วมหลังลาออกจากวงเพรสซิเดนท์ ปรีชา เข้าร่วมวงเพรสซิเดนท์จนมีอัลบั้มกับอโซน่าสองชุด คือ "เด็กฮาร์ดฉันไม่สน" (พ.ศ. 2525) และ "สายลมลวง" (พ.ศ. 2526) และยังได้นำนักดนตรีของวงเข้าร่วมเป็นแบ็คอัพบันทึกเสียงให้กับวงคาราบาวในอัลบั้ม แป๊ะขายขวด และ วณิพก จากนั้นคาราบาวได้ให้ เทียรี่ เมฆวัฒนา รับหน้าที่แทน เนื่องจากวงเพรสซิเดนท์มีภารกิจทัวร์แสดงที่สหรัฐอเมริกา เมื่อกลับมาได้เปลี่ยนตัวมือกีตาร์เป็น จารึก อยู่เอม โดยออกอัลบั้ม "รักที่แสนหวาน" และ "เข็ดรัก" (พ.ศ. 2527) ซึ่งไม่ประสบความสำเร็จเท่าที่ควร เล็กจึงเข้าร่วมวงคาราบาวอย่างเป็นทางการในอัลบั้ม เมด อิน ไทยแลนด์ โดยมีอ๊อดตามมาทัวร์คอนเสิร์ตในช่วงต้นปี พ.ศ. 2528 ด้วย วงเพรสซิเดนท์จึงประกาศยุบวง เพลงที่โด่งดังของวง ได้แก่ เด็กฮาร์ดฉันไม่สน, ธรรม..ธรรมดา, บ่มีเซ็ง และ "สาวบางโพ" โดยเพลงหลังสุดสร้างชื่อเสียงให้กับ ตู้ ดิเรก จนกลายเป็นเพลงประจำตัวไปแล้ว.

ยืนยง โอภากุลและเพรสซิเดนท์ · เกริกกำพล ประถมปัทมะและเพรสซิเดนท์ · ดูเพิ่มเติม »

เพลงเพื่อชีวิต

การแสดงดนตรีของวงคาราวานในรายการเมืองไทยรายสัปดาห์สัญจรครั้งที่ 3 เพลงเพื่อชีวิต ถือกำเนิดขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช แต่แรกเริ่มหมายถึงเพลงที่มีเนื้อหากล่าวถึงชีวิตของคน โดยเฉพาะคนชนชั้นล่าง กล่าวถึงความยากลำบากในการใช้ชีวิต การถูกเอารัดเอาเปรียบ เพลงในแนวเพื่อชีวิตในยุคนี้โดยมากจะเป็นเพลงลูกทุ่ง เช่น เพลง กลิ่นโคนสาบควาย ของคำรณ สัมบุญณานนท์, จักรยานคนจน ของยอดรัก สลักใจ, น้ำมันแพง ของสรวง สันติ, น้ำตาอีสาน แต่งโดยชลธี ธารทอง และขับร้องโดยสายัณห์ สัญญา เป็นต้น เพลงเพื่อชีวิตในประเทศไทยเริ่มเฟื่องฟูเป็นที่รู้จักและได้รับความนิยมอย่างกว้างขวางโดยแพร่หลายช่วงหลังเหตุการณ์ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 โดยเนื้อหาของเพลงไม่จำกัดเฉพาะชีวิตของคนชั้นล่างอย่างเดียว แต่ยังรวมถึงการเรียกร้องประชาธิปไตยและการเหน็บแนมการเมืองอีกด้วย และแนวดนตรีได้เปิดกว้างขึ้นเป็นแนวอคูสสติกหรือร็อก โดยได้รับอิทธิพลและแรงบันดาลใจจากศิลปินต่างประเทศ เช่น บ็อบ ดิลลัน, บ็อบ มาร์เลย์, นีล ยัง, ไซมอน แอนด์ การ์ฟังเกล เป็นต้น เทียบได้กับโปรเทสต์ซองของสหรัฐอเมริกา โดยคำว่า "เพลงเพื่อชีวิต" นั้น มาจากคำว่าศิลปะเพื่อชีวิต หรือวรรณกรรมเพื่อชีวิต ซึ่งเป็นวรรณกรรมที่ว่าถึงชีวิตและการต่อสู้ของมนุษย์ในสังคม ในยุคนี้เพลงเพื่อชีวิตเฟื่องฟูมาก จนอาจกล่าวได้ว่าเป็น "เพชรเม็ดงามของวรรณกรรมเพื่อชีวิต" เพลงเพื่อชีวิตมักจะรวมเอาองค์ประกอบของดนตรีตะวันตกเหมือนกันเช่นเพลงบัลลาด และเพิ่มเป็นจังหวะของดนตรีไทยเซ่น สามช่า หมอลำ และลูกทุ่ง และมีองค์ประกอบของดนตรีคลาสสิกไทยบ้างเช่นกัน เพลงเพื่อชีวิตในยุคแรกจะเป็นดนตรีโฟล์กตะวันตกพร้อมกับการใช้เครื่องดนตรีอคูสติก ซึ่งต่อมาได้เพิ่มดนตรีร็อกพร้อมกับกีตาร์ไฟฟ้า เบส และกลองชุด บางศิลปินยังได้รับอิทธิพลของเร้กเก้ สกา และเพลงละตินบ้างและบางศิลปินยังใช้เครื่องดนตรีไทยเซ่น พิณ ขลุ่ย และซออู้ โดยวงดนตรีเพื่อชีวิตที่มีชื่อเสียง ได้แก่ คาราวาน, แฮมเมอร์, โคมฉาย เป็นต้น ความนิยมในเพลงเพื่อชีวิตไม่ได้เป็นเพียงกระแสในห้วงเวลานั้น หากแต่ยังได้รับความนิยมเรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน โดยมีวงดนตรีและนักร้องเพลงเพื่อชีวิตที่มีชื่อเสียงในปัจจุบัน เช่น คาราบาว, พงษ์สิทธิ์ คำภีร์, พงษ์เทพ กระโดนชำนาญ, อินโดจีน, คนด่านเกวียน, มาลีฮวนน่า, โฮป, ซูซู, ตีฆอลาซู เป็นต้น อีกทั้งยังมีศิลปินบางคนหรือบางกลุ่มที่ไม่ได้เป็นเพื่อชีวิตอย่างเต็มตัว แต่เนื้อหาของเพลงหลายเพลงมีเนื้อหาที่คล้ายคลึงกับเพื่อชีวิตหรือจัดให้อยู่ประเภทเพื่อชีวิตได้ เช่น จรัล มโนเพ็ชร, เสกสรร ทองวัฒนา, ธนพล อินทฤทธิ์, หนู มิเตอร์, นิค นิรนาม, พลพล พลกองเส็ง, กะท้อน, ศุ บุญเลี้ยง, สิบล้อ เป็นต้น.

ยืนยง โอภากุลและเพลงเพื่อชีวิต · เกริกกำพล ประถมปัทมะและเพลงเพื่อชีวิต · ดูเพิ่มเติม »

เสียงเพลงแห่งเสรีภาพ

ียงเพลงแห่งเสรีภาพ เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายเมื่อปี พ.ศ. 2528 นำแสดงโดย ศิลปินคาราบาวทั้งวง, พงษ์เทพ กระโดนชำนาญ, สุรชัย จันทิมาธร, สุพรรษา เนื่องภิรมย์, อุทุมพร ศิลาพันธุ์ เขียนบทโดย ยืนยง โอภากุล, อรุณศักดิ์ อ่องลออ กำกับโดย คัมภีร์ ภาคสุวรรณ์ อำนวยการสร้างโดย กิตติ อัครเศรณี.

ยืนยง โอภากุลและเสียงเพลงแห่งเสรีภาพ · เกริกกำพล ประถมปัทมะและเสียงเพลงแห่งเสรีภาพ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ยืนยง โอภากุลและเกริกกำพล ประถมปัทมะ

ยืนยง โอภากุล มี 161 ความสัมพันธ์ขณะที่ เกริกกำพล ประถมปัทมะ มี 70 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 30, ดัชนี Jaccard คือ 12.99% = 30 / (161 + 70)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ยืนยง โอภากุลและเกริกกำพล ประถมปัทมะ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »