โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ดนตรีคลาสสิก

ดัชนี ดนตรีคลาสสิก

วงซิมโฟนีออเคสตรา ดนตรีคลาสสิก (Classical music) เป็นรูปแบบหนึ่งของดนตรี ซึ่งมักจะหมายถึงดนตรีที่เป็นศิลปะของตะวันตก การแสดงดนตรีคลาสสิกจะใช้เครื่องดนตรี 4 กลุ่ม กลุ่มแรก คือ เครื่องสาย (String) แบ่งออกเป็น ไวโอลิน วิโอลา เชลโล และดับเบิลเบส กลุ่มที่สอง คือ เครื่องลมไม้ (Woodwind) เช่น ฟลูต คลาริเน็ต โอโบ บาสซูน ปิคโคโล กลุ่มที่สาม คือ เครื่องลมทองเหลือง (Brass) เช่น ทรัมเป็ต ทรอมโบน ทูบา เฟรนช์ฮอร์น กลุ่มที่สี่ คือ เครื่องกระทบ (Percussion) เช่น กลองทิมปานี ฉาบ กลองใหญ่ (Bass Drum) กิ๋ง (Triangle) เมื่อเล่นรวมกันเป็นวงเรียกว่าวงดุริยางค์หรือ ออร์เคสตรา (Orchestra) ซึ่งมีผู้อำนวยเพลง (conductor) เป็นผู้ควบคุมวง.

119 ความสัมพันธ์: บัลลาดบัลเลต์ชาร์ล กูโนบาสซูนชนชั้นสูงฟรันซ์ ชูแบร์ทฟรันซ์ ลิซท์ฟร็องซิส ปูแล็งก์ฟลูตพ.ศ. 1019พ.ศ. 1943พ.ศ. 2143พ.ศ. 2272พ.ศ. 2273พ.ศ. 2293พ.ศ. 2363พ.ศ. 2443พิณกรีซโบราณกลองทิมปานีกลองใหญ่การร้องเพลงกุสตาฟ มาห์เลอร์ภาธร ศรีกรานนท์มาร์ชมินูเอ็ตริชาร์ด ชเตราส์ริชาร์ด วากเนอร์ละครบรอดเวย์ลุดวิจ ฟาน เบโทเฟนวาทยกรวานิช โปตะวณิชวิโอลาวงทริโอศิลปะจินตนิยมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาสมัยกลางสวีต (ดนตรี)ออราทอริโอออร์แกนออร์เคสตราอันโตญีน ดโวชากอันโตนีโอ วีวัลดีอิกอร์ สตราวินสกีอุปรากรฮอร์นฌ็อง-บาติสต์ ลูว์ลีจอร์จ เกิร์ชวินจอห์น แอดัมส์จอห์น เคจ...จักรวรรดิโรมันจิกจูเซปเป แวร์ดีถัน ตุ้นทรอมโบนทรัมเป็ตทูบาดมีตรี ชอสตโกวิชดับเบิลเบสดีแวร์ตีเมนโตดนตรียุคบาโรกดนตรียุคอิมเพรสชันนิสม์ดนตรียุคคลาสสิกดนตรียุคโรแมนติกดนตรีแชมเบอร์คอนแชร์โตคันตาตาคายกคณะคาร์ล ออร์ฟคาร์ล เซอร์นีคีตกวีตารันเตลลาฉาบซิมโฟนีประเทศฝรั่งเศสประเทศออสเตรียปิออตร์ อิลิช ไชคอฟสกีปิคโคโลนิกโกเลาะ ปากานีนีน็อกเทิร์นแฟนเทเชียแพสชั่นแอ็กตอร์ แบร์ลีโยซแคลริเน็ตแคนนอนแคนแคนโพลกาโกลด เดอบูว์ซีโมเท็ตโยฮันน์ ชเตราสส์ ที่สองโยฮันน์ ชเตราสส์ ที่หนึ่งโยฮันน์ พาเคลเบลโยฮันน์ เซบาสเตียน บาคโยฮันเนส บราห์มโรมันโรแบร์ท ชูมันน์โรโกโกโวล์ฟกัง อะมาเดอุส โมซาร์ทโอโบโจวันนี ปีแอร์ลุยจี ดา ปาเลสตรีนาโซนาตาไวโอลินเบ-ลอ บอร์โตกเชลโลเฟรเดริก ชอแป็งเฟลิกซ์ เมนเดิลส์โซห์นเรควีเอ็มเวียนนาเอริก ซาตีเอตูว์ดเด่น อยู่ประเสริฐเครื่องกระทบเครื่องสายเครื่องดนตรีเครื่องเป่าทองเหลืองเซียร์เกย์ รัคมานีนอฟเซเรเนดเปียโนเปียโนสี่มือ ขยายดัชนี (69 มากกว่า) »

บัลลาด

ัลลาด (ballad แบลเลิด) หรือศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถานสาขาวิชาวรรณกรรมคือ ลำนำนิทาน เป็นรูปแบบหนึ่งของคำประพันธ์ โดยมากมีความหมายถึงทางด้านดนตรี เรื่องเล่า บัลลาดมีความหมายเจาะจงของบทกวีอังกฤษและไอร์แลนด์และเพลงที่อยู่ในช่วงถัดจากยุคกลางจนถึงศตวรรษที่ 19 และใช้อย่างแพร่หลายในยุโรปและต่อมาในอเมริกาเหนือ ออสเตรเลียและแอฟริกา มักเขียนและขายในแผ่นกระดาษหน้าเดียว รูปแบบนี้มักใช้กับกวีและนักประพันธ์ตั้งแต่ศตวรรษที่ 18 เป็นต้นมาเพื่อเขียนลำนำโคลงสั้น ๆ ต่อมาในศตวรรษที่ 19 ใช้ในความหมายของเพลงป็อป ความรักช้า ๆ และความหมายนี้มักใช้ในความหมายแบบเดียวกันกับเพลงรัก.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและบัลลาด · ดูเพิ่มเติม »

บัลเลต์

Classical bell tutus in ''The Dance Class'' by Degas, 1874 บัลเลต์ บัลเลต์ (ballet) หมายถึง การแสดงที่ประกอบด้วยการเต้น และ ดนตรีมีลักษณะเช่นเดียวกับอุปรากร เพียงแต่บัลเลต์เป็นการนำเสนอเนื้อเรื่อง โดยใช้การเต้นเป็นสื่อ มีกำเนิดขึ้นในระหว่างศตวรรษที่ 15 ที่ประเทศฝรั่งเศส ต่อมาในศตวรรษที่ 19 ได้แพร่หลายเข้าไปในประเทศอิตาลี การพัฒนาในยุคนี้คือ นิยมให้ผู้หญิงเป็นผู้แสดงเอก เรียกว่า บัลเลรินา (Ballerina) ศตวรรษที่ 20 บัลเลต์ได้รับการพัฒนาให้มีรูปแบบใหม่ที่เรียกว่า โมเดิร์นแดนซ์ (Modern Dance) คือ การนำเอาหลักของบัลเลต์มาผสมผสานดัดแปลงให้เป็นการเต้น โดยไม่ต้องใส่รองเท้าบัลเลต์และไม่ต้องใช้ปลายเท้าในลักษณะของบัลเลต์ ผู้มีบทบาทสำคัญในการประพันธ์เพลงบัลเลต์ ได้แก่ ไชคอฟสกี โปรโกเฟียฟ คอปแลนด์ และฟัล.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและบัลเลต์ · ดูเพิ่มเติม »

ชาร์ล กูโน

ร์ล-ฟรองซัว กูโน ชาร์ล-ฟร็องซัว กูโน (Charles-François Gounod; 18 มิถุนายน พ.ศ. 2361–18 ตุลาคม พ.ศ. 2436) เป็นคีตกวีชาวฝรั่ง.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและชาร์ล กูโน · ดูเพิ่มเติม »

บาสซูน

thumb บาสซูน (bassoon) เป็นเครื่องดนตรีประเภทเป่าลมผ่านลิ้นเช่นเดียวกับโอโบ เป็นปี่ขนาดใหญ่ใช้ลิ้นคู่ (double reed) รูปร่างของบาสซูน ค่อนข้างจะประหลาดกว่าปี่ชนิดอื่น ๆ เนื่องจากความใหญ่โตของท่อลม ซึ่งมีความยาวถึง 109 นิ้ว แต่เพื่อไม่ให้ยาวเกะกะ จึงใช้วิธีทบท่อลิ่มให้เหลือความยาวประมาณ 4 ฟุตเศษ บาสซูนมีน้ำหนักมากจึงต้องมีสายคล้องคอช่วยพยุงน้ำหนัก (sling) เพื่อให้มือทั้งสองของผู้เล่นขยับไปกดแป้นต่าง ๆ ได้สะดวก บาสซูนได้รับฉายาว่าเป็น "ตัวตลกของวงดุริยางค์" (The Clown of the Orchestra) ทั้งนี้เพราะเวลาบรรเลงเสียงสั้น ๆ ห้วน ๆ (staccato) อย่างเร็ว ๆ จะมีเสียงดัง ปูด…ปู๊ด… คล้ายลักษณะท่าทางของตัวตลก ที่มีอากัปกิริยากระโดดเต้นหยอง ๆ ในโรงละครสัตว์ เสียงของบาสซูนต่ำนุ่มลึก ถือเป็นแนวเบสของกลุ่มเครื่องลมไม้ นอกนั้นยังสามารถเล่นทำนองเดียวได้อย่างงดงามอีกด้วย หมวดหมู่:เครื่องดนตรีออร์เคสตรา หมวดหมู่:เครื่องลมไม้.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและบาสซูน · ดูเพิ่มเติม »

ชนชั้นสูง

ห้างสรรพสินค้าแฮร์รอดส์ พ.ศ. 2452 เป็นศูนย์รวมพบปะของชนชั้นสูงในกรุงลอนดอน ชนชั้นสูง (upper class) ในสังคมสมัยใหม่ประกอบด้วยกลุ่มบุคคลที่ร่ำรวยที่สุดของสังคมและรวมถึงผู้ที่ทรงอิทธิพลทางการเมือง ดังนั้นจึงสามารถจำแนกชนชั้นสูงออกได้ตามความร่ำรวยซึ่งส่งต่อจากรุ่นสู่รุ่น ดังตัวอย่างที่เห็นได้ชัดในสหรัฐอเมริกา กลุ่มคนที่รวยที่สุดของประเทศ 1% ถือครองทรัพย์สินกว่า 34% ของประเทศ คนในชนชั้นนี้ส่วนใหญ่มักเป็นชนชั้นสูงมาตั้งแต่กำเนิด ชนชั้นสูงอาจสูญเสียอิทธิพลทางการเมืองในสังคมที่ตนเองอาศัยอยู่ เราจะเรียกกลุ่มคนเหล่านี้ว่าผู้ดีเก่า ซึ่งเกิดขึ้นมากในช่วงการเปลี่ยนผ่านจากยุคศตวรรษที่ 20 สู่ศตวรรษที่ 21 จากการเมืองการปกครองที่เปลี่ยนแปลงไปตามวิถีประชาธิปไตยและรวมไปถึงการกำเกิดใหม่มากมายของคนชนชั้นกลาง ในภายหลังถือว่าปริมาณความมั่งคั่งและชื่อเสียงไม่ใช่ตัวชี้วัดที่จะแบ่งคนในชนชั้นนี้ออกได้ ชนชั้นสูงมีวิถีชีวิตและวัฒนธรรมร่วมกันในชนชั้น ในประวัติศาสตร์ มีชนชั้นสูงจำนวนไม่น้อยที่สามารถอยู่ได้โดยไม่ต้องทำมาหาเลี้ยงชีพ แต่อาศัยกินดอกผลจากค่าเช่าที่ดินหรือผลตอบแทนในกิจการที่เป็นสมบัติตกทอดกันมา ดังนั้นหากวัดด้วยจำนวนเงินแล้ว ชนชั้นสูงอาจจะไม่ได้ร่ำรวยเท่ากับพวกพ่อค้าวาณ.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและชนชั้นสูง · ดูเพิ่มเติม »

ฟรันซ์ ชูแบร์ท

ฟรันซ์ ชูแบร์ท ฟรันซ์ เพเทอร์ ชูแบร์ท (Franz Peter Schubert) (31 มกราคม พ.ศ. 2340 — 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2371) คีตกวีชาวออสเตรี.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและฟรันซ์ ชูแบร์ท · ดูเพิ่มเติม »

ฟรันซ์ ลิซท์

ฟรันซ์ ลิซท์ (Franz Liszt) หรือ แฟแร็นตส์ ลิสต์ (Liszt Ferenc) เป็นคีตกวีและนักเปียโนชาวฮังกาเรียน เกิดที่เมืองไรดิง เมื่อวันที่ 22 ตุลาคม..

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและฟรันซ์ ลิซท์ · ดูเพิ่มเติม »

ฟร็องซิส ปูแล็งก์

ฟร็องซิส ฌ็อง มาร์แซล ปูแล็งก์ (Francis Jean Marcel Poulenc, สัทอักษร) เกิด 7 มกราคม พ.ศ. 2441 (ค.ศ. 1899) เสียชึวิต 30 มกราคม พ.ศ. 2506 (ค.ศ. 1963) เป็นคีตกวีชาวฝรั่งเศส เขาเป็นหนึ่งในสมาชิกของกลุ่มคีตกวีทั้งหก (ดาร์ยีส มีโย, ชอร์ช ออรีก, อาร์ตูร์ โอเนแกร์, ลุย ดูเรย์ และแชร์แมน ตายแฟร์) ปูแล็งก์เกิดที่กรุงปารีสเมื่อ พ.ศ. 2441 และเสียชีวิตเนื่องจากอาการหัวใจล้มเหลวเมื่อ พ.ศ. 2506 ในกรุงปารีสเช่นกัน ศพของเขาถูกฝังไว้ที่สุสานแปร์ลาแชส ในกรุงปารี.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและฟร็องซิส ปูแล็งก์ · ดูเพิ่มเติม »

ฟลูต

ฟลุต ฟลูต (flute) เป็นเครื่องดนตรีสากลประเภทเครื่องเป่าลมไม้ ซึ่งแตกต่างจากเครื่องเป่าลมประเภทอื่น ๆ ที่กำเนิดเสียงจากการสั่นสะเทือนของลิ้น ฟลูต กำเนิดเสียงจากการผิวของลม ลักษณะเสียงของฟลูตจะมีความไพเราะ นุ่มนวล อ่อนหวาน.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและฟลูต · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1019

ทธศักราช 1019 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและพ.ศ. 1019 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1943

ทธศักราช 1943 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและพ.ศ. 1943 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2143

ทธศักราช 2143 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและพ.ศ. 2143 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2272

ทธศักราช 2272 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและพ.ศ. 2272 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2273

ทธศักราช 2273 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและพ.ศ. 2273 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2293

ทธศักราช 2293 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและพ.ศ. 2293 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2363

ทธศักราช 2363 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและพ.ศ. 2363 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2443

ทธศักราช 2443 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1900 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและพ.ศ. 2443 · ดูเพิ่มเติม »

พิณ

ฟล์:Double_harp.JPG|ฮาร์ป ไฟล์:ReinassanceLute.jpg|ลูต พิณ อาจหมายถึง.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและพิณ · ดูเพิ่มเติม »

กรีซโบราณ

กรีซโบราณ (Ancient Greece) เป็นคำที่ใช้เรียกถึงบริเวณที่มีการพูดภาษากรีกในโลกยุคโบราณ ซึ่งไม่เพียงอ้างถึงพื้นที่คาบสมุทรของกรีซยุคปัจจุบันเท่านั้น แต่ยังกล่าวรวมถึงอารยธรรมกรีกโบราณซึ่งเป็นที่ตั้งรกรากถิ่นฐานโดยชาวกรีกในยุคโบราณอันได้แก่ ไซปรัส, บริเวณชายฝั่งของทะเลอีเจียนของตุรกี (หรือที่รู้จักในนามไอโอเนีย), ซิซิลีและทางใต้ของอิตาลี (หรือที่รู้จักในนามแมกนา เกรเชีย) และถิ่นฐานซึ่งกระจายออกไปของชาวกรีกตามชายฝั่งต่างๆซึ่งปัจจุบันเป็นประเทศ บัลแกเรีย ฝรั่งเศส ยูเครน โรมาเนีย ลิเบีย สเปน อัลแบเนีย และอียิปต.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและกรีซโบราณ · ดูเพิ่มเติม »

กลองทิมปานี

ทิมปานี กลองทิมปานี (Timpani) เป็นกลองที่ปรับระดับเสียงได้ มีรูปร่างคล้ายกระทะหรือกาต้มน้ำ จึงมีชื่อเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า ตั้งอยู่บนฐาน ตัวกลองทำด้วยทองแดง ใช้หนังลูกวัวขึง มีสกรูอยู่รอบๆ ขอบกลองเพื่อใช้บังคับหนังกลองให้ตึงมากน้อยให้เกิดระดับเสียงที่ต้องการ นอกจากสกรูแล้วที่ฐานยังมีกระเดื่องไว้ให้ผู้เล่นเหยียบเปลี่ยนระดับเสียงอุปกรณ์ที่สำคัญอีกอย่างหนึ่งคือ ไม้ตีกลอง (Drum Sticks)ซึ่งมีขนาดแตกต่างกัน (เล็ก กลาง และใหญ่) หัวไม้ตีกลองมักจะหุ้มด้วยสักหลาด ผ้า สำลี ไม้ก๊อก หรือ ฟองน้ำเสียงของทิมปานี จะทุ้มมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับเส้นผ่าศูนย์กลาง ของหน้ากลอง ถ้าเส้นผ่าศูนย์กลางยาวมากเสียงก็จะทุ้มมากถ้าเส้นผ่าศูนย์กลางสั้น เสียงจะมีความทุ้มน้อย เสียงของกลองทิมปานี เทียบได้กับเสียงเบสเป็นเสียงที่แสดงอำนาจตื่นเต้น เร้าใจ กลองทิมปานีจะใช้บรรเลงในวงออร์เคสตรา ในการบรรเลงต้องใช้กลองทิมปานีอย่างน้อย 2 ใบ จึงมีรูปพหูพจน์อยู่เสมอคือ "Timpani" ถ้าเป็นเอกพจน์หรือกลองลูกเดียวเรียกว่า "Timpano" กลองทิมปานีเป็นกลองที่มีระดับเสียงที่นิยมมี 4 ขนาด คือ 20 นิ้ว, 23 นิ้ว, 26 นิ้วและ29นิ้ว กลองแต่ละใบจะมีช่วงห่างของเสียงอยู่ราวคู่ 5 เพอร์เฟค (Perfect) และถ้าต้องการจะให้มีเสียงที่ดีควรจัดให้เสียงอยู่ช่วงกลาง หมวดหมู่:เครื่องดนตรีออร์เคสตรา.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและกลองทิมปานี · ดูเพิ่มเติม »

กลองใหญ่

กลองใหญ่ (Bass Drum) คือ เครื่องตีกระทบ มี 2 หน้า ขึงด้วยหนังกลอง กลองใหญ่ที่ใช้ในวงออร์เคสตราและเป็น กระเดื่องในกลองชุดด้วย จะมีขนาดใหญ่ที่สุดกว่า 32 นิ้ว ถ้าใช้ในวงโยธวาทิตและแตรวง จะมีขนาดตั้งแต่ 24 – 32 นิ้ว ตีด้วยไม้ตี ปลายไม้ข้างหนึ่งทำเป็นปมไวัสำหรับใช้ตีกระทบกับหนังกลอง ปมนั้นอาจหุ้มด้วยสักหลาด ไม้ก็อก ผ้านวมหรือฟองน้ำ เสียงกลองตีเน้นย้ำจังหวะเพื่อให้เกิดวามหนักแน่นหรืออาจจะใช้รัวเพื่อให้เกิดความตื่นเต้น รัวเพื่อสร้างจุดสนใจในบทเพลงเพิ่มขึ้นก็ได้ หมวดหมู่:เครื่องดนตรีออร์เคสตรา.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและกลองใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

การร้องเพลง

แพตตี สมิธ ร้องเพลงในปี 2007 การร้องเพลง หรือ การขับร้อง คือการทำให้เกิดเสียงดนตรีจากเสียงและเสริมด้วยถ้อยคำทั้งระบบเสียงสูงต่ำและจังหวะ คนที่ขับร้องเพลงเรียกว่านักร้อง และนักร้องจะแสดงการขับร้องเพลง ซึ่งอาจจะร้องแบบอะแคปเปลา (ร้องโดยไม่ใช้ดนตรี) หรือมีนักดนตรี เครื่องดนตรีประกอบ ไม่ว่าจะเป็นเครื่องดนตรีตัวเดียวหรือเต็มวง การร้องนั้นส่วนใหญ่จะร้องร่วมการแสดงกับนักดนตรีกลุ่มอื่น ไม่ว่าจ่ะเป็นกลุ่มคอรัสที่ร้องในเสียงที่แตกต่างกัน หรือกลุ่มนักเล่นดนตรี อย่างเช่นวงร็อกเป็นต้น การร้องเพลงนั้นอาจร้องแบบไม่เป็นทางการ ร้องเพื่อความบันเทิง อย่างเช่นร้องระหว่างการอาบน้ำ ร้องคาราโอเกะ หรือในบางกรณีร้องอย่างเป็นทางการ เช่นร้องในระหว่างพิธีทางศาสนา หรือนักร้องอาชีพร้องเพื่อแสดงบนเวทีหรือร้องในสตูดิโอ การร้องที่มีทักษะสูงหรือร้องในระดับอาชีพ มักจะต้องอาศัยความสามารถแต่กำเนิด การเรียนการสอน และการฝึกฝน นักร้องมืออาชีพจะสร้างหนทางสู่อาชีพด้วยการเป็นนักร้องในแนวเพลงต่าง ๆ อย่างเช่น นักร้องคลาสสิก นักร้องร็อก พวกเขาต้องฝึกทักษะการร้องในแนวเพลงนั้น ทั้งจากครูสอนร้องหรือโค้ชร้อง ในอาชีพของพวก.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและการร้องเพลง · ดูเพิ่มเติม »

กุสตาฟ มาห์เลอร์

กุสตาฟ มาห์เลอร์ ในวัยเด็ก กุสตาฟ มาห์เลอร์ (เกิด 7 กรกฎาคม ค.ศ. 1860 - เสียชีวิต 18 พฤษภาคม ค.ศ. 1911) เป็นคีตกวีและวาทยกรชาวโบฮีเมียน-ออสเตรียน มาห์เลอร์เป็นที่รู้จักในยุคของเขา ในฐานะวาทยากรชื่อดังแห่งยุค แต่ในปัจจุบัน เขากลับเป็นที่ยอมรับในฐานะคีตกวีแห่งยุคนีโอโรแมนติก โดยเฉพาะอย่างยิ่งจากซิมโฟนี และบทเพลงในลักษณะซิมโฟนี เช่น เพลง Das Lied von der Erde (บทเพลงแห่งโลก) ที่เป็นจุดสุดยอดของบทเพลงขับร้องที่เขาประพันธ์ ส่วนซิมโฟนีหมายเลข 3 ความยาว 95 นาที นับเป็นซิมโฟนีที่ยาวที่สุดที่เคยมีการเปิดแสดง และยังชื่อได้ว่าเป็นซิมโฟนีที่ยาวที่สุดในบรรดาซิมโฟนีทั้งหลายอีกด้ว.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและกุสตาฟ มาห์เลอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาธร ศรีกรานนท์

รองศาสตราจารย์ ดร.ภาธร ศรีกรานนท์ (เกิด 4 มกราคม พ.ศ. 2516) เป็นนักประพันธ์ดนตรี นักวิชาการดนตรี และนักดนตรี เชี่ยวชาญในเครื่องดนตรี แซกโซโฟนและคลาริเน็ต เป็นสมาชิกหนึ่งใน วง อ.ส. วันศุกร.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและภาธร ศรีกรานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

มาร์ช

มาร์ช (march) หมายถึง เพลงแบบหนึ่งซึ่งประพันธ์ไว้ใช้ในการเดินแถว เช่น การเดินแถวของทหาร เป็นต้น เพื่อให้การเดินแถวมีระเบียบเรียบร้อยไม่สับสน โดยจะมีจังหวะการเดินตามจังหวะเพลง.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและมาร์ช · ดูเพิ่มเติม »

มินูเอ็ต

การเต้นรำมินูเอ็ตในยุคเรอเนซองส์ โดยมีหลักฐานที่ชัดเจน มินูเอ็ต (อังกฤษ: minuet) หรือ เมนูเอ็ต (ฝรั่งเศส: menuet)คำว่า มินูเอ็ต มาจากคำว่า Menu ภาษาละติน Munutus ซึ่งแปลว่า "เล็ก ๆ" เพราะมินูเอ็ตเป็นเพลงขนาดเล็กเล่นตามราชสำนัก มีอัตราจังหวะ 3/4 คล้ายเพลงวอลซ์ ฌอง แบปติสท์ ลุลลี ซึ่งเป็นผู้ริเริ่มนำเพลงจังหวะมินูเอ็ตมาใช้ แล้วมินูเอ็ตก็ได้รับความนิยมในหมู่ขุนนาง การเต้นรำมินูเอ็ตนั้น จะให้นักเต้นรำเลือกคู่ แล้วก็เต้นรำกันไปตามจังหวะของเพลง แล้วจากนั้น โยฮันน์ เซบาสเตียน บาคและจอร์จ เฟรดริก ฮันเดลได้ยืมความคิดแล้วมาแต่งในฉบับของตัวเอง เพลงมินูเอ็ตก็จะเป็นแบบยุคบาโรค โดยมีอัตราจังหวะ 3/8 หรือ 6/8 เพลงมินูเอ็ตจะเป็นเพลงประกอบตอนท้าย ๆ ของเพลงโอเวอเจอร์ของอิตาลีด้วย ผลงานมินูเอ็ตของบาค ปรากฏอยู่ใน Orchestral Suite โดยบางบทจะมีเพลงเต้นรำมินูเอ็ตรวมอยู่ด้วย มินูเอ็ตได้รับความนิยมจนถึงยุคคลาสสิกได้มีการปฏิวัติทางดนตรีอย่างมาก ได้มีแนวคิดใหม่ ๆ โดยการใช้มินูเอ็ตเป็นท่อนที่ 3 ในซิมโฟนี โดย โยเซฟ ไฮเดิน ได้วางรากฐานของดนตรีประเภทคอนแชร์โต้ ซิมโฟนีและโซนาต้า โดยให้ท่อนที่ 3 ใช้ทำนองเพลงแบบมินูเอ็ต โมซาร์ทก็ได้นำความคิดของไฮเดินมาใช้เหมือนกัน แต่ต่อมาในยุคของ เบโธเฟ่นที่กำลังจะเข้าสู่ยุคโรแมนติก เบโธเฟ่นได้เปลี่ยนแปลงให้ท่อนที่ 3 จากลักษณะมินูเอ็ตเป็นรอนโด้หรือสแกร์โซแทน หลังจากนั้นมาความคิดของเบโธเฟ่นก็เป็นที่นิยม มินูเอ็ตที่มีชื่อเสียง คือ Menuet BWV 113-116 ของบาค มินูเอ็ตของลุยจิ บอคเคอรินี่(Luigi Boccherini) และบางช่วงในอุปรากรเรื่องดอน โจวานนี ของโมซาร์ท หมวดหมู่:อภิธานศัพท์ดนตรี หมวดหมู่:การเต้นรำ.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและมินูเอ็ต · ดูเพิ่มเติม »

ริชาร์ด ชเตราส์

ริชาร์ด เกออร์ก ชเตราส์ (Richard Georg Strauss; 11 มิถุนายน ค.ศ. 1864 – 8 กันยายน ค.ศ. 1949) เป็นนักแต่งเพลงชาวเยอรมัน ช่วงปลายของดนตรียุคโรแมนติก และต้น ยุคใหม่ เป็นที่รู้จักจากผลงานอุปรากร อย่าง Der Rosenkavalier, Elektra, Die Frau ohne Schatten และ Salome; ผลงานเพลงFour Last Songs; เพลงศรีปราชญ์ (Tone Poem) อย่าง Don Juan, Death and Transfiguration, Till Eulenspiegel's Merry Pranks, Also sprach Zarathustra, Ein Heldenleben, Symphonia Domestica และ An Alpine Symphony ชเตราส์ยังเป็นวาทยกรที่มีชื่อเสียงในยุโรปตะวันตกและอเมริกา หมวดหมู่:วาทยกร หมวดหมู่:คีตกวีชาวเยอรมัน หมวดหมู่:บุคคลจากมิวนิก หมวดหมู่:ผู้ได้รับเครื่องอิสริยาภรณ์เลฌียงดอเนอร์.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและริชาร์ด ชเตราส์ · ดูเพิ่มเติม »

ริชาร์ด วากเนอร์

ริชาร์ด วากเนอร์ (Richard Wagner; เกิดเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม ค.ศ. 1813 เสียชีวิตเมื่อวันที่ 13 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1883) เป็นหนึ่งในคีตกวีเอกชาวเยอรมัน ในสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 19 และยังเป็นนักทฤษฎีดนตรีที่เก่งกาจ ส่วนใหญ่แล้วผลงานของวากเนอร์เป็นที่รู้จักจากอุปรากรที่เขาแต่ง ซึ่งมักจะเป็นเรื่องราวโศกนาฏกรรมประกอบดนตรี อิทธิพลของวากเนอร์ในดนตรีตะวันตกนั้นมากมายมหาศาล โดยเฉพาะอย่างยิ่งในอุปรากรที่เขาปฏิวัติรูปแบบโดยสิ้นเชิง Richard Wagner.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและริชาร์ด วากเนอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ละครบรอดเวย์

รงละครนิวแอมสเตอร์แดม และละครบรอดเวย์เรื่อง เดอะไลออนคิง ละครบรอดเวย์ (Broadway theatre) มีชื่อเสียงทางด้านของศิลปะการละครเวที มีเอกลักษณ์ของละครอเมริกันอย่างที่นิยมกันเรียกกันว่าละครเพลง มีองค์ประกอบรูปแบบการแสดง เพลงและการเต้นรำในลักษณะต่างๆ ที่กำหนดไว้อย่างตายตัวไม่ว่าจะมีการแสดงสักกี่รอบก็ตาม โดย บรอดเวย์ เป็นชื่อของถนนสายหนึ่งในเมืองนิวยอร์ก ประเทศสหรัฐอเมริกา และวงการภาพยนตร์ก็มักจะนำเรื่องราวจากละครเพลงมาทำเป็นภาพยนตร์และส่วนมากจะประสบความสำเร็จได้รางวัลอยู่เสมอ เช่น เรื่อง West Side Story, The Sound of Music, South Pacific, The King and I, และ Chicago เป็นต้น ละครเพลงบรอดเวย์ แต่ละเรื่องมักได้รับความนิยมยาวนานมาก ตัวอย่าง เมื่อวันที่ 9 มกราคมปีนี้เอง ที่สถิติบันทึกว่า ละครเพลงเรื่อง The Phantom Of Opera ได้ทำการแสดงยาวนานที่สุด จำนวน 7,486 รอบ ณ โรงละครมาเจสติก และหลายเรื่องได้รับรางวัลโทนี่ ซึ่งเป็นมาตรฐานดีที่สุดของวงการบรอดเว.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและละครบรอดเวย์ · ดูเพิ่มเติม »

ลุดวิจ ฟาน เบโทเฟน

ลุดวิจ ฟาน เบโทเฟน ใน ค.ศ. 1820 ลุดวิจ ฟาน เบโทเฟน (Ludwig van Beethoven,; 16 ธันวาคม ค.ศ. 1770 - 26 มีนาคม ค.ศ. 1827) เป็นคีตกวีและนักเปียโนชาวเยอรมัน เกิดที่เมืองบอนน์ ประเทศเยอรมนี เบโทเฟนเป็นตัวอย่างของศิลปินยุคจินตนิยมผู้โดดเดี่ยว และไม่เป็นที่เข้าใจของบุคคลในยุคเดียวกันกับเขา ในวันนี้เขาได้กลายเป็นคีตกวีที่มีคนชื่นชมยกย่องและฟังเพลงของเขากันอย่างกว้างขวางมากที่สุดคนหนึ่ง ตลอดชีวิตของเขามีอุปสรรคนานัปการที่ต้องฝ่าฟัน ทำให้เกิดความเครียดสะสมในใจเขา ในรูปภาพต่าง ๆ ที่เป็นรูปเบโทเฟน สีหน้าของเขาหลายภาพแสดงออกถึงความเครียด แต่ด้วยจิตใจที่แข็งแกร่งของเขา ก็สามารถเอาชนะอุปสรรคต่าง ๆ ในชีวิตของเขาได้ ตำนานที่คงอยู่นิรันดร์เนื่องจากได้รับการยกย่องจากคีตกวีโรแมนติกทั้งหลาย เบโทเฟนได้กลายเป็นแบบอย่างของพวกเขาเหล่านั้นด้วยความเป็นอัจฉริยะที่ไม่มีใครเทียมทาน ซิมโฟนีของเขา (โดยเฉพาะอย่างยิ่งซิมโฟนีหมายเลข 5 ซิมโฟนีหมายเลข 6 ซิมโฟนีหมายเลข 7 และ ซิมโฟนีหมายเลข 9) และคอนแชร์โตสำหรับเปียโนที่เขาประพันธ์ขึ้น (โดยเฉพาะอย่างยิ่งคอนแชร์โตหมายเลข 4 และ หมายเลข 5) เป็นผลงานที่ได้รับความนิยมมากที่สุด แต่ก็มิได้รวมเอาความเป็นอัจฉริยะทั้งหมดของคีตกวีไว้ในนั้น.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและลุดวิจ ฟาน เบโทเฟน · ดูเพิ่มเติม »

วาทยกร

วาทยกร (conductor) หรือผู้อำนวยเพลง คือคนที่ตีความหมายของบทเพลง โดยเห็นภาพรวมทั้งหมดของวงดนตรี มีหน้าที่ดึงความสัมพันธ์ของเครื่องดนตรีแต่ละชิ้นออกมาเพื่อสอดผสานรวมเป็นหนึ่งเดียวกัน อาจกล่าวอีกนัยได้ว่า วาทยกรเป็นผู้ที่สื่อสารกับนักดนตรีด้วยภาษามือ เป็นเหมือนภาษาใบ้ที่ใช้กับดนตรี พร้อมกันนี้วาทยกรต้องมีความเป็นผู้นำที่สามารถให้ความเชื่อมั่นแก่นักดนตรีด้วย เสมือนผู้กำกับ วาทยกรควบคุมวงดนตรีโดยการใช้รหัสหรือสัญญาณมือ มักถือไม้บาตอง (Baton) ที่มือขวาสำหรับให้จังหวะ ส่วนมือซ้ายจะควบคุมในด้านอื่น เช่น ให้นักดนตรีเล่นเสียงดังหรือค่อย หรือเป็นการแสดงออกด้านอารมณ์อื่น ๆ ที่วาทยกรต้องการสื่อสารกับนักดนตรีในวง วาทยากรจะพบในการแสดงดนตรีที่ใช้นักดนตรีจำนวนมาก เช่นในวง ออร์เคสตร้า วงประสานเสียง ส่วนการบรรเลงดนตรีในวงดุริยางค์ของกองทัพ อาจเรียกว่า หัวหน้าวงดุริยางค์ วาทยกรผู้เป็นสมาชิกของวงออร์เคสตร้าจะเป็นคนที่กำหนดทิศทางของวง ซึ่งบางครั้งเรียกว่า ผู้กำกับดนตรี หรือเรียกว่า คาเปลไมสเตอร์ (Kapellmeister) ในภาษาเยอรมันซึ่งหมายความถึง หัวหน้าวาทยากรในวงออร์เคสตร้าเยอรมัน สำหรับวาทยกรของวงประสานเสียง จะเรียก ผู้ควบคุมวงประสานเสียง ส่วนวาทยากรอาวุโสจะเรียกว่า มาเอสโตร (maestro - นาย) ในภาษาอิตาเลียน แต่ความสำคัญของวาทยกรนั้น ไม่ได้อยู่แค่ที่การกำกับวงออกแสดงเท่านั้น กลับอยู่ที่การฝึกซ้อมนักดนตรีให้เล่นคีตนิพนธ์ต่าง ๆ ตามการตีความของวาทยกรแต่ละคน การนำวงดุริยางค์ออกแสดงเป็นแต่เพียงช่วงเวลาสั้น ๆ ของการเล่นและการตีความคีตนิพนธ์นั้น ๆ เพราะการฝึกซ้อมต้องใช้เวลาที่ยาวนานกว่าการออกแสดงแต่ละครั้ง ทั้งนี้วาทยกรยังต้องเป็นผู้ที่สามารถแนะนำหรือแก้ไขเทคนิคต่าง ๆ ให้แก่นักดนตรีได้ วาทยกรที่ดีจึงมักจะเป็นนักดนตรีที่ดีมาก่อนด้วย จึงจะสามารถเข้าใจปัญหาของวงได้เป็นอย่างดี และรู้ความสามารถและขีดจำกัดของเครื่องดนตรีแต่ละชนิด วาทยกรที่ดีเป็นแบบใดนั้น เป็นเรื่องที่ให้คำจำกัดความได้ยาก เพราะวาทยกรบางคนให้จังหวะแก่นักดนตรีได้อย่างแม่นยำ แต่วาทยกรบางคนก็ดูประหนึ่งว่าไม่ค่อยให้จังหวะแก่นักดนตรี หรือที่นักดนตรีเรียกว่า "ให้คิว" แต่กลับสื่อสารกับนักดนตรีได้อย่างสมบูรณ์แบบ ดังนั้น คุณค่าของวาทยกรจึงไม่ได้อยู่ที่ลีลาการกำกับวงเมื่อออกแสดง แต่อยู่ที่การฝึกซ้อมและการสื่อสารกับนักดนตรีให้เข้าใจ วาทยกรใหญ่หลายต่อหลายคนออกท่าทางน้อยมาก เช่น อิกอร์ มาร์เควิช (Igor Markevitch) หรือบางคนอาจดูเหมือนให้จังหวะที่สับสน เช่น วิลเฮ็ล์ม ฟวร์ตแวงเลอร์ (Wilhelm Furtwangler) แต่บทเพลงภายใต้การกำกับวงของเขาเป็นที่ยอมรับกันทั่วไปว่าเต็มเปี่ยมไปด้วยความล้ำลึก คุณค่าของวาทยกรจึงมิได้วัดด้วยสายตา แต่ต้องวัดจากการฟังของผู้ฟัง หมวดหมู่:อาชีพ.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและวาทยกร · ดูเพิ่มเติม »

วานิช โปตะวณิช

150px วานิช โปตะวนิช (Vanich Potavanich) นักดนตรี และวาทยกรชาวไทย และผู้อำนวยการด้านดนตรีของวงซิมโฟนี่กรุงเท.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและวานิช โปตะวณิช · ดูเพิ่มเติม »

วิโอลา

วิโอลา เป็นเครื่องดนตรีในตระกูลเครื่องสายที่มีรูปร่างคล้ายไวโอลิน แต่มีขนาดที่ใหญ่กว่า นิยมเล่นใน วงออร์เคสตรา และ วงเครื่องสาย ซึ่งมีต้นกำเนิดมาจากโลกตะวันตก เป็นหนึ่งในเครื่องดนตรีตระกูลไวโอลิน อันประกอบไปด้วยไวโอลิน วิโอลา เชลโล และ ดับเบิลเบส โดยวิโอลามีระดับเสียงต่ำกว่า ไวโอลิน แต่สูงว่าเชลโลและดับเบิล.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและวิโอลา · ดูเพิ่มเติม »

วงทริโอ

วงทริโอ (Trio) เป็นวงดนตรีที่ประกอบด้วยผู้เล่นดนตรี 3 คน ใช้เครื่องดนตรี 3 ชิ้น วงที่มีความนิยมสูงคือวงที่ประกอบด้วย เปียโน, ไวโอลิน และ เชลโล เรียกว่า "เปียโนทริโอ" วงทริโอนี้อาจมีการผสมผสานเครื่องดนตรีที่แตกต่างออกไปเช่น ใช้คลาริเน็ตแทนไวโอลิน (คลาริเน็ตทริโอ), ใช้เฟรนช์ฮอร์นแทนเชลโล (ฮอร์นทริโอ) หรือแม้แต่การผสมวงที่ไม่มีเปียโน เช่น ไวโอลิน, วิโอลา และ เชลโล (สตริงทริโอ), คลาริเน็ต, โอโบ และ บาสซูน (วู้ดวินด์ทริโอ) ฯลฯ วงเปียทริโอพัฒนามาจาก"แอคคอมพานีโซนาตา"ในสมัยของโมซาร์ท ซึ่งความจริงแล้วโมซาร์ทเปียโนทริโอที่เรารู้จักกันทุกทุกวันนี้ ก็คือโซนาตาสำหรับเปียโนที่มีการเล่นประกอบโดยไวโอลินและเชลโล โดยบทเด่นที่สุดและยากที่สุดจะเป็นของเปียโน ไวโอลินกับเชลโลอาจเพียงเล่นโน้ตเดียวกันกับมือซ้ายหรือมือขวาของเปียโน ต่อมาในสมัยของเบโธเฟน เครื่องสายได้มีบทบาทมากขึ้น เนื่องจากเป็นที่นิยมมากในหมู่ผู้เล่นดนตรี จุดเปลี่ยนแปลงที่จะเห็นได้ชัดที่สุด คือเปียโนทริโอที่ประพันธ์โดยเบโธเฟน ซึ่งไวโอลินและเชลโลในเปียโนทริโอบางบท มีบทบาทมากกว่าเปียโนเสียอีก ซึ่งเป็นผลให้นักประพันธ์เพลงในสมัยต่อๆมา ประพันธ์เพลงด้วยความมีอิสระมากขึ้น มีการผสมผสานเครื่องดนตรีในรูปแบบที่แปลกใหม่ออกไป หมวดหมู่:กลุ่มดนตรี หมวดหมู่:วงทริโอ.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและวงทริโอ · ดูเพิ่มเติม »

ศิลปะจินตนิยม

''Wanderer above the Sea of Fog'' ภาพวาดของ แคสเปอร์ เดวิด ฟรีดดริก ในปี 1818 ศิลปะจินตนิยม (Romanticism) เริ่มต้นขึ้นในช่วงหลังของคริสต์ศตวรรษที่ 18 ในยุโรปตะวันตก เป็นการเปลี่ยนแปลงของแนวคิดทางปรัชญา วรรณกรรม และศิลปกรรม อันนำมาซึ่งการปฏิวัติอุตสาหกรรมในยุโรป กำเนิดของศิลปะจินตนิยมมีส่วนมาจากการต่อต้านแนวคิดทางสังคมและการเมืองแบบเก่าของยุคแสงสว่าง รวมถึงปฏิกิริยาต่อต้านการศึกษาวิทยาศาสตร์เกี่ยวกับธรรมชาติ โดยมากแนวคิดของศิลปะในยุคนี้จะสะท้อนออกมาในงานศิลปะแบบภาพวาด ดนตรี และวรรณกรรม ตัวอย่างศิลปินผู้มีชื่อเสียงในยุคจินตนิยม ได้แก่ ลุดวิจ ฟาน เบโทเฟน, เฟรเดริก ชอแป็ง, วิลเลียม เบลก เป็นต้น.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและศิลปะจินตนิยม · ดูเพิ่มเติม »

สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา

รูปสลักเดวิด เมืองฟลอเรนซ์ ประเทศอิตาลี หนึ่งในประติมากรรมชิ้นเอกของยุคนี้ สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา (Renaissance; Rinascimento; แปลว่า เกิดใหม่ หรือคืนชีพ) หรือ เรอแนซ็องส์ เป็นช่วงเวลาที่เกิดการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมในทวีปยุโรป ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของวัฒนธรรมยุคใหม่ สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาเป็นการเคลื่อนไหวทางวัฒนธรรมที่กินเวลาตั้งแต่ราวคริสต์ศตวรรษที่ 14 ถึง 17 ประกอบด้วยการเปลี่ยนแปลงทางวรรณกรรม วิทยาศาสตร์ ศิลปะ ศาสนาและการเมือง การฟื้นฟูการศึกษาโดยอาศัยผลงานคลาสสิก การพัฒนาจิตรกรรม และการปฏิรูปการศึกษาอย่างค่อยเป็นค่อยไป ซึ่งการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวได้อาศัยพลังของนักมนุษยนิยมและปัจเจกชนนิยมเป็นเครื่องจูงใจ เป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปว่า สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาเกิดขึ้นในฟลอเรนซ์ แคว้นทัสกานี ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 14.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา · ดูเพิ่มเติม »

สมัยกลาง

แบบจำลองของหมวกหุ้มเกราะซึ่งถูกพบที่ซัททันฮู ในหลุมศพของผู้นำชาวแองโกล-แซกซัน สันนิษฐานว่าเป็นกษัตริย์ราวปี ค.ศ. 620 ในช่วงต้นสมัยกลางNees ''Early Medieval Art'' pp. 109–112 สมัยกลาง หรือ ยุคกลาง (Middle Ages) คือช่วงเวลาในประวัติศาสตร์ยุโรป ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 5 ถึงคริสต์ศตวรรษที่ 15 โดยปกติแล้วเริ่มนับตั้งแต่การล่มสลายลงของจักรวรรดิโรมันตะวันตก (การสิ้นสุดของสมัยคลาสสิก) จนถึงจุดเริ่มตั้นของสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา และยุคแห่งการสำรวจ ซึ่งเป็นยุคที่นำไปสู่สมัยใหม่ในเวลาต่อมา สมัยกลางคือช่วงเวลาตรงกลางของกระบวนการเปลี่ยนผ่านในประวัติศาสตร์ตะวันตกคือ สมัยคลาสสิก สมัยกลาง และสมัยใหม่ นอกจากนี้สมัยกลางยังถูกแบ่งออกเป็นสามช่วงเวลาคือ ต้นสมัยกลาง (Early Middle Ages), สมัยกลางยุครุ่งโรจน์ (High Middle Ages) และปลายสมัยกลาง (Late Middle Ages) ในยุคกลางตอนต้น การลดลงของประชากร, การหดตัวของเมือง และการรุกรานจากอนารยชน เริ่มต้นขึ้นในยุคโบราณตอนปลายและดำเนินไปอย่างรวดเร็ว เหล่าอนารยชนผู้บุกรุกเข้าตั้งอาณาจักรของตนในส่วนที่เหลืออยู่ของจักรวรรดิโรมันตะวันตก ในคริสต์ศตวรรษที่ 7 แอฟริกาเหนือและตะวันออกกลาง ซึ่งเคยเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิโรมันตะวันออก ได้กลายไปเป็นจักรวรรดิอิสลามหลังจากถูกยึดครองโดยผู้สืบทอดของนบีมุฮัมมัด แม้ว่าจะมีการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและโครงสร้างทางการเมืองมากมาย แต่ก็ไม่ได้เปลี่ยนไปจากยุคโบราณคลาสสิคอย่างสิ้นเชิง จักรวรรดิโรมันตะวันออกหรือจักรวรรดิไบแซนไทน์ยังคงอยู่รอดและรักษาอำนาจของตนเอาไว้ได้ นอกจากนี้แล้วอาณาจักรเกิดใหม่ส่วนใหญ่ยังคงเกี่ยวพันอยู่กับสถาบันที่หลงเหลืออยู่ของชาวโรมัน ในขณะที่วัดวาอารามของคริสต์ศาสนาได้แผ่ขยายไปทั่วยุโรปตะวันตก ในคริสต์ศตวรรษที่ 7 และ 8 ชาวแฟรงก์ภายใต้การปกครองของราชวงศ์การอแล็งเฌียงได้สถาปนาจักรวรรดิขึ้นซึ่งครอบคลุมพื้นที่ส่วนใหญ่ของยุโรปตะวันตกมีนามว่า จักรวรรดิการอแล็งเฌียง ซึ่งยืนยงไปจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 9 เมื่อจักรวรรดิล่มสลายลงจากแรงงกดดันของการรุกรานจากภายนอก เช่น ชาวไวกิงจากทางเหนือ ชาวแมกยาร์จากทางตะวันออก และชาวซาราเซนจากทางใต้ ช่วงต้นสมัยกลางซึ่งเริ่มขึ้นหลังคริสต์ศตวรรษที่ 10 ประชากรของยุโรปขยายตัวอย่างมากจากการที่นวัตกรรมทางเทคโนโลยีและทางการเกษตรทำให้การค้าขายเจริญรุ่งเรืองและการทำเรือกสวนไร่นาขยายตัว ระบบมาเนอร์ - องค์กรของชาวนาตามหมู่บ้านที่ติดค้างค่าเช่าที่ดินและหน้าที่ด้านแรงงานแก่ขุนนาง และระบบเจ้าขุนมูลนาย - โครงสร้างทางการเมืองที่ซึ่งอัศวินและขุนนางศักดิ์ต่ำกว่าติดค้างหน้าที่ด้านการทหารแก่เจ้านายผู้มีศักดิ์สูงกว่าของพวกเขาแลกกับสิทธิ์ในการเก็บค่าเช่าที่ดินและชาวนาใต้ปกครอง สองระบบนี้คือระเบียบของสังคมที่ใช้กันในยุคกลางตอนกลาง ต่อมาอาณาจักรเริ่มรวมศูนย์อำนาจมากขึ้นภายหลังการล่มสลายลงของจักรวรรดิคาโรแล็งเชียง สงครามครูเสดซึ่งเริ่มขึ้นครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและสมัยกลาง · ดูเพิ่มเติม »

สวีต (ดนตรี)

วีต (suite) เป็นบทเพลงชุด คือ บทประพันธ์ที่ประกอบด้วยบทเพลงหลายๆ บทนำมาบรรเลงต่อกันเป็นชุด ซึ่งอาจจะเป็นเรื่องราว หรือเป็นลักษณะของการรวมเพลงประเภทใดประเภทหนึ่ง มีการกำหนดลักษณะของการประพันธ์ไว้อย่างแน่นอน โดยแต่ละท่อนมักจะเป็นลักษณะของจังหวะเต้นรำโดยอยู่ในบันไดเสียงเดียวกัน จึงมีอีกชื่อเรียกว่า dance suite บทเพลงประเภทนี้พบได้มากในโอเปร่า และบัลเลต.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและสวีต (ดนตรี) · ดูเพิ่มเติม »

ออราทอริโอ

ออราทอริโอ (Oratorio) มีกำเนิดขึ้นโดยผู้ประพันธ์เพลงนาม Carisimi (1605-1674) ออราทอริโอเป็นบทเพลงที่ประกอบด้วยการร้องเดี่ยว หรือร้องกลุ่มของนักร้องระดับเสียงต่างๆ การร้องของวงขับร้องประสานเสียง โดยมีการบรรเลงของวงออร์เคสตราประกอบ ซึ่งบทร้องเป็นเรื่องราวขนาดยาวเกี่ยวกับศาสนาคริสต์ ลักษณะของออราทอริโอนั้นมีความคล้ายกับโอเปร่า แต่ออราทอริโอนั้นไม่มีการแต่งตัวแบบละคร ไม่มีฉากหลัง และการแสดงประกอบนั่นเอง ลักษณะเด่นของออราทอริโอที่ต่างไปจากเพลงศาสนาแบบอื่นๆ ได้แก่ การประพันธ์บทร้องที่คำนึงถึงดนตรีประกอบ มิได้มุ่งถึงบทร้องที่นำมาจากบทประพันธ์ของวัดแต่ดั้งเดิมดังเช่นเพลงโบสถ์แบบอื่นๆ นอกจากนี้ออราทอริโอยังเป็นบทเพลงที่มีความยาวมาก ซึ่งต่างไปจากเพลงคันตาตาที่เป็นบทเพลงขนาดสั้นกว่า ออราทอริโอถ้าแสดงโดยสมบูรณ์อาจยาวถึง 4-6 ชั่วโมง ในปัจจุบันการแสดงบทเพลงออราทอริโอจึงมีการตัดเพลงบางท่อนออกเพื่อลดเวลาการแสดงให้เหมาะสม.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและออราทอริโอ · ดูเพิ่มเติม »

ออร์แกน

ออร์แกน (Organ, กรีก: ὄργανον ออร์กานอน) เป็นเครื่องดนตรีสากล ออร์แกนมีประวัติในการประดิษฐ์ที่ยาวนานมาตั้งแต่สมัยโรมัน และมีความสำคัญควบคู่มากับศาสนาคริสต์เลยทีเดียว คำว่า Organ นั้น ก็มาจากภาษาละติน Organum ซึ่งเป็นชื่อที่ใช้เรียกเครื่องดนตรีชนิดหนึ่ง ที่มีชื่อว่า Hydraulis ต้นกำเนิดเสียงของออร์แกนมาจากลม ซึ่งมีแหล่งกำเนิดหลายวิธีซึ่งในสมัยโบราณก็ต้องใช้แรงคนในการผลิตลม เมื่อลมถูกบังคับให้ไหลผ่านท่อที่มีขนาดต่างๆกันก็จะเกิดเสียงที่มีความถี่แตกต่างกัน ท่อที่ใช้ในการสร้างออร์แกนนั้น อาจจะเป็นไม้ หรือโลหะ ก็ได้ ซึ่งจะส่งผลให้มีเสียงที่แตกต่างกัน และออร์แกนหนึ่งเครื่อง สามารถทำเสียงต่าง ๆ ได้เท่า ๆ กับเครื่องดนตรีหลายชิ้นมารวมกัน ดังนั้น ออร์แกนจึงสามารถเล่นได้ทั้งแนวทำนอง และแนวเดินเบส โดยไม่ต้องพึ่งพาเครื่องดนตรีอื่นใด ดังนั้น ในสมัยก่อนนั้น ออร์แกนจึงถือเป็นเครื่องดนตรีที่มีประสิทธิภาพสูงที่สุดในบรรดาเครื่องดนตรีทั้งปวง ออร์แกนได้รับฉายาว่าเป็นราชาแห่งเครื่องดนตรีตะวันตก เนื่องจากมีความซับซ้อนในการประดิษฐ์ และขนาดที่ใหญ่ ออร์แกนที่ใหญ่ที่สุดในโลกอยู่ที่ แอตแลนติกซิตีคอนเวนชันฮอล ที่เมืองแอตแลนติกซิตี รัฐนิวเจอร์ซีย์ สหรัฐอเมริกา ซี่งมีจำนวนไปป์ถึง 33,000 ไปป์ หมวดหมู่:เครื่องลิ่มนิ้ว หมวดหมู่:เครื่องลม หมวดหมู่:ออร์แกน.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและออร์แกน · ดูเพิ่มเติม »

ออร์เคสตรา

วง '''เมลเบิร์น ซิมโฟนี ออร์เคสตรา''' ออร์เคสตรา (orchestra) หรือ วงดุริยางค์ ในภาษาไทย เป็นคำศัพท์เกี่ยวกับดนตรี มีประวัติมาช้านาน และมีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบไปตามยุคสมัย เพื่อสนองความต้องการของผู้ประพันธ์ในการถ่ายทอดความรู้สึกของดนตรีในแต่ละยุค วงออร์เคสตราเป็นวงดนตรีที่มีวิวัฒนาการเริ่มขึ้นราว..1600 ลักษณะที่สำคัญของวงออร์เคสตราคือ เป็นกลุ่มของนักดนตรี ที่เล่นเครื่องดนตรีหลักทั้ง 4 ประเภท ได้แก่ เครื่องดนตรีประเภทเครื่องสาย เครื่องเป่าลมไม้ เครื่องลมทองเหลือง และเครื่องกระทบ โดยบรรเลงภายใต้การควบคุมของผู้อำนวยเพลง.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและออร์เคสตรา · ดูเพิ่มเติม »

อันโตญีน ดโวชาก

อันโตญีน ดโวชาก อันโตญีน ดโวชาก (Antonín Dvořák) เป็นคีตกวีชาวเช็ก เกิดเมื่อวันที่ 8 กันยายน พ.ศ. 2384 (ค.ศ. 1841) ที่เมืองมุลโฮเซน (ในภาษาเช็กคือเมืองเนลาโฮเซเวส) ห่างจากกรุงปรากออกไปทางตอนเหนือราว 20 กิโลเมตร ในแคว้นโบฮีเมีย (สาธารณรัฐเช็ก) และเสียชีวิตเมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2447 (ค.ศ. 1904) ที่กรุงปราก.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและอันโตญีน ดโวชาก · ดูเพิ่มเติม »

อันโตนีโอ วีวัลดี

thumb.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและอันโตนีโอ วีวัลดี · ดูเพิ่มเติม »

อิกอร์ สตราวินสกี

อิกอร์ เฟโดโรวิช สตราวินสกี้ (И́горь Фёдорович Страви́нский; Igor Stravinsky; 17 มิถุนายน ค.ศ. 1882 — 6 เมษายน ค.ศ. 1971)) เป็นคีตกวีดนตรีคลาสสิกสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 20 ชาวรัสเซีย สตราวินสกี้ ราวปี 1950 สตราวินสกี้เป็นบุตรชายของนักร้องชื่อดังแห่งโรงละครหลวง เขาเกิดที่เมืองออรานีนบาม (Oranienbaum) ซึ่งตอนนี้เปลี่ยนเป็นชื่อ โลโมโนซอฟ (Lomonosov) ใกล้กับนครเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก ในประเทศรัสเซีย เขาเรียนด้านกฎหมายกับเปียโน ก่อนที่จะมาเป็นศิษย์ของนิโคไล ริมสกี้-คอร์ซาคอฟ บทเพลงชื่อดังชิ้นแรกของเขาได้แก่ วิหคเพลิง (ค.ศ. 1910 ด้วยการจ้างของแซร์จ เดียกิเลฟ เพื่อใช้แสดงในคณะบัลเลต์รัสเซีย ตามมาด้วยเพลง เปทรูชก้า (ค.ศ. 1911) พิธีบูชายัญในฤดูใบไม้ผลิ (ค.ศ. 1913) และอุปรากร เรื่อง นกไนติงเกล (ค.ศ. 1914) มีเรื่องที่วิพากษ์วิจารณ์กันมากเกี่ยวกับบัลเลต์เรื่อง พิธีบูชายัญในฤดูใบไม้ผลิ ทั้งจากท่าเต้น และความไม่เหมือนใครของดนตรีประกอบ ทำให้สตราวินสกี้กลายเป็นคีตกวี ที่มีชื่อเสียงมากที่สุดในคริสต์ศตวรรษที่ 20 สตราวินสกี้เสียชีวิตที่นิวยอร์ก ศพของเขาถูกฝังไว้ที่สุสานซาน มิเชลในนครเวนิซ ประเทศอิตาลี.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและอิกอร์ สตราวินสกี · ดูเพิ่มเติม »

อุปรากร

รงอุปรากรซิดนีย์ในประเทศออสเตรเลีย เป็นโรงอุปรากรที่มีชื่อเสียงที่สุดแห่งหนึ่งของโลก อุปรากร (opera) เป็นศิลปะการแสดงบนเวทีชนิดหนึ่ง โดยมีลักษณะเป็นแบบละครที่ดำเนินเรื่องโดยใช้ดนตรีเป็นหลักหรือทั้งหมด อุปรากรถือเป็นส่วนหนึ่งของดนตรีคลาสสิก ตะวันตก มีความใกล้เคียงกับละครเวทีในเรื่องฉาก การแสดง และเครื่องแต่งกาย แต่สิ่งสำคัญที่แยกอุปรากรออกจากละครเวทีทั่วไป คือ ความสำคัญของเพลง ดนตรีที่ประกอบการร้อง ซึ่งอาจมีตั้งแต่วงดนตรีขนาดเล็กจนไปถึงวงออร์เคสตราขนาดใหญ.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและอุปรากร · ดูเพิ่มเติม »

ฮอร์น

ฟรนช์ฮอร์น ฮอร์น (Horn) เป็นเครื่องดนตรีชนิดหนึ่งอยู่ในประเภทเครื่องเป่าลมทองเหลือง เป็นเครื่องดนตรี High-Brass มีกำพวดขนาดค่อนข้างเล็ก มีโรเตอร์ (เฟรนช์ฮอร์น) และมีวาล์ว (บี-แฟลตฮอร์น) ในการเปลี่ยนเสียง โดยมากจะใช้ในวงโยธวาทิต วงดนตรีลูกทุ่ง จนถึงวงออเคสตรา และแตรวง เดิมเครื่องดนตรีชนิดนี้นิยมเรียกว่า เฟรนช์ฮอร์น แต่สมาคมฮอร์นนานาชาติ (International Horn Society, IHS) แนะนำให้ใช้ชื่อว่า ฮอร์น ตั้งแต่ พ.ศ. 2514 ฮอร์นให้เสียงค่อนข้างกว้าง เพราะลำโพงค่อนข้างกว้าง และจะให้เสียงนุ่มนวลในเสียงเบา นิยมใช้บรรเลงในวงซิมโฟนีออร์เคสตร.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและฮอร์น · ดูเพิ่มเติม »

ฌ็อง-บาติสต์ ลูว์ลี

็อง-บาติสต์ ลูว์ลี ฌ็อง-บาติสต์ ลูว์ลี (Jean-Baptiste Lully) เดิมชื่อ โจวันนี บัตติสตา ลุลลี (Giovanni Battista Lulli) เป็นคีตกวีชาวฝรั่งเศสเชื้อสายอิตาลี เกิดเมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน ค.ศ. 1632 ที่เมืองฟลอเรนซ์ ประเทศอิตาลี เป็นบุตรของเจ้าของโรงโม่ เขาได้รับการศึกษาเพียงเล็กน้อย แต่กลับมีพรสวรรค์ในการเล่นกีตาร์ ไวโอลิน และเต้นรำ ในปี..

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและฌ็อง-บาติสต์ ลูว์ลี · ดูเพิ่มเติม »

จอร์จ เกิร์ชวิน

อร์จ เกิร์ชวิน (George Gershwin; 26 กันยายน ค.ศ. 1898 - 11 กรกฎาคม ค.ศ. 1937) นักเปียโนและนักแต่งเพลงชาวอเมริกัน มีผลงานในแนวดนตรีคลาสสิก และเพลงป็อบ โดยเป็นผู้ประพันธ์บทเพลงประกอบละครบรอดเวย์ที่มีชื่อเสียง ทั้งในนามส่วนตัว และผลงานร่วมกับไอรา เกิร์ชวิน พี่ชาย ที่เป็นผู้ประพันธ์คำร้อง ผลงานที่มีชื่อเสียง เช่น ออร์เคสตราสำหรับเปียโน Rhapsody in Blue (1924), An American in Paris (1928) อุปรากร Porgy and Bess (1935) ซึ่งมีเพลงที่ไพเราะและได้รับชื่อเสียงอย่างมากคือ Summertimes และเพลงประกอบภาพยนตร์ Shall We Dance (1937) จอร์จ เกิร์ชวิน เดิมชื่อ ยาค็อบ เกิร์ชโชวิตซ์ (Jacob Gershowitz) บิดาเป็นชาวรัสเซียอพยพมาจากเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก ชื่อ มอร์ริส เกิร์ชโชวิตซ์ ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อสกุลเป็น เกิร์ชวิน (Gershvin, สะกดด้วย v) จอร์จเป็นลูกคนที่สองในจำนวนสี่คน มีพี่ชายชื่อ อิสราเอล เกิร์ชโชวิตซ์ (ไอรา เกิร์ชวิน) มีน้องชายชื่อ อาร์เทอร์ และน้องสาวชื่อ ฟรานเชส จอร์จเป็นคนแรกในตระกูลเกิร์ชวินที่เปลี่ยนวิธีสะกดนามสกุล จาก "Gershvin" เป็น "Gershwin" จอร์จ เกิร์ชวินเริ่มชีวิตการแสดงดนตรีตั้งแต่อายุ 15 ปี และเริ่มมีผลงานบันทึกเสียงเมื่ออายุ 17 ปี ในปี..

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและจอร์จ เกิร์ชวิน · ดูเพิ่มเติม »

จอห์น แอดัมส์

อห์น แอดัมส์ (John Adams) เป็นประธานาธิบดีคนที่ 2 ของสหรัฐอเมริกา และเป็นบิดาของประธานาธิบดีคนที่ 6 ของสหรัฐอเมริกา จอห์น ควินซี แอดัมส์ จอห์นเกิดเมื่อวันที่ 30 ตุลาคม..

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและจอห์น แอดัมส์ · ดูเพิ่มเติม »

จอห์น เคจ

อห์น เคจในปัจฉิมวัย จอห์น เคจ (John Cage) คีตกวี นักเปียโน นักเขียน และนักปรัชญาทางดนตรีชาวอเมริกัน เกิดที่เมือง ลอสแอนเจลิส เมื่อปี..

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและจอห์น เคจ · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิโรมัน

ักรวรรดิโรมันในช่วงเวลาต่างๆกัน จักรวรรดิโรมัน (Imperivm Romanvm; Ῥωμαϊκὴ Αὐτοκρατορία หรือ Ἡ Ῥωμαίων βασιλεία; Roman Empire) เป็นช่วงระยะเวลาหนึ่งของอารยธรรมโรมันโบราณซึ่งปกครองโดยรูปแบบอัตตาธิปไตย จักรวรรดิโรมันได้สืบต่อการปกครองมาจากสาธารณรัฐโรมัน (510 ปีก่อนคริสตกาล - ศตวรรษที่ 1 ก่อนคริสตาล) ซึ่งได้อ่อนแอลงหลังจากความขัดแย้งระหว่างไกอุส มาริอุสและซุลลา และสงครามกลางเมืองระหว่างจูเลียส ซีซาร์และปอมปีย์ มีวันหลายวันที่ได้ถูกเสนอให้เป็นเส้นแบ่งของการเปลี่ยนแปลงระหว่างสาธารณรัฐและจักรวรรดิ ได้แก.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและจักรวรรดิโรมัน · ดูเพิ่มเติม »

จิก

ก (Cornbeefwood) เป็นชื่อสามัญในภาษาไทยที่ใช้เรียกต้นไม้ในสกุล Barringtonia ในวงศ์ Lecythidaceae มีลักษณะโดยร่วมเป็นไม้ยืนต้น ขึ้นในที่พื้นที่ชุ่มน้ำ ดอกมีสีขาว เกสรเพศผู้สีแดงหรือสีชมพู มักออกเป็นช่อยาวห้อยเป็นระย้า มีทั้งหมด 10 ชนิด ได้แก.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและจิก · ดูเพิ่มเติม »

จูเซปเป แวร์ดี

Verdi จูเซปเป ฟอร์ตูนีโน ฟรันเชสโก แวร์ดี (Giuseppe Verdi) เป็นคีตกวีชาวอิตาลี เกิดเมื่อวันที่10 ตุลาคม พ.ศ. 2356 (ค.ศ. 1813) เสียชีวิตเมื่อวันที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2444 (ค.ศ. 1901) โด่งดังจากอุปรากรเรื่อง ลา ทราเวียตตา ไอด้า โอเทลโล ผลงานของเขาได้รับความนิยมอย่างสูงเมื่อเขายังมีชีวิตอยู่ และต่อเนื่องจวบจนปัจจุบัน แวร์ดีเกิดที่หมู่บ้าน Le Roncole ในอำเภอตาโร ซึ่งขณะนั้นอยู่ภายใต้การปกครองของจักรพรรดินโปเลียน โบนาปาร์ต ในปี พ.ศ. 2367 (ค.ศ. 1824) เขาได้ย้ายถิ่นฐานไปอยู่ที่เมืองบุสเชโต ที่ซึ่งเขาได้เรียนดนตรีกับเฟอร์ดินานโด โปรแวร์สิ เขาได้ประพันธ์ซิมโฟนี ขึ้นมาบทหนึ่งจากเพลงโหมโรงของอุปรากรเรื่อง กัลบกแห่งเมืองเซวิลล์ (Il barbiere di Siviglia) ของ จิโออัคคิโน รอสสินี จากนั้นก็ได้ย้ายไปอยู่ที่นครมิลาน เพื่อสมัครเข้าเรียนที่วิทยาลัยดนตรีแต่ก็ถูกปฏิเสธ เขาจึงเรียนแบบส่วนตัวกับวินเซนโซ ลาวินยา ผลงานประพันธ์อุปรากรเรื่องแรกของเขาคือ Oberto, conte di San Bonifacio (เปิดการแสดงครั้งแรกที่กรุงมิลาน เมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2382) ตามด้วยเรื่อง Un giorno di regno (ซึ่งเป็นความพยายามประพันธ์อุปรากรชวนหัวเพียงครั้งเดียว ซึ่งมีเพียง Falstaff อีกเรื่องในช่วงบั้นปลายชีวิตของเขา) แต่เขาประสบความสำเร็จครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2385 (ค.ศ. 1842) จากเรื่อง Nabucco ที่ได้เปิดแสดงที่โรงละครลา สกาล่า ในนครมิลาน โดยมีนักแสดงนำได้แก่จูเซปปินา สเตร็ปโปนี ร้องเสียงโซปราโน ในบทของอาบิไก นักร้องสาวได้กลายเป็นภรรยาน้อยของแวร์ดี เขาได้แต่งงานกับหล่อนในอีกหลายปีให้หลัง ภายหลังการเสียชีวิตของภรรยาของเขา หลังจากที่อุปรากรเรื่อง I Lombardi alla prima crociata (เปิดแสดงครั้งแรกที่นครมิลาน เมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2386) ที่มีเนื้อหาบางส่วนเกี่ยวข้องกับสถานการณ์การเมือง เรื่องErnani ก็ประสบความสำเร็จในการเปิดแสดงที่โรงละครลา เฟนิกซ์ ในนครเวนีซเช่นกัน ในปีต่อมา อุปรากรเรื่อง Giovanna d'Arco และ La Forza del Destino ก็ตอกย้ำความโด่งดังของแวร์ดี แต่เขาเห็นว่าการแสดงงานของเขาที่โรงละครลา สกาล่านั้นยังไม่เข้าขั้น เป็นเหตุให้เขาปฏิเสธการเปิดแสดงอุปรากรเรื่องต่อ ๆ มาในมิลาน อันได้แก่เรื่อง Atilla, Alzira และ แมคเบ็ท ในได้ถูกนำออกแสดงในเมืองต่าง ๆ ทั่ว ประเทศอิตาลี ส่วนเรื่อง I Masnadieri นั้นได้ถูกประพันธ์ขึ้นที่กรุงลอนดอน ในขณะที่นครมิลาน พ่ายแพ้และถูกจักรวรรดิออสเตรียเข้ายึดครอง แวร์ดีได้ประพันธ์อุปรากรเรื่อง Il Corsaro, La Battaglia di Legnano และ Luisa Miller รวมทั้งเรื่อง Manon Lescaut ที่แต่งไม่จบ หลังจากข่าวอื้อฉาวเกี่ยวกับบทประพันธ์เรื่อง Stiffelio ในปี พ.ศ. 2394 (ค.ศ. 1851) เรื่อง Rigoletto ก็ประสบความสำเร็จอย่างท่วมท้นในการเปิดแสดงที่โรงละครลา เฟนิกซ์ ในนครเวนีซ ในปี พ.ศ. 2396 (ค.ศ. 1853) เขาประสบความสำเร็จครั้งสำคัญอีกครั้งจากเรื่องIl Trovatore ที่โรงละครอพอลโลในกรุงโรม แต่การเปิดการแสดงภาคภาษาฝรั่งเศสในนครเวนีซไม่ประสบความสำเร็จเท่าใดนัก อุปรากรเรื่องอื่น ๆ ที่ประพันธ์ขึ้นในช่วงนี้ ได้แก่ งูพิษแห่งเกาะซิซิลี (เปิดแสดงที่กรุงปารีส) Aroldo (งานที่สร้างขึ้นมาจากเรื่อง Stiffelioเดิม) และเรื่อง Simon Boccanegra กับ Un ballo in maschera (ที่ถูกห้ามนำออกแสดง) แวร์ดีได้เข้ามามีส่วนร่วมอย่างมากในการรวมชาติของประเทศอิตาลี (เขาได้ประพันธ์บทเพลง Inno delle Nazioni ซึ่งได้รวมเอาเพลงชาติต่าง ๆ ในยุโรปไว้ด้วยกัน เช่น เพลง Fratelli d'Italia Marseillaise และ God Save the King ในปี พ.ศ. 2405 (ค.ศ. 1862) และได้รับเลือกตั้งให้ดำรงตำแหน่งวุฒิสมาชิก จากนั้นก็ได้นำผลงานเก่ามาแก้ไขเล็กน้อย จนกระทั่งถึงปี พ.ศ. 2409 (ค.ศ. 1866) เมื่อDon Carlos ได้ถูกนำออกแสดงครั้งแรกที่กรุงปารีส ในปี พ.ศ. 2415 (ค.ศ. 1872) เมื่อเขานำเรื่องไอด้า ออกแสดงที่โรงละครลา สกาล่าก็ประสบความสำเร็จอย่างท่วมท้น เขาได้ประพันธ์ให้แก่ผู้สำเร็จราชการแห่งอียิปต์กับเนื่องในโอกาสพิธีเปิดโรงละครแห่งใหม่ในกรุงไคโร และสำหรับการเปิดคลองสุเอซ ผลงานของแวร์ดีมีความเป็นชาตินิยมของชาวอิตาลีอยู่ในตัว (เป็นต้นว่าเพลงชาวยิวสำหรับกลุ่มนักร้องประสานเสียงขับร้องในเรื่อง Nabucco ที่มีชื่อเรียกอีกอย่างว่า Va Pensiero นั้น ได้รับการเสนอให้เป็นเพลงชาติอิตาลีมาอย่างสม่ำเสมอ โดยไม่ได้มีความหมายในเชิงเหยียดเชื้อชาติ) เป็นที่น่าประหลาดใจ เมื่อมีคนพบว่าชื่อของเขา Verdi เป็นตัวอักษรย่อของคำว่า Vittorio Emanuele Re D’Italia (วิคเตอร์ เอ็มมานูเอล กษัตริย์แห่งอิตาลี) ในช่วงเวลาที่ชาวเมืองมิลาน (ซึ่งยังตกอยู่ภายใต้การปกครองของออสเตรีย) ได้เริ่มหันมาสนับสนุนความพยายามรวมชาติอิตาลีของวิคเตอร์ เอ็มมานูเอล กลุ่มแนวร่วมหลบหนีเข้าเมืองได้เริ่มคบคิดที่จะให้กษัตริย์ Sardaigne บุกมิลาน เนื่องจากการกดขี่ของชาวออสเตรียนั้นรุนแรงเกินไป กลุ่มคนเหล่านี้ได้เริ่มการปลุกระดมที่มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการว่า « Viva VERDI » (« V.E.R.D.I. จงเจริญ ») แวร์ดีทราบเรื่องการนำชื่อของเขาไปใช้ ซึ่งโดยหลักแล้วเขาควรจะห้าม แต่เขาก็ไม่ได้ห้าม เรื่องราวอื่น ๆ ที่เกี่ยวพันกับการเมืองของแวร์ดีได้ถูกนำเสนอในบทอุปรากรเรื่อง I Lombardi แวร์ดีเสียชีวิตอย่างกะทันหันในปี พ.ศ. 2444 (ค.ศ. 1901) ที่นครมิลาน หลังจากการก่อสร้างคฤหาสน์ Casa di Riposo เสร็จสิ้น (เขาตั้งใจให้เป็นที่พักชั่วคราวของเหล่าศิลปินตกยาก) พีธีศพของเขาจัดขึ้นอย่างอลังการ ผู้เข้าร่วมราว 250,000 คนได้มาแสดงความคารวะต่อปูชนียบุคคลผู้หนึ่งของวงการดนตรีอิตาลี.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและจูเซปเป แวร์ดี · ดูเพิ่มเติม »

ถัน ตุ้น

ัน ตุ้น เป็นคีตกวี นักแต่งเพลงประกอบภาพยนตร์ และผู้อำนวยเพลงชาวจีน มีชื่อเสียงจากผลงานดนตรีประกอบภาพยนตร์เรื่อง Crouching Tiger, Hidden Dragon ของหลี่ อัน, Hero ของจาง อี้โหมว และ The Banquet ของเฝิง เสี่ยวกาง ถัน ตุ้น เกิดที่หมู่บ้านเล็กๆ ชานเมืองฉางชา มณฑลหูหนาน ใช้ชีวิตวัยเด็กใช้แรงงานเป็นชาวนาอยู่ในคอมมูนของรัฐบาลกลาง และใช้เวลาว่างหัดเล่นเครื่องดนตรีพื้นบ้าน ต่อมาได้หนีออกจากคอมมูนและได้หัดเล่นเครื่องดนตรีสากล คือ วิโอลา กับวงดนตรีของคณะอุปรากรปักกิ่ง จากนั้นได้มีโอกาสเข้าศึกษาที่สถาบันดนตรีกลาง ปักกิ่ง เป็นลูกศิษย์ของโทะรุ ทะเคะมิตสึ (1930-1996) คีตกวีชาวญี่ปุ่นที่มีชื่อเสียง เขาได้รับทุนการศึกษาระดับปริญญาเอกที่มหาวิทยาลัยโคลัมเบียในช่วงทศวรรษ 1980 ถัน ตุ้น มีผลงานประพันธ์ดนตรีประกอบภาพยนตร์จีนหลายเรื่อง ได้แก.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและถัน ตุ้น · ดูเพิ่มเติม »

ทรอมโบน

ทรอมโบน (Trombone) เป็นเครื่องดนตรีสากลประเภทเครื่องเป่าทองเหลือง มีคันชักใช้สำหรับเปลี่ยนระดับเสียง โดยมากจะใช้ในวงโยธวาทิต วงดนตรีลูกทุ่ง รวมทั้งวงซิมโฟนีออร์เคสตรา และแตรวง ในวงดนตรี ทรอมโบนจะทำหน้าที่ประสานเสียงในกลุ่มแตรด้วยกัน ทรอมโบน เป็นแตรซึ่งใช้มาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 15 ในพิธีศาสนาและพิธียุรยาตราร่วมกับแตรโบราณ ทรอมโบนประกอบด้วยท่อลมสวมซ้อนเลื่อนเข้า – ออกได้ (Telescopic slide) ขนาดยาวโค้งได้สองทบ สองในสามของท่อลมนี้เป็นท่อทรงกระบอกเช่นเดียวกับ ทรัมเปตส่วนที่เหลือค่อย ๆ บานออกเป็นปากลำโพง ส่วนที่เป็นท่อลมทรงกระบอกจะเป็นท่อสองชั้นสวมกันไว้ในลักษณะรูปตัว U เลื่อนเข้าออกเพื่อปรับระดับเสียง เมื่อเลื่อนออกจะยาวประมาณ 9 ฟุต แต่เมื่อเลื่อนเข้า จะเหลือเพียง 3 ฟุตเศษ ทรอมโบนเป็นเครื่องดนตรีประเภทท่อทรงกระบอก (Cylindrical Bore) กล่าวคือมีท่อลมที่ขนาดคงที่เกือบทั้งเครื่อง ทำให้มีเสียงที่แข็งและกระด้าง ไม่นิ่มนวลเหมือนฮอร์นหรือยูโฟเนียม แต่ในบางรุ่นอาจมีการขยายขาหนึ่งของ Slide ให้ใหญ่กว่าอีกขาหนึ่ง ทำให้เสมือนหนึ่งเป็นเครื่องดนตรีทรงกรวย (Conical Bore) และให้เสียงที่นุ่มขึ้น.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและทรอมโบน · ดูเพิ่มเติม »

ทรัมเป็ต

ทรัมเป็ต (trumpet) เป็นเครื่องดนตรีสากลในกลุ่มเครื่องลมทองเหลือง (แตร) ประเภทเสียงสูง (high brass) เช่นเดียวกับเฟรนช์ฮอร์น กำเนิดเสียงโดยอาศัยลมจากการเป่าของผู้เล่นทำให้เกิดการสั่นสะเทือนของริมฝีปาก โดยทั่วไปมีปุ่มกด (valve) 3 อัน เรียงอยู่ในระนาบเดียวกัน มีทั้งที่เคลือบผิวด้วยทอง, เงิน, นิกเกิล, และแลกเกอร์ ทรัมเป็ตมีวิวัฒนาการมายาวนานตั้งแต่สมัยโบราณ โดยเริ่มจากแตรสัญญาณที่ใช้ในการล่าสัตว์หรือในทางทหาร แต่แตรลักษณะนั้นโดยมากจะไม่มีปุ่มกดเพื่อเปลี่ยนระดับเสียง ทำให้ไม่สามารถสร้างระดับเสียงที่แตกต่างกันได้มากนัก จนกระทั่งมีการคิดประดิษฐ์ปุ่มกดและกลไกต่างๆเข้าไปภายหลังในสมัยยุคกลาง โดยเป็นเครื่องดนตรีที่ได้รับความนิยมในวงกว้าง สามารถพบเห็นได้ในวงหลากหลายรูปแบบตั้งแต่วงพื้นบ้านของเม็กซิกัน (mariachi) วงแจ๊ซ วงโยธวาทิต วงดนตรีลูกทุ่ง จนถึงวงออเคสตรา และแตรวงขนาดใหญ่ หรือแม้แต่วงดนตรีป๊อป-ร็อคสมัยใหม่ ระดับเสียงของทรัมเป็ตมีช่วงเสียงประมาณ 2-3 ออกเตฟ ขึ้นอยู่กับความสามารถของผู้เล่น ตั้งแต่ F# ต่ำกว่า middle C จนถึง E สูงเหนือบรรทัด 5 เส้นหรือสูงกว่านั้น เสียงของทรัมเป็ตโดยธรรมชาติมีลักษณะดังกังวาน สดใส และเข้มแข็ง แต่ขณะเดียวกันก็สามารถใช้สร้างเสียงที่แสดงออกถึงอารมณ์หม่นเศร้าได้เช่นกัน ที่นิยมใช้กันทั่วไปคือทรัมเป็ตในคีย์ Bb และคีย์ C อาจพบเห็นทรัมเป็ตที่มีขนาดและระดับเสียงแตกต่างกันได้อีกหลายชนิดตั้งแต่ "เบส-ทรัมเป็ต" จนถึง "พิคโคโลทรัมเป็ต" โดยเฉพาะในบทเพลงคลาสสิก ในประเทศไทยมีผู้เล่นทรัมเป็ตที่มีชื่อเสียงหลายคน เช่น อ.วานิช โปตะวณิช, อ.เลิศเกียรติ จงจิรจิต เป็นต้น หมวดหมู่:เครื่องลมทองเหลือง หมวดหมู่:เครื่องดนตรีออร์เคสตรา หมวดหมู่:ดนตรีของกองทัพเรือ.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและทรัมเป็ต · ดูเพิ่มเติม »

ทูบา

F-tubas, ปีค.ศ. 1900 (ซ้าย) และ 2004 (ขวา) ทูบา (tuba) เป็นเครื่องดนตรีตระกูล แซ็กฮอร์น ทูบามีท่อลมขนาดใหญ่ และมีความยาวตั้งแต่ 9,12,14,16 และ 18 ฟุต แล้วแต่ขนาด มีช่วงเสียง โดยมากจะใช้ใน วงโยธวาทิต วงดนตรี ลูกทุ่ง จนถึง วงออเคสตรา และ แตรวง กว้าง 3 ออคเทฟ เศษ ๆ ท่อลมเป็นทรงกรวย เช่นเดียวกับ ฮอร์น ส่วนกลางลำตัวติดลูกสูบบังคับเสียง 3 อัน หรือ 4 อัน ส่วนตรงปลายท่อ บานเป็นลำโพงกำพวดเป็นโลหะรูปถ้วย เสียงของทูบาต่ำ ลึกนุ่มนวล ไม่แตกพร่า เสียงต่ำมากที่เรียกว่า "พีเดิล โทน" (pedal tones) นั้นมีคุณสมบัติเฉพาะตัวปกติแตรทูบาทำหน้าที่เป็นแนว เบส ให้แก่กลุ่ม เครื่องลมทองเหลือง ทูบาทำมาจากทองเหลืองและเป็นเครื่องมือที่มีเสียงต่ำที่สุดในกลุ่มเครื่องลมทองเหลือง จึงทำหน้าที่เป็นเบสเพื่อให้แนวเบสมีเสียงแน่นขึ้น ผู้เล่นต้องใช้ลมมากเช่นเดียวกับฮอร์น ดังนั้น จึงควรมีช่วงให้หยุดพักหายใจบ้าง.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและทูบา · ดูเพิ่มเติม »

ดมีตรี ชอสตโกวิช

องชอสตาโกวิช เมื่อปี ค.ศ. 1950 ดมีตรี ดมีตรีเยวิช ชอสตโกวิช (Dmitri Dmitrievich Shostakovich; Дмитрий Дмитриевич Шостакович; เกิดเมื่อวันที่ 25 กันยายน ค.ศ. 1906 - เสียชีวิตเมื่อวันที่ 9 สิงหาคม ค.ศ. 1975) เป็นคีตกวีชาวรัสเซีย ในยุสมัยสหภาพโซเวียตเรืองอำนาจ ผลงานที่ยิ่งใหญ่ที่สุดของเขาส่วนใหญ่เป็นซิมโฟนี และสตริงควอร์เต็ต อย่างละ 15 บท หลังจากที่เขาเสียชีวิต ความเห็นของเขาที่มีต่อชีวิตในสหภาพโซเวียตได้กลายมาเป็นหัวข้อวิพากษ์วิจารณ์ทางการเมือง และความขัดแย้งทางดนตรี ชื่อของเขาเป็นที่รู้จักในภาษาเยอรมันว่า "Dmitri Schostakowitsch" อันเนื่องมาจากการที่เขาได้นำชุดตัวโน้ต DSCH (ซึ่งหมายถึง ตัว เร-มีแฟลต-โด-ที ในระบบตัวโน้ตของเยอรมัน และชื่อย่อของเขาในภาษาเยอรมัน) มาใช้เป็นเอกลักษณ์ทางดนตรีของตนเอง ชอสตโกวิชมีความสัมพันธ์ที่ซับซ้อนกับรัฐบาลโซเวียด ถูกทางการประณามบทเพลงของเขาถึงสองครั้ง ใน..

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและดมีตรี ชอสตโกวิช · ดูเพิ่มเติม »

ดับเบิลเบส

ับเบิลเบส (Double bass) มีชื่อเรียกหลายชื่อเช่น สตริงเบส (String Bass) คอนทราเบส (Contra Bass) เบสวิโอล (Bass Viol) ดับเบิลเบสเป็นเครื่องดนตรีที่ที่นิยมเล่นใน วงออร์เคสตรา และ วงเครื่องสาย ซึ่งมีต้นกำเนิดมาจากโลกตะวันตก เป็นหนึ่งในเครื่องดนตรีตระกูลไวโอลิน อันประกอบไปด้วยไวโอลิน วิโอล่า เชลโล และ ดับเบิลเบส มีความสูงมาตรฐานประมาณ 74 นิ้ว ดับเบิ้ลเบสเป็นเครื่องดนตรีเพียงชิ้นเดียวที่อาจจะกล่าวได้ว่ามีความสัมพันธ์กับซอวิโอล (Viol) อย่างแท้จริง โดยสืบทอดมาจาก Violone ซอวิโอลขนาดใหญ่ (Big Viol) ซึ่งเล่นในช่วงเสียง 16 ช่วงเสียง (เสียงของมันจะต่ำกว่าโน้ตที่เขียน 1 ช่วงเสียง).

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและดับเบิลเบส · ดูเพิ่มเติม »

ดีแวร์ตีเมนโต

ีแวร์ตีเมนโต (Divertimento) ในภาษาอิตาลีหมายถึง เพลงขนาดเบาที่ผู้ประพันธ์ หรือผู้เรียบเรียงจัดทำขึ้นเพื่อฟังกันเล่นๆ ให้เพลิดเพลินบันเทิงใจมากกว่าทำให้เกิดอารมณ์สะเทือนใจ เป็นบทเพลงที่ฟังสบาย ๆ เบา ๆ ใช้บรรเลงหลังอาหารค่ำ หรือสำหรับกิจกรรมกลางแจ้งเป็นส่วนใหญ่ พหูพจน์เรียก ดีแวร์ตีเมนตี โมซาร์ท เป็นคีตกวีที่ได้ประพันธ์ดีแวร์ตีเมนโตไว้มาก.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและดีแวร์ตีเมนโต · ดูเพิ่มเติม »

ดนตรียุคบาโรก

นตรียุคบาโรก หรือบางแห่งเรียกว่า ดนตรีบาโรก (Baroque music) เป็นลักษณะดนตรียุโรปคลาสสิก ราว..

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและดนตรียุคบาโรก · ดูเพิ่มเติม »

ดนตรียุคอิมเพรสชันนิสม์

อิมเพรสชันนิสม์ (Impressionist music) เป็นยุคของดนตรีในช่วงระหว่าง..1890-1910 ซึ่งรวมอยู่ในช่วงเวลาหนึ่งของยุคโรแมนติก ดนตรีของยุคอิมเพรสชั่นนิสม์ได้รับการพัฒนาโดยโคล้ด เดอบุซซี ผู้ประพันธ์เพลงชาวฝรั่งเศส ลักษณะดนตรีของยุคอิมเพรสชั่นนิสม์เต็มไปด้วยจินตนาการ อารมณ์ที่เพ้อฝัน ฝันเฟื่อง อารมณ์ที่ล่องลอยอย่างสงบและนิ่มนวลละมุนละไม ผู้ฟังจะรู้สึกเสมือนว่าได้สัมผัสกับบรรยากาศตอนรุ่งสางในกลุ่มหมอกที่มีแสงแดดอ่อนๆ สลัวๆ ต่างไปจากดนตรีสมัยโรแมนติกที่ก่อให้เกิดความสะเทือนอารมณ.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและดนตรียุคอิมเพรสชันนิสม์ · ดูเพิ่มเติม »

ดนตรียุคคลาสสิก

ลาสสิก (Classical period) เป็นยุคของดนตรีระหว่าง..1750-1820 ดนตรีมีการเปิดกว้างสู่ประชาชนเป็นดนตรีนอกโบสถ์ (secular music) มากขึ้น ดนตรียุคคลาสสิกมีลักษณะความเป็นจริง มีความสมดุล และชัดเจนในรูปแบบ ในยุคนี้ดนตรีบรรเลงมีความเด่นกว่าเพลงร้อง ดนตรียุคคลาสสิกเป็นดนตรีบริสุทธิ์ (absolute music) คือ ดนตรีที่ไม่มีจินตนาการอยู่เบื้องหลัง ไม่มีบทกวีประกอบ เป็นดนตรีที่มีแต่เสียงดนตรีบริสุทธิ์ ตรงข้ามกับดนตรีในยุคโรแมนติกที่เป็นดนตรีพรรณนา (program music) คือดนตรีที่มีเรื่องราว ยุคนี้มีกรุงเวียนนาของออสเตรียเป็นศูนย์กลางของดนตรี.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและดนตรียุคคลาสสิก · ดูเพิ่มเติม »

ดนตรียุคโรแมนติก

รแมนติก (ค.ศ.1810-1910) เป็นยุคของดนตรีคลาสสิกในช่วงศตวรรษที่19 ซึ่งเน้นอารมณ์ของดนตรีมากกว่าความสมดุลของบทตอน และเน้นความเป็นตัวตนของคีตกวีมากกว่ากฎเกณฑ์ทางดนตรีที่มีมาแต่เดิม คำว่า "โรแมนติก" ถูกประยุกต์ใช้ในวงการดนตรีปี ค.ศ. 1810 ซึ่งเอามาจากวงการวรรณกรรม มีความหมายว่า อารมณ์ที่รุนแรงของมนุษย์ โดยลักษณะดนตรีแบบโรแมนติกนี้เริ่มขึ้นในงานของนักประพันธ์เพลงและนักดนตรีชื่อ ลุดวิจ ฟาน เบโทเฟน (Ludwig van Beethoven) ดนตรียุคโรแมนติกนั้นเริ่มต้นด้วยเพลงขับร้องและเพลงเปียโนสั้นๆ ต่อมาเป็นเพลงสำหรับวงออร์เคสตร.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและดนตรียุคโรแมนติก · ดูเพิ่มเติม »

ดนตรีแชมเบอร์

นตรีแชมเบอร์ (Chamber Music) หมายถึง ดนตรีจากวงดนตรีขนาดเล็กที่เหมาะสำหรับบรรเลงในห้อง เป็นดนตรีที่มีผู้บรรเลงน้อยคน ตั้งแต่ 2-3 คน หรืออย่างมาก 5-9 คน เพลงที่ใช้สำหรับวงดนตรีเชมเบอร์มักจะเป็นเพลงบรรเลง (Instrumental Music).

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและดนตรีแชมเบอร์ · ดูเพิ่มเติม »

คอนแชร์โต

อนแชร์โต (concerto) คือ เป็นการประพันธ์เพลงรูปแบบหนึ่ง ส่วนมากมีสามท่อน (three-parts) ในอัตราจังหวะเร็ว-ช้า-เร็ว ส่วนที่สำคัญที่สุด คือ ต้องมีการเล่นประชันกัน โดยอาจจะเป็นการเดี่ยวเครื่องดนตรีประชันกับวงดนตรี หรือกลุ่มเครื่องดนตรีประชันกับวงดนตรีก็ได้.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและคอนแชร์โต · ดูเพิ่มเติม »

คันตาตา

คันตาต้า (Cantata) ในภาษาอิตาเลียน แปลว่า "เพลงร้อง" ในสมัยของบาคได้มีการแต่งเพลงประเภทนี้ขึ้นเพื่อสองจุดประสงค์ คือ หนึ่งใช้ในประกอบกิจกรรมทางศาสนา สองใช้ในกิจกรรมนอกศาสนา บาคได้เรียบเรียงบทเพลงเป็นเรื่องราวที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมดังกล่าว โดยประกอบไปด้วยส่วนที่บรรเลงและส่วนการขับร้อง ซึ่งจะใช้ทั้งเครื่องดนตรีประเภทเดี่ยวและวงดุริยางค์ นักร้องเดี่ยวและวงประสานเสียง ผสมกับอย่างมีชีวิตชีวาคล้ายคลึงกับบทเพลงประเภท ออราทอริโอ (Oratorio) หรือ อุปรากร (Opera) แต่จะไม่มีการสร้างฉากประกอบการแสดง การเรียกชื่อคันตาต้าแต่ละบทนั้น จะนิยมใช้เนื้อร้องตอนแรกมาตั้งเป็นชื่อของบทเพลง หมวดหมู่:อภิธานศัพท์ดนตรี หมวดหมู่:คันตาตา.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและคันตาตา · ดูเพิ่มเติม »

คายกคณะ

กคณะ หรือ นักร้องหมู่ (choir หรือ chorus) เป็นพวกขับร้อง พบมากในโบสถ์เพื่อขับเพลงทางศาสนา แต่ต่อมาก็เริ่มมีความนิยมและนำมาใช้กันทั่วไป คายกคณะแบ่งระดับเสียงของคายกที่อยู่ในวงตามเสียงสูง-ต่ำของนักร้องแต่ละคน โดยมีชื่อเรียกต่าง ๆ กันไปในแต่ละระดับเสียง เพลงที่ใช้ร้องมีหลายแนวทำนองสอดประสานกันไป.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและคายกคณะ · ดูเพิ่มเติม »

คาร์ล ออร์ฟ

Carl Orff and Lieselotte Holzmeister at the Fidula workshop 1956 คาร์ล ออร์ฟ (Carl Orff) คีตกวีชาวเยอรมัน เกิดที่นครมิวนิค เมื่อวันที่10 กรกฎาคม ค.ศ. 1895 เสียชีวิตเมื่อวันที่ 29 มีนาคม ค.ศ. 1982 ที่นครมิวนิคเช่นกัน ออร์ฟเป็นหนึ่งในคีตกวีที่มีชื่อเสียงมากที่สุดในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ความสำเร็จของเขามีอิทธิพลอย่างมากในสาขาดนตรีศึกษาอีกด้วย เขาเป็นที่รู้จักจากผลงานประพันธ์เพลง คาร์มินา บูรานา ในปีค.ศ. 1937 ออร์ฟเชื่อว่าดนตรี(Music) การเคลื่อนไหว(Movement)และการพูด(Speech) เป็นสิ่งที่แยกออกจากกันไม่ได้ ทั้งสามสิ่งรวมกันเป็นเอกภาพ(Unity) ซึ่งออร์ฟเรียกว่า “ดนตรีเบื้องต้น”(Elelmental Music) คำว่า ”ดนตรีเบื้องต้น” นี้ ออร์ฟหมายถึง การแสดงออกทางดนตรีของบุคคลที่เป็นไปโดยธรรมชาติ ออร์ฟได้สังเกตจากเด็กในสภาวะแวดล้อมปรกติไม่มีกฎเกณฑ์อะไรบังคับ เด็กจะใช้ดนตรี การเคลื่อนไหว และภาษาพูดไปพร้อมกัน เด็กที่กำลังเต้นรำจะร้องเพลงไปด้วย เมื่อเด็กร้องเพลงเขาก็มักจะเคลื่อนไหวไปตามจังหวะเสียงเพลง ออร์ฟยอมรับทฤษฎีที่ว่า ประวัติศาสตร์ดนตรีย่อมแสดงตัวของมันอยู่ในพัฒนาการชีวิตของแต่ละคน เขาได้ย้อนกลับไปพิจารณาในยุคต้นของการก่อเกิดวัฒนธรรม ที่คนทั่วไปใช้ดนตรีเป็นสิ่งแสดงความรู้สึกของตนเองโดยไม่ต้องได้รับการฝึกฝน การเคลื่อนไหวและการพูด มักจะรวมอยู่ด้วยกันอย่างแยกไม่ออกกับดนตรีที่ใช้แสดงความรู้สึกเหล่านั้น ออร์ฟใช้กรณีของเด็กเล็กมาเปรียบเทียบกับคนป่าคนเถื่อนที่ไม่ได้รับการฝึกฝนดนตรีมาก่อน เขาเชื่อว่าการศึกษาดนตรีควรจะเริ่มด้วยความรู้ที่ง่าย ๆ จากเพลงง่าย ๆ และพัฒนาขึ้นไปสู่ดนตรีที่ซับซ้อนหรือบทเพลงที่ยากขึ้น ด้ วยข้อสรุปนี้ ออร์ฟได้วางแผนการศึกษาที่เป็นขั้น ๆ ต่อเนื่องกันโดยมีโครงสร้างเริ่มจากสิ่งที่ง่ายที่สุด แล้วสอนเพิ่มเติมไปสู่สิ่งที่ซับซ้อนที่สุด แผนการศึกษาของออร์ฟเช่นนี้ได้รับการยอมรับเป็นอย่างสูง ออร์ฟเรียกแผนการศึกษาของเขาว่า Schulwerk Schulwerk ของออร์ฟนั้น เขากล่าวว่าควรเริ่มต้นใช้กับเด็กวัยต้น ๆ และควรใช้ประสบการณ์ของตัวเด็กเองเป็นอุปกรณ์การสอนดนตรี เช่น ชื่อของเด็ก คำง่าย ๆ ที่คุ้นเคย เป็นต้น ออร์ฟเห็นว่าจังหวะเป็นส่วนประกอบสำคัญที่สุดของดนตรี(Rhythm is strongest of the elements of music)การแสดงออกของมนุษย์ที่เป็นธรรมชาติที่สุดและสามัญที่สุดคือการใช้จังหวะ เขาได้สอนความคิดเรื่องจังหวะโดยผ่านคำพูดและการเคลื่อนไหว ออร์ฟมีความคิดเช่นเดียวกันดาลโครซ ที่ว่าการเรียนเครื่องดนตรีต่าง ๆ นั้น ควรจะตามหลังพัฒนาการของทักษะพื้นฐานที่จำเป็นทางดนตรี อันได้แก.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและคาร์ล ออร์ฟ · ดูเพิ่มเติม »

คาร์ล เซอร์นี

คาร์ล เซอร์นี คาร์ล เซอร์นี (Carl Czerny) เป็นคีตกวีชาวออสเตรีย เกิดที่กรุงเวียนนา เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2334 (ค.ศ. 1791) และเสียชีวิตในปี พ.ศ. 2400 (ค.ศ. 1857) บิดาของเซอร์นีเป็นนักเปียโนผู้เก่งกาจ ผู้ซึ่งการเล่นเครื่องดนตรีชิ้นนี้ให้แก่เขา ด้วยการเรียนที่มีบิดาเป็นครู คาร์ลสามารถเล่นบทเพลงหลายบทได้อย่างขึ้นใจ และเล่นได้มีคุณภาพขนาดปรมาจารย์ทางดนตรีคนหนึ่ง ระหว่างปี พ.ศ. 2343 (ค.ศ. 1800) ถึง พ.ศ. 2346 (ค.ศ. 1803) เขาได้เป็นศิษย์ของลุดวิจ ฟาน เบโทเฟน ซึ่งบทเรียนจากฟาน เบโทเฟน นั้นจะเป็นประโยชน์แก่เขาในภายหลัง ความสามารถในการสอนของเขาพัฒนาขึ้นอย่างรวดเร็ว จนสามารถสอนบทเรียนที่สำคัญ ๆได้เมื่อเขาอายุได้เพียง 15 ปี ทำให้เขากลายเป็นครูสอนเปียโนที่เป็นที่ต้องการตัวมากคนหนึ่ง แต่อย่างไรก็ดี เขาออกแสดงคอนเสิร์ตน้อยครั้งมาก เขาพอใจที่จะประพันธ์เพลง และสอนลูกศิษย์มากกว่า ซึ่งในบรรดาลูกศิษย์ของเซอร์นีนั้น มีฟรานซ์ ลิทซ์ผู้โด่งดังรวมอยู่ด้วย แม้ว่าบทเพลงของเซอร์นีบางบทจะไพเราะเสนาะหู คาร์ล เซอร์นีกลับเป็นที่รู้จักในฐานะผู้แต่งบทเรียนทางเทคนิคจำนวนนับไม่ถ้วน (มากกว่า 600 โอปุส) ซึ่งไม่ได้โด่งดังด้วยความไพเราะ ดูเหมือนว่าเซอร์นีจะหมกมุ่นอยู่กับการแกะเทคนิคยาก ๆ จากบทเพลงของฟาน เบโทเฟนออกมา เพื่อจะสามารถถ่ายทอดมันได้ดียิ่งขึ้นเสียมากกว่า หมวดหมู่:คีตกวีชาวออสเตรีย หมวดหมู่:บุคคลจากเวียนนา.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและคาร์ล เซอร์นี · ดูเพิ่มเติม »

คีตกวี

ลุดวิจ ฟาน เบโทเฟน ใน ค.ศ. 1820 คีตกวี เป็นคำศัพท์ทางดนตรีที่พบได้บ่อยครั้ง หมายถึง ผู้ประพันธ์ดนตรี มักจะใช้เรียกผู้ที่แต่งและเรียบเรียงดนตรีบางประเภท โดยเฉพาะ ดนตรีคลาสสิก โดยที่ผู้แต่งเพลงมักจะแต่งทั้งท่วงทำนองหลัก และแนวประสานทั้งหมด เพื่อให้นักดนตรีเป็นผู้นำบทเพลงนั้นไปบรรเลงอีกทอดหนึ่ง โดยนักดนตรีจะต้องบรรเลงทุกรายละเอียดที่คีตกวีได้กำหนดไว้อย่างเคร่งครัด คำว่า คีตกวี ในภาษาไทยนี้ นิยมใช้เรียก ผู้ประพันธ์ดนตรีในแนวดนตรีคลาสสิกของตะวันตก โดยแปลมาจากคำว่า composer นั่นเอง อย่างไรก็ดี บางท่านอาจใช้คำว่า ดุริยกวี แต่ก็มีความหมายอย่างเดียวกัน สำหรับผู้ที่แต่งเพลงในแนวดนตรีอื่นๆ มักจะเรียกว่า นักแต่งเพลง หรือ ครูเพลง เท่านั้น คีตกวี อาจไม่จำเป็นต้องประพันธ์ดนตรีลงในแผ่นกระดาษเพียงอย่างเดียว แต่อาจเป็นผู้บรรเลงบทประพันธ์นั้นเป็นครั้งแรก และในภายหลังมีผู้อื่นนำไปใช้บรรเลงตามก็ได้ชื่อว่า คีตกวี เช่นกัน โดยทั่วไปเราจะรู้จัก คีตกวี ในฐานะที่เป็น นักแสดงดนตรี แม้ว่าหลายท่านจะมีผลงานการประพันธ์ดนตรี มากกว่าผลงานการบรรเลงก็ตาม เช่น เบโทเฟิน, โมซาร์ท, วากเนอร์ ฯลฯ.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและคีตกวี · ดูเพิ่มเติม »

ตารันเตลลา

ตารันเตลลา (Tarantella) เป็นชื่อของดนตรีเต้นรำพื้นเมืองประเภทหนึ่ง ซึ่งมีที่มาจากชื่อของแมงมุมยักษ์ทาแรนทูลา (Lycosa tarantula) ในประเทศอิตาลี เชื่อกันว่าหากผู้ใดถูกแมงมุมกัด แล้วได้เต้นรำด้วยเพลงนี้ จะสามารถถอนพิษของแมงมุมได้ การเต้นรำเป็นการเต้นแบบคู่ โดยเพลงจะมีจังหวะที่เร็ว ส่วนมากเพลงจะมีอัตราจังหวะแบบ 6/8 บางครั้ง 18/8 หรือ 4/4 และมีแทมบูรินเป็นเคื่องดนตรีประกอบ หมวดหมู่:อภิธานศัพท์ดนตรี.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและตารันเตลลา · ดูเพิ่มเติม »

ฉาบ

ฉาบแขวน ขนาด 16 นิ้ว ฉาบคู่ ฉาบ เป็นเครื่องดนตรีประเภทเพอร์คัชชัน มีลักษณะเป็นแผ่นโลหะบางๆ รูปร่างคล้ายจาน โดยส่วนมากจะเป็นเครื่องดนตรีไม่มีระดับเสียง.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและฉาบ · ดูเพิ่มเติม »

ซิมโฟนี

ซิมโฟนี (Symphony) เป็นดนตรีประเภทหนึ่ง เป็นดนตรีประกอบเพิ่มเติมในดนตรีคลาสสิกตะวันตก ซึ่งต้องบรรเลงเกือบตลอดเวลาสำหรับวงดนตรี ซิมโฟนีมักจะมีเครื่องดนตรีอย่างน้อยหนึ่งชนิดมาประกอบด้วยตามหลักการโซนาตา วงดนตรีที่บรรเลงดนตรีแบบซิมโฟนีนั้นเรียกว่า วงซิมโฟนี ออร์เคสตรา ซึ่งในวงจะประกอบไปด้วยเครื่องดนตรีครบทั้งสี่ชนิด ตัวอย่างเพลงซิมโฟนี หมวดหมู่:ดนตรีคลาสสิก.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและซิมโฟนี · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฝรั่งเศส

ฝรั่งเศส (France ฟร็องส์) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐฝรั่งเศส (République française) เป็นประเทศที่มีศูนย์กลางตั้งอยู่ในภูมิภาคยุโรปตะวันตก ทั้งยังประกอบไปด้วยเกาะและดินแดนอื่น ๆ ในต่างทวีป ประเทศฝรั่งเศสแผ่นดินใหญ่ทอดตัวตั้งแต่ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนจนถึงช่องแคบอังกฤษและทะเลเหนือ และจากแม่น้ำไรน์จนถึงมหาสมุทรแอตแลนติก ชาวฝรั่งเศสมักเรียกแผ่นดินใหญ่ว่า หกเหลี่ยม (L'Hexagone) เนื่องจากรูปทรงทางกายภาพของประเทศ ประเทศฝรั่งเศสปกครองด้วยระบอบกึ่งประธานาธิบดี โดยยึดอุดมการณ์จากปฏิญญาว่าด้วยสิทธิของมนุษย์และของพลเมือง ประเทศฝรั่งเศสมีพรมแดนติดกับประเทศเบลเยียม ลักเซมเบิร์ก เยอรมนี สวิตเซอร์แลนด์ อิตาลี โมนาโก อันดอร์ราและสเปน และเนื่องจากประเทศฝรั่งเศสมีดินแดนโพ้นทะเลไว้ในครอบครอง ทำให้มีอาณาเขตติดกับประเทศบราซิล ซูรินาม (ติดกับเฟรนช์เกียนา) และซินต์มาร์เตินของเนเธอร์แลนด์ (ติดกับแซ็ง-มาร์แต็ง) อีกด้วย นอกจากนั้นประเทศฝรั่งเศสยังเชื่อมกับสหราชอาณาจักรทางอุโมงค์ช่องแคบอังกฤษอีกด้วย ประเทศฝรั่งเศสเคยเป็นหนึ่งในประเทศมหาอำนาจของโลกตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 เป็นต้นมา ในคริสต์ศตวรรษที่ 18 และ 19 จักรวรรดิฝรั่งเศสเป็นหนึ่งในประเทศจักรวรรดินิยมที่มีอาณานิคมในครอบครองมากที่สุดในโลก แผ่อาณาเขตตั้งแต่แอฟริกาตะวันตกจนถึงเอเชียอาคเนย์ ซึ่งเห็นได้ชัดจากอิทธิพลทางวัฒนธรรม ภาษาและการเมืองการปกครองของดินแดนนั้น ๆ ประเทศฝรั่งเศสถูกจัดให้เป็นประเทศที่พัฒนาแล้วและมีเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 6 ของโลก ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นประเทศที่มีนักท่องเที่ยวมากที่สุดในโลกอีกด้วย โดยมีนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติกว่า 82 ล้านคนต่อปี ประเทศฝรั่งเศสเป็นประเทศผู้ก่อตั้งสหภาพยุโรปและมีพื้นที่ใหญ่ที่สุดในกลุ่มประเทศอีกด้วย ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นประเทศผู้ก่อตั้งสหประชาชาติ เป็นสมาชิกประชาคมผู้ใช้ภาษาฝรั่งเศสโลก จีแปด นาโต้และสหภาพละติน ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติและเป็นมหาอำนาจนิวเคลียร์ที่มีหัวรบนิวเคลียร์กว่า 360 หัวรบและเตาปฏิกรณ์นิวเคลียร์ 59 แห่ง.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและประเทศฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศออสเตรีย

ออสเตรีย (Austria; Österreich เออสฺตะไรฌ) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐออสเตรีย (Republic of Austria; Republik Österreich) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลในยุโรปกลาง มีอาณาเขตทางเหนือจรดประเทศเยอรมนีและเช็กเกีย ทางตะวันออกจรดสโลวาเกียและฮังการี ทางใต้จรดสโลวีเนียและอิตาลี และทางตะวันตกจรดสวิตเซอร์แลนด์และลิกเตนสไตน์ มีการปกครองแบบประชาธิปไตยแบบมีผู้แทนภายใต้หลักการของรั.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและประเทศออสเตรีย · ดูเพิ่มเติม »

ปิออตร์ อิลิช ไชคอฟสกี

ปิออตร์ อิลิช ไชคอฟสกี (Пётр Ильи́ч Чайко́вский; Pyotr Ilyich Tchaikovsky) หรือเป็นที่รู้จักในชื่อ ปีเตอร์ อิลิช ไชคอฟสกี เป็นคีตกวีชาวรัสเซีย เกิดเมื่อวันที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2383 (ค.ศ. 1840) ที่เมืองโวทคินสค์ เสียชีวิตเมื่อวันที่ 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2436 (ค.ศ. 1893) ที่ เซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก ไชคอฟสกีเกิดในครอบครัวผู้มีอันจะกิน ชีวิตของเขาเต็มไปด้วยความขัดแย้งระหว่างความหรูหราและการอดมื้อกินมื้อ ข่าวอื้อฉาว และความต้องการเป็นที่ยอมรับ เขาได้รับการศึกษาจากวิทยาลัยดนตรีแห่งนครเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก ภายใต้การดูแลของอันทอน รูบินสไตน์ จากนั้นถูกเรียกให้ไปเป็นครูสอนวิชาเรียบเรียงเสียงประสานให้แก่น้องชายของรูบินสไตน์ที่กรุงมอสโก ที่มอสโกนี่เองที่เขาได้ประพันธ์ผลงานสำคัญหลายชิ้น เป็นต้นว่าซิมโฟนีหมายเลขหนึ่ง ชื่อ ความฝันในเหมันตฤดู เขาสมรสในปี พ.ศ. 2420 (ค.ศ. 1877) ด้วยความมุ่งมั่นที่จะรักษาความขัดแย้งภายในตนว่าเขาเป็นพวกรักร่วมเพศ แต่ความล้มเหลวของชีวิตแต่งงาน ที่เป็นที่โจษจันว่าอยู่กันอย่างไร้ความรักกับเจ้าสาวที่เป็นศิษย์ของเขาเอง ทำให้เขาเกือบฆ่าตัวตายสำเร็จ อารมณ์ของเขามั่นคงขึ้นในปี พ.ศ. 2423 (ค.ศ. 1880) เมื่อเขาได้ออกเดินทางไปทั่วทวีปยุโรป ประเทศอิตาลีได้สร้างแรงบันดาลใจให้เขาประพันธ์ผลงานหลายชิ้น รวมทั้งบทเพลงชื่อ คราพริชิโอ อิตาเลียน (capriccio italien) เขาประสบความสำเร็จหลายครั้งและได้พบปะกับคีตกวีเลื่องชื่อร่วมสมัย เป็นต้นว่า โยฮันเนส บราห์ม แอนโทนิน ดโวชาค ฯลฯ เขาเดินทางไปถึงสหรัฐอเมริกาเพื่อเปิดการแสดง ไชคอฟสกีเสียชีวิตในปีพ.ศ. 2436 (ค.ศ. 1893) ด้วยอหิวาตกโรคแต่บางกระแสกล่าวว่าเขาถูกบังคับให้ดื่มยาพิษฆ่าตัวตาย จากข้อหารักร่วมเพศ เพลงของเขาเป็นสะพานเชื่อมระหว่างดนตรีตะวันตกกับดนตรีรัสเซีย ด้วยการนำเสนอแบบร่วมสมัย ซึ่งรวมถึงคีตกวีโมเดสต์ มูสซอร์กสกี และ กลุ่มคีตกวีทั้งห้า ซึ่งเขาได้สร้างมิตรภาพกับพวกเขาเหล่านั้นไว้ด้ว.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและปิออตร์ อิลิช ไชคอฟสกี · ดูเพิ่มเติม »

ปิคโคโล

ปิคโคโล (Piccolo) เป็นเครื่องดนตรีสากลประเภทเครื่องเป่าลมไม้ รูปร่างคล้ายฟลุทแต่ขนาดเล็กกว่า และมีเสียงสูงกว่า 1 ออคเทฟ มีขนาดเล็กกว่าฟลุท 4 เท่า จึงทำให้มีคุณภาพเสียงที่สดใสและแหลมมาก เสียงในระดับต่ำของปิคโคโลจะดังไม่ชัดเจน ปิคโคโลจึงเหมาะที่จะใช้ในการเล่นในระดับเสียงกลางและเสียงสูงมากกว่าในระดับเสียงต่ำ ปิคโคโลในวงออร์เคสตรา คือในศตวรรษที่ 18 ด้วยสุ้มเสียงที่แหลมสูงของปิคโคโลนี้เองทำให้เราสามารถ ที่จะได้ยินเสียงปิคโคโลได้อย่างชัดเจน ถึงแม้ว่าเครื่องดนตรีชิ้นอื่นจะบรรเลงอยู่ก็ตาม หมวดหมู่:เครื่องลมไม้ หมวดหมู่:เครื่องดนตรีออร์เคสตรา.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและปิคโคโล · ดูเพิ่มเติม »

นิกโกเลาะ ปากานีนี

นิกโกเลาะ ปากานีนี (Niccolò Paganini; 27 สิงหาคม ค.ศ. 1782 - 27 พฤษภาคม ค.ศ. 1840) เป็นนักไวโอลิน วิโอลา กีตาร์ในยุคโรแมนติกชาวอิตาลีที่มีชื่อเสียง ได้รับการยอมรับถึงฝีมือการเล่นว่าเป็นที่หนึ่งในยุคนั้น ทั้งยังได้พัฒนาเทคนิคการสีไวโอลินแบบใหม่ เขายังมีผลงานประพันธ์โซนาตา คอนแชร์โต และคาปรีซสำหรับการเดี่ยวไวโอลินจำนวนหลายชิ้น ที่มีชื่อเสียงที่สุด คือ Caprice No. 24 นอกจากนี้ปากานินียังเป็นแรงบันดาลใจให้กับคีตกวีสำคัญในยุคต่อมา เช่น โยฮันเนส บราห์ม และ เซียร์เกย์ รัคมานีนอฟ ปากานีนีหัดเล่นดนตรีตั้งแต่อายุ 5 ปี โดยเล่นแมนโดลินของบิดา เริ่มเล่นไวโอลินเมื่ออายุ 7 ปี และเริ่มแสดงพรสวรรค์ออกมาจนได้รับทุนการศึกษาด้านดนตรี เมื่อโตขึ้นได้ย้ายไปเรียนไวโอลินที่ปาร์มา ก่อนจะย้ายไปฟลอเรนซ์ โดยมีชื่อเสียงในระดับท้องถิ่น ปากานีนีเริ่มมีชื่อเสียงในวงกว้างจากการเล่นคอนเสิร์ตที่โรงอุปรากรลา สกาลา เมืองมิลาน ในปี ค.ศ. 1813 ต่อมาได้เดินทางไปเล่นในต่างเมือง เช่นที่ เวียนนา ในปี..

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและนิกโกเลาะ ปากานีนี · ดูเพิ่มเติม »

น็อกเทิร์น

น็อกเทิร์น (Nocturne) บทเพลงสำหรับเดี่ยวเปียโนในลักษณะโรแมนติก ให้บรรยากาศยามค่ำคืน ทั้งนี้ไม่ได้หมายความว่าน็อกเทิร์นจะเป็นเพลงที่มีแต่ความหวานซึ้ง น็อกเทิร์นบางบทก็มีอารมณ์ที่รุนแรง อาทิ Nocturne op.48 no.1 in c minor, Nocturne op.9 no.3 ดังนั้นน็อกเทิร์นจึงมีความแตกต่างจากลัลลาบาย (lullaby) ซึ่งมีความหมายว่าเพลงกล่อมเด็ก อย่างไรก็ตามผู้ที่ใช้คำว่า "น็อกเทิร์น" เป็นคนแรกหาใช่ชอแป็งแต่อย่างใด คนที่ใช้คนแรก คือ จอห์น ฟีลด์ (John Field) หากแต่น็อกเทิร์นของชอแป็งนั้นมีความไพเราะและเป็นที่รู้จักแพร่หลายมากกว่า คำที่ใช้แทนน็อกเทิร์นนั้นได้แก่ "นอตตูร์โน" (notturno) เพลง Liebestraum no.3 ของฟรานซ์ ลิซท์ ก็เป็นเพลงประเภทนี้ที่อาจกล่าวได้ว่ารู้จักแพร่หลายมากที่สุด อีกเพลงคือ Nocturne op.9 no.2 ของชอแป็ง หมวดหมู่:อภิธานศัพท์ดนตรี.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและน็อกเทิร์น · ดูเพิ่มเติม »

แฟนเทเชีย

แฟนเทเชีย สามารถหมายถึง.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและแฟนเทเชีย · ดูเพิ่มเติม »

แพสชั่น

แพสชั่น เป็นบทเพลงทางศาสนา มีเนื้อหาเกี่ยวกับการพิพากษา และการตรึงไม้กางเขนของพระเยซู ซึ่งมักจะมีการแสดงในช่วงเทศกาลอีสเตอร์ บทเพลงนี้เป็นบทเพลงขนาดใหญ่ และมีการประพันธ์มากันแต่โบราณ เนื้อเพลงที่นำมาเขียนจะนำมาจากพระคัมภีร์ (Gospel) ซึ่งก็มีผู้เขียนหลายคนได้แก่ ยอร์น มาระโก มัทธิว ผู้ประพันธ์เพลงที่สำคัญ คือ ชึทส์ (Schutz), บาค (Bach) และไฮเดิน (Haydn) หมวดหมู่:อภิธานศัพท์ดนตรี.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและแพสชั่น · ดูเพิ่มเติม »

แอ็กตอร์ แบร์ลีโยซ

แอ็กตอร์ แบร์ลีโยซ แอ็กตอร์ แบร์ลีโยซ (Hector Berlioz) เป็นคีตกวี นักเขียน และนักวิจารณ์ชาวฝรั่งเศส เกิดเมื่อวันที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2346 (ค.ศ. 1803) ที่เมืองลาโกตแซ็งต็องเดร จังหวัดอีแซร์ เสียชีวิตเมื่อวันที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2411 (ค.ศ. 1869) ที่กรุงปารีส เขาเป็นหนึ่งในคีตกวีคนสำคัญในยุคโรแมนติกของทวีปยุโรป.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและแอ็กตอร์ แบร์ลีโยซ · ดูเพิ่มเติม »

แคลริเน็ต

กซ้ายไปขวา คลาริเน็ต Ab Eb และ Bb คลาริเน็ต(Clarinet) เป็นเครื่องดนตรีจำพวกเครื่องเป่าลมไม้(woodwind instruments) ที่พัฒนามาจากเครื่องดนตรีในสมัยกลางเรียกว่า chalumeau แคลริเน็ตเป็นเครื่องดนตรีที่มักทำจากไม้หรือพลาสติก ทำให้เกิดเสียงโดยใช้ลิ้นเดี่ยว (single reed) ซึ่งรัดติดกับปากเป่าเช่นเดียวกับแซกโซโฟน ช่วงเสียงแคลริเน็ต (Bb) เริ่มตั้งแต่ D (เขียนว่า E แต่เล่นแล้วออกเสียง D เนื่องจากเป็นแคลริเน็ตบีแฟลต มีเสียงต่ำกว่าที่เขียนไว้ 1 tone) เรื่อยขึ้นไปประมาณ 3 ½ คู่แป.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและแคลริเน็ต · ดูเพิ่มเติม »

แคนนอน

แคนนอน เป็นบริษัทจากประเทศญี่ปุ่นซึ่งชำนาญด้านผลิตภัณฑ์ภาพทัศน์ เช่น กล้องถ่ายภาพ, เครื่องถ่ายเอกสาร, เครื่องพิมพ์สำหรับคอมพิวเตอร์ และอื่น ๆ สำนักงานใหญ่ของแคนนอนตั้งอยู่ที่กรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและแคนนอน · ดูเพิ่มเติม »

แคนแคน

นักเต้นแคนแคน ภาพวาดโดยตูลูส-โลแตร็ก‎ ปี 1895 ภาพการเต้นแคนแคนที่มูแลงรูจ โดยตูลูส-โลแตร็ก ปี 1889 Offenbach ''Can-can'' แคนแคน (cancan, ก็องก็อง แปลว่า อื้อฉาว; สะกด can-can) เป็นรูปแบบการแสดงเต้นระบำในห้องโถง ประกอบดนตรีจังหวะเต้นรำ โดยใช้นักเต้นสตรีสวมกระโปรงยาว มีกระโปรงลูกไม้ซับใน สวมถุงน่องและรองเท้าส้นสูง นักเต้นจะเต้นด้วยท่าทางยั่วยวนผู้ชมที่เป็นชาย โดยเปิดชายกระโปรงให้เห็นกางเกงชั้นใน และเตะขาขึ้นสูง หรือกระโดดแยกขา สลับกับการเคลื่อนไหวร่างกาย ดนตรีที่ใช้ประกอบการเต้น มักใช้เพลงกาล็อพ (galop, ม้าควบ) ในจังหวะ 2/4 เพลงที่นิยมใช้ คือเพลง ของชาก ออฟเฟนบาค หรือเพลงอื่นๆ ของโยฮันน์ ชเตราสส์ ที่สอง การเต้นแบบแคนแคนเกิดขึ้นครั้งแรกราวทศวรรษ 1830 การเต้นบอลรูมของชนชั้นผู้ใช้แรงงานในย่านมงต์ปาร์นาส กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส โดยนักเต้นชาย แต่เป็นที่นิยมเต้นในช่วงทศวรรษ 1890 เป็นการเต้นแสดงโดยนักเต้นหญิง โดยเฉพาะการแสดงที่โรงละครมูแลงรูจ ที่ตั้งอยู่ในย่านโคมแดงในมงมาร์ต นักเต้นหญิงที่มีชื่อเสียง เช่น La Goulue และ Jane Avril ที่มีปรากฏอยู่ในภาพวาดแบบโพสต์อิมเพรสชันนิสม์ของอองรี เดอ ตูลูส-โลแตร็ก เป็นจำนวนมาก การเต้นแคนแคนที่มูแลงรูจเป็นที่นิยมจนถึงทศวรรษ 1920 และเป็นที่รู้จักในวงกว้างจากละครเวทีเรื่อง Can-can (1953) โดยโคล พอร์ตเตอร์ จัดแสดงที่บรอดเวย์ และเวสต์เอนด์ และภาพยนตร์ในปี 1960 นำแสดงโดยแฟรงก์ ซินาตรา และเชอร์ลี แมคเลน.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและแคนแคน · ดูเพิ่มเติม »

โพลกา

นักแสดงข้างถนนในปราก กำลังแสดงโพลก้า โพลก้า (Polka) หมายถึง การเต้นรำเป็นรูปวงกลมที่มีชีวิตชีวาในอัตราจังหวะ 2/4 เพลงโพลก้าเริ่มปรากฏในช่วงปี..1830 ในประเทศโบฮีเมียน (ปัจจุบันคือประเทศสาธารณรัฐเช็กและสโลวัก) ต่อมาได้รับความนิยมอย่างมากทั่วภาคพื้นยุโรป และยังคงได้รับความนิยมต่อมาจนกระทั่งสิ้นศตวรรษที่ 19 เครื่องดนตรีที่ใช้ในการบรรเลง ได้แก่ ดรัมคิท (Drum Kit) ทูบา (Tuba) อะคูสติคกีตาร์ (Acoustic Guitar) แอคคอเดี้ยน (Accordian) ทรัมเป็ต (Trumpet) และคลาริเน็ต (Clarinet) นักดนตรีที่นิยมประพันธ์เพลงโพลก้ามาก คือ โยฮันน์ ชเตราสส์ ที่หนึ่ง และโยฮันน์ ชเตราสส์ ที่สอง.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและโพลกา · ดูเพิ่มเติม »

โกลด เดอบูว์ซี

กลด เดอบูว์ซี ที่วิลลาเมดิจิ กรุงโรม ค.ศ. 1885 เดอบูว์ซีคือคนกลางแถวบน ใส่เสื้อคลุมสีขาว โกลด-อาชีล เดอบูว์ซี (Claude-Achille Debussy) เป็นคีตกวีชาวฝรั่งเศส เกิดเมื่อวันที่ 22 สิงหาคม พ.ศ. 2405 (ค.ศ. 1862) ที่เมืองแซ็ง-แฌร์แม็ง-อ็อง-แล และเสียชีวิตที่กรุงปารีส เมื่อวันที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2461 (ค.ศ. 1918).

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและโกลด เดอบูว์ซี · ดูเพิ่มเติม »

โมเท็ต

ในเพลงคลาสสิก โมเท็ต (motet) เป็นถ้อยคำที่ปรับเข้ากับท่วงทำนองสำหรับร้องประสานเสียง หมวดหมู่:อภิธานศัพท์ดนตรี.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและโมเท็ต · ดูเพิ่มเติม »

โยฮันน์ ชเตราสส์ ที่สอง

ันน์ ชเตราสส์ ที่สอง รูปปั้นราชาแห่งเพลงวอลซ์เหมือนมีชีวิต ที่สแตดพาร์ก ในกรุงเวียนนา โยฮันน์ ชเตราสส์ ที่สอง (เยอรมัน: Johann Strauß (Sohn) - หรือ โยฮันน์ ชเตราสส์ บุตร หรือ โยฮันน์ ชเตราสส์ จูเนียร์) เกิดเมื่อวันที่ 25 ตุลาคม ค.ศ. 1825 เสียชีวิตเมื่อวันที่ 3 มิถุนายน ค.ศ. 1899) เป็นคีตกวีชาวออสเตรีย ซึ่งบทประพันธ์เพลงวอลซ์ของเขาเป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวาง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เดอะ บลู ดานูบ โยฮันน์ ชเตราสส์ ที่สอง เป็นบุตรชายของโยฮันน์ ชเตราสส์ ที่หนึ่ง ซึ่งเป็นคีตกวีเช่นกัน น้องชายของเขา 2 คน คือ โยเซฟ ชเตราสส์ กับ เอด๊วด ชเตราสส์ ก็เป็นนักประพันธ์เพลง แต่โยฮันน์ที่สองเป็นคนที่โด่งดังที่สุดในตระกูล เขาเป็นที่รู้จักในนามของ ราชาเพลงวอลซ์ ในช่วงที่เขายังมีชีวิตอยู่ และเป็นผู้สร้างให้เกิดกระแสความนิยมเพลงวอลซ์ในกรุงเวียนนา ตลอดช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 19 ชเตราสส์ได้กลายเป็น ราชาเพลงวอลซ์ เนื่องจากได้ปฏิวัติรูปแบบวอลซ์ด้วยการยกระดับเพลงระบำชาวนาอันต่ำต้อย ขึ้นมาเป็นเพลงเพื่อให้ความบันเทิงแก่บุคคลชั้นสูงในราชสำนักฮับส์บวร์กได้ เขาไม่เพียงแค่ปฏิวัติเพลงวอลซ์เท่านั้น แต่งานของเขายังโดดเด่นกว่าคีตกวีในยุคเดียวกัน ไม่ว่าจะเป็น โยเซฟ แลนเนอร์ และ โยฮันน์ ชเตราสส์ ที่หนึ่ง รวมทั้งยังได้สุขสำราญกับชื่อเสียงที่มากกว่าอีกด้วย เพลงโพลก้า กับเพลงมาร์ชของเขายังเป็นที่รู้จักกันดี รวมถึงจุลอุปรากร ชื่อว่า Die Fledermaus.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและโยฮันน์ ชเตราสส์ ที่สอง · ดูเพิ่มเติม »

โยฮันน์ ชเตราสส์ ที่หนึ่ง

ันน์ ชเตราสส์ ที่หนึ่ง โยฮันน์ สเตร๊าสส์ ที่หนึ่ง (เยอรมัน: Johann Strauß - หรือที่รู้จักกันในนามของ โยฮันน์ สเตร๊าสส์ ซีเนียร์ เกิดเมื่อวันที่14 มีนาคม พ.ศ. 2347 เสียชีวิตเมื่อวันที่25 กันยายน พ.ศ. 2392) เป็นคีตกวีชาวออสเตรีย ผลงานที่ทำให้เขาเป็นที่รู้จักได้แก่เพลงวอลซ์ และเพื่อทำให้เพลงประเภทนี้เป็นที่รู้จักกันมากขึ้น โยเซฟ แลนเนอร์ จึงได้ (โดยไม่ตั้งใจ) จัดตั้งมูลนิธิขึ้นเพื่อให้บุตรชายของเขาสืบสานอาณาจักรดนตรีต่อไป อย่างไรก็ดี บทเพลงของเขาที่เป็นที่รู้จักมากที่สุดเห็นจะได้แก่ ราเด็ตสกี้มาร์ช (ตั้งชื่อตามโยเซฟ ราเด็ตสกี้ ฟอน ราเด็ตส์) ในขณะที่เพลงวอลซ์ที่เลื่องชื่อที่สุดของเขาได้แก่ Lorelei Rhine Klänge โอปุส 154.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและโยฮันน์ ชเตราสส์ ที่หนึ่ง · ดูเพิ่มเติม »

โยฮันน์ พาเคลเบล

ันน์ พาเคลเบล (Johann Pachelbel 1 กันยายน พ.ศ. 2196 – 3 มีนาคม พ.ศ. 2249) เป็นหนึ่งในผู้ที่ได้รับการยกย่องว่าเป็นคีตกวีและนักเล่นออร์แกนที่สำคัญคนหนึ่งในช่วงกลางของยุคบารอค ชาวเยอรมัน ผลงานที่เป็นที่มีชื่อเสียงและเป็นที่รู้จักเป็นอย่างดีคือ Canon in D.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและโยฮันน์ พาเคลเบล · ดูเพิ่มเติม »

โยฮันน์ เซบาสเตียน บาค

ันน์ เซบาสเตียน บาค, ปี พ.ศ. 2291 วาดโดย อีลิอาส ก็อตลอบ เฮาส์มันน์ (Elias Gottlob Haussmann) โยฮันน์ เซบาสเตียน บาค (Johann Sebastian Bach) เป็นคีตกวีและนักออร์แกนชาวเยอรมัน เกิดเมื่อวันที่ 21 มีนาคม พ.ศ. 2228 (ค.ศ. 1685) ในครอบครัวนักดนตรี ที่เมืองไอเซนัค บาคแต่งเพลงไว้มากมายโดยดั้งเดิมเป็นเพลงสำหรับใช้ในโบสถ์ เช่น "แพชชั่น" บาคถึงแก่กรรมเมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2293 ที่เมืองไลพ์ซิก บาคเป็นนักประพันธ์ดนตรีสมัยบาโรค เขาสร้างดนตรีของเขาจนกลายเป็นเอกลักษณ์ของยุคสมัย บาคมีอิทธิพลอย่างสูงและยืนยาวต่อการพัฒนาดนตรีตะวันตก แม้แต่นักประพันธ์เพลงผู้ยิ่งใหญ่เช่น โมซาร์ท และเบโธเฟน ยังยอมรับบาคในฐานะปรมาจารย์ งานของบาคโดดเด่นในทุกแง่มุม ด้วยความพิถีพิถันของบทเพลงที่เต็มไปด้วย ท่วงทำนอง เสียงประสาน หรือ เทคนิคการสอดประสานกันของท่วงทำนองต่าง ๆ รูปแบบที่สมบูรณ์แบบ เทคนิคที่ฝึกฝนมาเป็นอย่างดี การศึกษาค้นคว้า แรงบันดาลใจอันเต็มเปี่ยม รวมทั้งปริมาณของบทเพลงที่แต่ง ทำให้งานของบาคหลุดจากวงจรทั่วไปของงานสร้างสรรค์ที่ปกติแล้วจะเริ่มต้น เจริญเติบโตถึงขีดสุด แล้วเสื่อมสลาย นั่นคือไม่ว่าจะเป็นเพลงที่บาคได้ประพันธ์ไว้ตั้งแต่วัยเยาว์ หรือเพลงที่ประพันธ์ในช่วงหลังของชีวิตนั้นจะมีคุณภาพทัดเทียมกัน.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและโยฮันน์ เซบาสเตียน บาค · ดูเพิ่มเติม »

โยฮันเนส บราห์ม

ันเนส บรามส์ (Johannes Brahms 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2376 - 3 เมษายน พ.ศ. 2440 พ.ศ. 2440) เป็นคีตกวีและวาทยกรชาวเยอรมัน หลายคนยกย่องเขาในฐานะทายาททางดนตรีของลุดวิจ ฟาน เบโทเฟน ซิมโฟนีบทแรกของเขาได้รับการยกย่องจาก ฮันส์ ฟอน บือโลว์ ว่าเป็นซิมโฟนีบทที่ 10 ของเบโทเฟน โยฮันเนส บราห์ม.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและโยฮันเนส บราห์ม · ดูเพิ่มเติม »

โรมัน

รมัน อาจหมายถึง;ประวัติศาสตร.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและโรมัน · ดูเพิ่มเติม »

โรแบร์ท ชูมันน์

รแบร์ท ชูมันน์ โรแบร์ท อาเล็กซันเดอร์ ชูมันน์ (Robert Alexander Schumann) เป็นคีตกวีและนักวิจารณ์ดนตรีชาวเยอรมัน เกิดวันที่ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2353 ที่เมืองซวิคเคา เสียชีวิต 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2399 ที่เมืองเอนเดนิช (Endenich) ซึ่งปัจจุบันนี้กลายเป็นส่วนหนึ่งของเมืองบอนน์ ประเทศเยอรมนี.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและโรแบร์ท ชูมันน์ · ดูเพิ่มเติม »

โรโกโก

้านเหนือของวังแคทเธอรีนที่ Tsarskoye Selo - ลานราชรถ: เป็นลวดลายปูนปั้นปิดทองมาจนสมัยพระจักรพรรดินีนาถแคทเธอรีนที่ทรงสั่งให้ติดช่อมะกอกแทน ท้องพระโรงของวังแคทเธอรีนที่ Tsarskoye Selo ศิลปะโรโกโก (Rococo) หรือบางครั้งก็เรียกกันว่า "ศิลปะแบบหลุยส์ที่ 14" (Louis XIV Style) ศิลปะโรโกโกเริ่มพัฒนามาจากศิลปะฝรั่งเศส และการตกแต่งภายในเมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 18 ห้องที่ออกแบบแบบโรโกโกจะเป็น เอกภาพ คือทุกสิ่งทุกอย่างในห้อง ไม่ว่าจะเป็นผนัง เครื่องเรือน หรือเครื่องประดับ จะออกแบบเพื่อให้กลมกลืนกันอันหนึ่งอันเดียวกันมิใช่จะอิสระต่อกัน คือไม่มีสิ่งใดในห้องนั้นที่นอกแบบออกมา ภายในห้องจะมีเครื่องเรือนที่หรูหราและอลังการ รูปปั้นเล็ก ๆ แบบประดิดประดอย ภาพเขียนหรือกระจกก็จะเป็นกรอบลวดลาย และพรมแขวนผนัง ที่ถ้าแยกอะไรออกมาก็จะทำให้ห้องนั้นไม่สมบูรณ์แบบ ศิลปะโรโกโกมาแทนด้วยสถาปัตยกรรมฟื้นฟูคลาสสิก คำว่าโรโกโกมาจากคำสองคำผสมกัน คำว่า rocaille จากภาษาฝรั่งเศส ซึ่งหมายถึงศิลปะการตกแต่งที่ใช้ลวดลายคล้ายหอยหรือใบไม้ และคำว่า barocco จากภาษาอิตาลี หรือที่เรียกว่า ศิลปะบาโรก ศิลปินโรโกโกจะนิยมเล่นเส้นโค้งตัวซีและตัวเอส (S และ C curves) แบบเปลือกหอย หรือการม้วนตัวของใบไม้เป็นหลัก และจะเน้นการตกแต่งประดิดประดอย จนทำให้นักวิจารณ์ศิลปะค่อนว่าเป็นศิลปะของความฟุ้งเฟ้อและเป็นเพียงศิลปะสมัยนิยมเท่านั้น คำว่าโรโกโกเมื่อเริ่มใช้เป็นครั้งแรกที่ประเทศอังกฤษเมื่อประมาณปี..

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและโรโกโก · ดูเพิ่มเติม »

โวล์ฟกัง อะมาเดอุส โมซาร์ท

วล์ฟกัง อะมาเดอุส โมซาร์ท (Wolfgang Amadeus Mozart) 27 มกราคม พ.ศ. 2299 - 5 ธันวาคม พ.ศ. 2334 (ค.ศ. 1756 - 1791) เป็นนักประพันธ์ดนตรีคลาสสิกชาวออสเตรียที่มีชื่อเสียงก้องโลก โมซาร์ทเกิดที่เมืองซาลซ์บูร์ก เขามีงานประพันธ์เพลง 700 ชิ้นรวมทั้งอุปรากร (ดนตรีซึ่งมีเนื้อเรื่อง) ชื่อ ดอน โจวันนี (Don Giovanni) และ ขลุ่ยวิเศษ (Die Zauberflöte) ปัจจุบันผลงานต่าง ๆ ของเขาได้ถูกนำมาจัดจำหน่ายเป็นสื่อต่าง ๆ มากม.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและโวล์ฟกัง อะมาเดอุส โมซาร์ท · ดูเพิ่มเติม »

โอโบ

โอโบ ที่ใช้ในปัจจุบันนี้มีมาตั้งแต่ศตวรรษที่ 17 ใช้ในการแสดงอุปรากรฝรั่งเศส เรียกว่า “Hautbois” หรือ “Hoboy” ในศตวรรษที่ 18 โอโบใช้เป็นเครื่องดนตรีหลักในวงออร์เคสตร้า เป็นเครื่องดนตรีเสียงสูงในกลุ่มเครื่องลมไม้ ซองในขณะนั้นมีรูปิดเปิดเพียง 2- 3 รูเท่านั้น ในศตวรรษที่ 19 โอโบได้พัฒนาในเรื่องระบบกลไก คีย์ กระเดื่อง สำหรับปิดเปิดรู เพื่อเปลี่ยนระดับเสียงให้เล่นสะดวกมากขึ้น จนในที่สุดโอโบคือเครื่องดนตรีหลักที่จะต้องมีในวงดุริยางค์ อ.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและโอโบ · ดูเพิ่มเติม »

โจวันนี ปีแอร์ลุยจี ดา ปาเลสตรีนา

thumb โจวานนี เปียร์ลุยจี ปาเลสตรินา (Giovanni Pierluigi da Palestrina; 3 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1525 หรือ 2 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1526 – 2 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1594) คีตกวีชาวอิตาเลียนในช่วงปลายยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาการ ปาเลสตรินาเกิดที่เมืองปาเลสตรินา เป็นเมืองเล็กๆ ซึ่งอยู่ไม่ไกลจากโรม และอยู่ในอาณาจักรพระสันตะปาปา เริ่มงานจากการเป็นนักร้องเสียงประสานในโบสถ์ และได้เริ่มฝึกหัดออร์แกนและเรียบเรียงดนตรีสวด ผลงานประพันธ์ของปาเลสตรินาเป็นที่ประทับใจสมเด็จพระสันตะปาปาจูเลียสที่ 3 ที่ทรงเคยเป็นบิชอปแห่งปาเลสตรินา จึงทรงแต่งตั้งให้เขาเป็นผู้อำนวยการดนตรี เขาได้ผลิตผลงานเพลงด้านศาสนาออกมาเป็นจำนวนหลายร้อยชิ้น ปาเลสตรินาเสียชีวิตในวันที่ 2 กุมภาพัน..1594 ด้วยอาการเยื่อหุ้มปอดอักเสบ ที่กรุงโรม.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและโจวันนี ปีแอร์ลุยจี ดา ปาเลสตรีนา · ดูเพิ่มเติม »

โซนาตา

ซนาตา (Sonata; Sonare) เป็นประเภทของบทเพลงที่ใช้สำหรับเดี่ยวเครื่องดนตรี เช่น Piano sonata ก็คือบทเพลงที่ใช้สำหรับเดี่ยวเปียโน หรือ Violin Sonata ก็เป็นบทเพลงที่ใช้สำหรับเดี่ยวไวโอลิน อนึ่ง เพลงเดี่ยวสำหรับเครื่องดนตรีที่ไม่ใช่เปียโนมักจะมีเครื่องดนตรีบรรเลงประกอบ (Accompaniment) ซึ่งมักจะเป็นเปียโน โซนาตา เป็นภาษาอิตาลีและมาจากคำละตินว่า "โซนาเร" (Sonare) ที่หมายความว่าเสียง (Sound) ในความหมายว่าบรรเลง เพลงประเภทโซนาตามักประกอบด้วย 3 หรือ 4 ท่อน ท่อนแรกมักอยู่ในอัตราเร็ว ท่อนที่ 2 อยู่ในอัตราช้า ท่อนที่ 3 มักอยู่ในบรรยากาศที่ร่าเริง.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและโซนาตา · ดูเพิ่มเติม »

ไวโอลิน

วโอลิน เป็นเครื่องดนตรีที่ทำให้เกิดเสียงระดับเสียงสูงในกลุ่มเครื่องดนตรีคลาสสิกประเภทเครื่องสาย (String instruments) ซึ่งมีต้นกำเนิดมาจากโลกตะวันตก เป็นเครื่องดนตรีตระกูลไวโอลินที่เล็กที่สุด อันประกอบไปด้วย ไวโอลิน วิโอลา เชลโล และ ดับเบิลเบส เมื่อนำทั้งหมดมาเล่นร่วมกันแล้วจะเรียกว่า วงเครื่องสาย(string) ซึ่งเป็นตระกูลเครื่องดนตรีหลักของ วงออร์เคสตร.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและไวโอลิน · ดูเพิ่มเติม »

เบ-ลอ บอร์โตก

-ลอ วิกโตร์ ยาโนช บอร์โตก (Bartók Béla Viktor János) เกิดเมื่อวันที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2424 (ค.ศ. 1881) ที่เมืองน็อจแซ็นด์มิกโลช (Nagyszentmiklós) ฮังการี (ในปัจจุบันคือเมืองซึนนีกอลาอูมาเร ประเทศโรมาเนีย) เสียชีวิตเมื่อวันที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2488 (ค.ศ. 1945) ที่นครนิวยอร์ก) เป็นทั้งคีตกวี นักเปียโน และนักสะสมดนตรีพื้นบ้านในแถบยุโรปตะวันออก เขาเป็นหนึ่งในกลุ่มผู้จัดตั้งสาขาวิชาดนตรีชาติพันธุ์วิทยา (ethnomusicology).

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและเบ-ลอ บอร์โตก · ดูเพิ่มเติม »

เชลโล

วิโอลอนเชลโล (Violoncello) หรือเรียกทั่วไปว่า เชลโล (Cello) เป็นเครื่องดนตรีประเภทเครื่องสาย นิยมเล่นใน วงออร์เคสตราและ วงเครื่องสาย ซึ่งมีต้นกำเนิดมาจากโลกตะวันตก เป็นหนึ่งในเครื่องดนตรีตระกูลไวโอลิน อันประกอบไปด้วยไวโอลิน, วิโอล่า, เชลโล และ ดับเบิลเบส เชลโลเป็นเครื่องดนตรีประเภทเครื่องสายที่ได้รับความนิยมเช่นเดียวกับไวโอลิน มีโน้ตเพลงที่เขียนไว้สำหรับเชลโลโดยเฉพาะอยู่หลายบทเพลง แต่ไม่ค่อยได้รับความนิยม ถึงอย่างไรก็ตามยังมีการเล่นเชลโลกับดนตรีประเภทแจ๊ส บลูส์ ป๊อป ร็อก ฯลฯ.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและเชลโล · ดูเพิ่มเติม »

เฟรเดริก ชอแป็ง

ฟรเดริก ชอแป็ง เฟรเดริก ฟร็องซัว ชอแป็ง (Frédéric François Chopin) หรือ ฟรือแดรึก ฟรันต์ซีเชก ชอแป็ง (Fryderyk Franciszek Chopin บางครั้งสะกดว่า Szopen) เป็นคีตกวีชาวโปแลนด์ เกิดเมื่อวันที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2353 (ค.ศ. 1810) เสียชีวิตเมื่อวันที่ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2392 (ค.ศ. 1849) จากวัณโรคที่ส่งผลต่อระบบทางเดินหายใจ ชื่อที่บิดามารดาของเขาตั้งให้คือ "Fryderyk Franciszek Chopin" ต่อมาได้หันมาใช้ชื่อเป็นภาษาฝรั่งเศสเมื่อเขาได้ตัดสินใจจากประเทศบ้านเกิดเป็นการถาวรเพื่อมุ่งหน้าสู่กรุงปารีส ประเทศฝรั่ง.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและเฟรเดริก ชอแป็ง · ดูเพิ่มเติม »

เฟลิกซ์ เมนเดิลส์โซห์น

ยาค็อบ ลุดวิก เฟลิกซ์ เมนเดลโซห์น-บาร์โธลดี (Jakob Ludwig Felix Mendelssohn-Bartholdy) เป็นที่รู้จักกันในชื่อ เฟลิกซ์ เมนเดลโซห์น (3 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1809 - 4 พฤศจิกายน ค.ศ. 1847) เป็นนักเปียโน คีตกวี และผู้อำนวยเพลงชาวเยอรมัน อยู่ในยุคโรแมนติกตอนต้น มีผลงานประพันธ์ทั้งซิมโฟนี คอนแชร์โต ออราทอริโอ และ1847 หมวดหมู่:คีตกวีชาวเยอรมัน หมวดหมู่:นักดนตรีคลาสสิก หมวดหมู่:วาทยกร หมวดหมู่:นักเปียโน หมวดหมู่:คีตกวีและนักแต่งเพลงชาวยิว หมวดหมู่:คีตกวีอุปรากร หมวดหมู่:บุคคลจากฮัมบูร์ก หมวดหมู่:ชาวเยอรมันเชื้อสายยิว โครงดนตรี.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและเฟลิกซ์ เมนเดิลส์โซห์น · ดูเพิ่มเติม »

เรควีเอ็ม

รควีเอ็ม (requiem) เป็นบทเพลงศาสนาคริสต์ที่ใช้ในพิธีศพ แต่ส่วนใหญ่ปัจจุบันจะใช้แสดงเพื่อการฟังในคอนเสิร์ตมากกว่าพิธีศพจริง ๆ ซึ่งจะประพันธ์โดยให้วงดุริยางค์ กับนักร้องเดี่ยว และวงขับร้องประสานเสียง เนื้อร้องที่ใช้นำมาจากพระคัมภีร์ บทที่มีความสำคัญ ได้แก่ เรควีเอ็มของโมซาร์ท, บราห์มส์, ฟอเร่, แวร์ดี, และแบร์ลิออส โมซาร์ทได้แต่งบทเพลงนี้เป็นบทสุดท้ายในชีวิตของเขา ว่ากันว่ามีชายลึกลับคนหนึ่งจ้างให้แต่งขึ้นแต่มารู้ภายหลังอีกทีคือ เคานต์วัลเซกก์ ซึ่งเป็นขุนนางในสำนักพระราชวัง แต่ก็นับเป็นผลงานที่มีความโดดเด่นชิ้นหนึ่ง ส่วนบราห์มส์แต่งเพลงนี้เป็นภาษาเยอรมัน.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและเรควีเอ็ม · ดูเพิ่มเติม »

เวียนนา

วียนนา (Vienna) หรือ วีน (Wien) เป็นเมืองหลวงของประเทศออสเตรีย และเป็นชื่อเขตการปกครองในออสเตรียด้วย เวียนนาเป็นเมืองใหญ่ที่สุดในออสเตรีย เป็นศูนย์กลางทั้งเศรษฐกิจและการปกครอง มีประชากรประมาณ 1.8 ล้านคน มีแม่น้ำดานูบไหลผ่าน เวียนนายังเป็นที่ตั้งของหน่วยงานในสหประชาชาติหลายแห่ง เช่น United Nations Industrial Development Organization (UNIDO) และองค์กรระดับนานาชาติหลายแห่ง เช่น โอเปก (OPEC).

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและเวียนนา · ดูเพิ่มเติม »

เอริก ซาตี

ล้อเลียนตนเอง วาดโดยเอริก ซาตี เอริก ซาตี (Erik Satie) เป็นคีตกวี นักเปียโน และนักประพันธ์ชาวฝรั่งเศส ชื่อเดิม เอริก อาลแฟรด เลลี ซาตี (Éric Alfred Leslie Satie) เกิดที่เมืององเฟลอร์ จังหวัดกาลวาโดส วันที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2409 (ค.ศ. 1866) เสียชีวิตที่กรุงปารีส วันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2468 (ค.ศ. 1925).

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและเอริก ซาตี · ดูเพิ่มเติม »

เอตูว์ด

อตูว์ด ในภาษาฝรั่งเศส หรือ เอทูด ในภาษาอังกฤษ (étude) หมายถึง แบบฝึกหัด เป็นเพลงที่นักประพันธ์เพลงแต่งเพื่อมีวัตถุประสงค์ให้ลูกศิษย์ได้ฝึกหัดเพลงที่มีทักษะในการเล่นที่สูงขึ้น ส่วนใหญ่ทักษะที่ใช้เล่นในเอตูว์ดมักเป็นทักษะเฉพาะทาง หรือเทคนิคเฉพาะทั้งสำหรับเครื่องดนตรีนั้น ๆ และสำหรับเทคนิคนั้น ๆ เพลงเอทูดนั้นเป็นเพลงที่นับว่านักเปียโนที่มีความสามารถในระดับสูงควรฝึกหัดด้วยกันทั้งสิ้น ผู้แต่งบทเพลงเอตูว์ดที่มีชื่อเสียงมากได้แก่ ชอแป็งเขาได้แต่งในผลงานลำดับที่ 10 จำนวน 12 บท และลำดับที่ 25 จำนวน 12 บท รวมทั้งที่ไม่ได้จัดพิมพ์อีก 3 บท ครบทั้งบันไดเสียงเมเจอร์และไมเนอร์ ในทุกคีย์ รวมแล้วเขาได้แต่งไว้ทั้งหมด 27 บท ในแต่ละบทนั้นจะมีเทคนิคการเล่นที่แตกต่างกัน เช่น เทคนิค ขั้นคู่ 3 ที่เป็นเพลงที่ให้เล่นขั้นคู่ 3 ในมือขวา ไล่ขึ้นและลงอย่างรวดเร็ว ซึ่งต้องอาศัยความชำนาญในเทคนิคอื่น ๆ เพลงเอตูว์ดในปัจจุบันถือเป็นรายการเพลงแข่งบังคับของการแข่ง "Piano Chopin compettion" ตัวอย่างเพลง Étude.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและเอตูว์ด · ดูเพิ่มเติม »

เด่น อยู่ประเสริฐ

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เด่น อยู่ประเสริฐ (23 มีนาคม พ.ศ. 2512 -, กรุงเทพมหานคร) นักเปียโนแจ๊ส นักวิชาการ นักแต่งเพลง และวาทยกร เป็นผู้ได้รับรางวัลศิลปาธร สาขาดนตรี จัดโดยสำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ประจำปี..

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและเด่น อยู่ประเสริฐ · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องกระทบ

รื่องกระทบ (percussion instruments) เป็นการจัดประเภทเครื่องดนตรีสากล เครื่องดนตรีประเภทเครื่องกระทบนั้นหมายถึง เครื่องดนตรีที่เกิดเสียงดังขึ้นจากการตี กระทบการสั่น การเขย่า หรือ การเคาะ การตีอาจใช้ไม้ตีหรือใช้สิ่งหนึ่งกระทบเข้ากับอีกสิ่งหนึ่งเพื่อทำให้เกิดเสียง เครื่องประเภทนี้มักประกอบขึ้นด้วยวัสดุของแข็งหลายชนิด เช่น โลหะ ไม้ หรือ แผ่นหนังขึงตึง เครื่องประกอบจังหวะอาจมีชื่อเรียกเป็นคำอื่น เช่น เครื่องตี เครื่องประกอบจังหวะ เป็นต้น.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและเครื่องกระทบ · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องสาย

รื่องสาย (string instrument) เป็นการจัดประเภทของเครื่องดนตรีสากล โดยเครื่องดนตรีสากลประเภทเครื่องสายนี้ หมายถึง เครื่องดนตรีที่ทำให้เกิดเสียงโดยการสั่นสะเทือนของสายลวด เชือก เอ็น หรือไนลอน และมีตัวกำธรเสียง ทำหน้าที่ขยายเสียงให้ดังมากขึ้น คุณภาพของเสียงขึ้นอยู่กับรูปร่าง และวัตถุที่ใช้ทำ การสั่นสะเทือนของสายอาจทำได้โดยการสี หรือดีดโดยอาจกระทำโดยตรง หรือเพิ่มกลไกให้ยุ่งยากขึ้น เครื่องสายที่พบเห็นในปัจจุบัน นิยมใช้วิธีทำให้เกิดเสียงได้ 2 วิธี คือ วิธีสี และวิธีดีด เครื่องสายประเภทใช้คันสี เครื่องดนตรีกลุ่มนี้ได้แก.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและเครื่องสาย · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องดนตรี

รื่องดนตรี คือ อุปกรณ์ที่สร้างขึ้นมา หรือปรับจากอุปกรณ์อื่น ๆ เพื่อใช้งานสำหรับการผลิตเสียงดนตรี หรือสร้างเสียงสำหรับใช้ประกอบในการร้องรำทำเพลง โดยหลักการแล้ว อุปกรณ์ใดก็ตามที่สามารถนำมาใช้ผลิตเสียงดนตรี ย่อมเรียกว่า เครื่องดนตรี ได้ทั้งสิ้น ผู้ที่ใช้เครื่องดนตรีนั้น เรียกว่านักดนตรี.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและเครื่องดนตรี · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องเป่าทองเหลือง

รูปภาพ ทรัมเป็ต, ปิคโคโล ทรัมเป็ต, และ ฟลูเกิลฮอร์น เครื่องเป่าทองเหลือง (brass instrument) เป็นการจัดประเภทของเครื่องดนตรีสากล โดยเครื่องดนตรีประเภทเครื่องลมทองเหลืองจะมีส่วนประกอบที่สำคัญคือ ท่อลมทำด้วยโลหะขนาดต่าง ๆ กันการเกิดเสียงเกิดจากการเป่าลมให้เกิดการสั่นสะเทือนที่ริมฝีปากของผู้เล่น ผ่านเข้าไปในกำพวด (Mouth Piece) การเป่าเครื่องลมทองเหลืองจึงขึ้นอยู่กับริมฝีปากเป็นสำคัญ.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและเครื่องเป่าทองเหลือง · ดูเพิ่มเติม »

เซียร์เกย์ รัคมานีนอฟ

ซียร์เกย์ วาซีเลวิช รัคมานีนอฟ (Сергей Васильевич Рахманинов) เป็นคีตกวี, นักเปียโน และ วาทยากร ชาวรัสเซีย เขาถูกจัดให้เป็นนักเปียโนที่มีชั้นเชิงและมีอิทธิพลมากที่สุดในยุคของเขา และเป็นผู้นำดนตรีคลาสสิกแบบโรแมนติกในยุโรป บทเพลงของเซียร์เกย์นั้นมีแรงขับมหาศาล และต้องอาศัยเทคนิคชั้นสูงในการบรรเลง โดยเฉพาะ Piano Concerto No.2, Op.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและเซียร์เกย์ รัคมานีนอฟ · ดูเพิ่มเติม »

เซเรเนด

ซเรเนด หรือ เซเรนาต้า (serenade; serenata) ในความหมายทั่ว ๆ ไป หมายถึงเพลงที่แต่งให้เพื่อเป็นเกียรติแก่คนรัก เพื่อน หรือบุคคลอื่นๆ ใช้บรรเลงในช่วงค่ำหรือจากทางใต้หน้าต่าง ส่วนในความหมายทางประวัติศาสตร์ดนตรี สมัยโรแมนติก หรือคลาสสิก เซเรเนดหมายถึงรูปแบบหนึ่งของดิแวร์ติเมนโต้ที่ประกอบไปด้วยหลายท่อน แต่มีลักษณะเบากว่าบทเพลงที่มีโครงสร้างขนาดใหญ่และซับซ้อนกว่า (เช่น ซิมโฟนี) เซเรเนดจะเน้นท่วงทำนองมากกว่าอารมณ์ที่เข้มข้น ตัวอย่างของเซเรเนดได้แก่งานของโมซาร์ท ที่เซเรเนดของเขามีมากกว่าสี่ท่อน บางทีถึงสิบท่อน.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและเซเรเนด · ดูเพิ่มเติม »

เปียโน

ปียโน (ย่อมาจาก เปียโนฟอร์เต) เป็นเครื่องดนตรีที่บรรเลงโดยการกดลิ่มนิ้ว (คีย์บอร์ด) มักใช้นิยมบรรเลงเพลงแนว คลาสสิก และ แจ๊ส แม้ว่าเปียโนจะมีขนาดใหญ่และหนักทำให้ไม่สามารถพกพาได้ และมีราคาค่อนข้างแพง แต่เปียโนก็เป็นเครื่องดนตรีที่ได้เปรียบเครื่องดนตรีมากมาย เสียงของเปียโนสามารถเข้ากับเครื่องดนตรีเกือบทุกชนิด ดังนั้นเปียโนจึงสามารถเล่นได้ทั้งแบบบรรเลงเดี่ยว, แชมเบอร์, คลอเสียง หรือแม้กระทั่งร่วมกับวง ออร์เคสตรา ฝาครอบและแผ่นครอบของเปียโนอะคูสติกจะทำมาจากไม้ ในขณะที่กระดานเสียง (soundboard) จะถูกทำจากเหล็กกล้า และขึงด้วยสายโลหะ ลิ่มนิ้วของเปียโนมาตรฐานมีอยู่ทั้งหมด 88 คีย์ (คีย์ขาว 52, คีย์ดำ 36) ช่วงคีย์ปกติจะมีสายโลหะอยู่ 3 เส้นในหนึ่งคีย์ และคีย์เบสจะมีสายโลหะเส้นใหญ่อยู่ 1–2 เส้นในหนึ่งคีย์ เมื่อกดคีย์ จะเกิดเป็นเสียงโน้ตดนตรีที่มีความถี่การสั่นพ้องแตกต่างกันออกไป และเมื่อปล่อยคีย์ เสียงก็จะถูกตัด หากต้องการให้เสียงกังวานและลากยาวก็สามารถทำให้ โดยการเหยียบเพดัลขวา (คันเหยียบ) ที่อยู่บริเวณด้านล่างของเปียโนค้างไว้ กลไกการเกิดเสียงในเปียโนอะคูสติกนั้น เริ่มจากแรงจากการกดคีย์จะถูกส่งผ่านโดยกลไกที่ซับซ้อนไปยังหัวค้อน และหัวค้อนจะตีกระทบกับสายโลหะที่ขึงอยู่บนกระดานเสียงเกิดเป็นเสียงดนตรี ในระหว่างที่คีย์ถูกกดอยู่นั้น กลไกที่เรียกว่า แดมเปอร์ (damper) ของแต่ละคีย์ ซึ่งเดิมจะคอยดันสายโลหะไว้จะถูกยกออก ทำให้สายโลหะเกิดการสั่นพ้องได้ เมื่อใดก็ตามที่ปล่อยคีย์ แดมเปอร์จะกลับมาดันสายโลหะ ทำให้เสียงถูกตัดไป ดังนั้นการเหยียบเพดัลขวา จะเป็นการยกเพดัลของทุกคีย์ออก ทำให้สายโลหะเกิดการสั่นพ้องและกังวานมากขึ้นซึ่งทำให้เพลงมีความไพเราะ อย่างไรก็ตาม การเหยียบเพดัลขวาแช่ไว้ จะทำให้เสียงโน้ตดนตรีกังวานจนตีกับโน้ตดนตรีที่ตามมาทีหลัง ดังนั้นผู้บรรเลงจึงต้องทำการยกเท้าจากเพดัลเป็นจังหวะ ๆ เพื่อเป็นการตัดโน้ตดนตรีไม่ให้ข้ามห้องหรือตีกัน คำว่า เปียโน นั้น เป็นคำย่อจากคำว่า เปียโนฟอร์เต, ซึ่งเป็นภาษาอิตาลี ซึ่งเป็นการประสมคำระหว่างคำว่า เปียโน ที่แปลว่า "นุ่มนวล" กับ ฟอร์เต ที่แปลว่า "แข็งแกร่ง" ซึ่งมีที่มาจากการที่เป็ยโนนั้นมีคุณภาพเสียงที่หลากหลาย คีย์เบสที่ให้เสียงกังวานและทรงพลัง คีย์ปกติที่ให้เสียงนุ่มนวล และคีย์สูงที่ให้เสียงเล็กแหลม.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและเปียโน · ดูเพิ่มเติม »

เปียโนสี่มือ

เปียโนสี่มือ (Piano four hands) คือ การเล่นเปียโน 2 คนด้วยเปียโน 1 หลัง ซึ่งจะทำให้เพลงมีความแน่นของเสียงมากขึ้น และ ยังสนุกสนานกับเพื่อนที่เล่นอีกด้วย บทเพลงที่น่าสนใจ ได้แก่ โซนาต้าและวาริเอชั่น ของโมสาร์ท, ชูเบิร์ท วอลซ์และฮังกาเรียนแดนซ์ ของบรามส์ หมวดหมู่:เครื่องลิ่มนิ้ว.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและเปียโนสี่มือ · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Classical Musicดนตรีคลาสสิค

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »