โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

โวล์ฟกัง อะมาเดอุส โมซาร์ท

ดัชนี โวล์ฟกัง อะมาเดอุส โมซาร์ท

วล์ฟกัง อะมาเดอุส โมซาร์ท (Wolfgang Amadeus Mozart) 27 มกราคม พ.ศ. 2299 - 5 ธันวาคม พ.ศ. 2334 (ค.ศ. 1756 - 1791) เป็นนักประพันธ์ดนตรีคลาสสิกชาวออสเตรียที่มีชื่อเสียงก้องโลก โมซาร์ทเกิดที่เมืองซาลซ์บูร์ก เขามีงานประพันธ์เพลง 700 ชิ้นรวมทั้งอุปรากร (ดนตรีซึ่งมีเนื้อเรื่อง) ชื่อ ดอน โจวันนี (Don Giovanni) และ ขลุ่ยวิเศษ (Die Zauberflöte) ปัจจุบันผลงานต่าง ๆ ของเขาได้ถูกนำมาจัดจำหน่ายเป็นสื่อต่าง ๆ มากม.

70 ความสัมพันธ์: บรัสเซลส์บารอนพ.ศ. 2262พ.ศ. 2263พ.ศ. 2294พ.ศ. 2299พ.ศ. 2304พ.ศ. 2305พ.ศ. 2309พ.ศ. 2310พ.ศ. 2311พ.ศ. 2312พ.ศ. 2314พ.ศ. 2315พ.ศ. 2316พ.ศ. 2319พ.ศ. 2321พ.ศ. 2324พ.ศ. 2325พ.ศ. 2326พ.ศ. 2330พ.ศ. 2334พ.ศ. 2352พ.ศ. 2369พ.ศ. 2527พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชพิธีรับเข้าเป็นคริสต์ศาสนิกชนภาษาละตินมันไฮม์มาเรีย แอนนา โมซาร์ทมิวนิกลอนดอนลียงสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศอมาเดอุสออร์แกนอัมสเตอร์ดัมอุปรากรฮาร์ปซิคอร์ดทวีปยุโรปขลุ่ยวิเศษดอน โจวันนีดีฌงดนตรีคลาสสิกงานแต่งงานของฟิกาโรซาลซ์บูร์กซิมโฟนีประเทศออสเตรียประเทศอิตาลีประเทศเยอรมนี...ปารีสแฟรงก์เฟิร์ตแคลริเน็ตคอนแชร์โต (โมซาร์ท)โยฮันน์ เซบาสเตียน บาคโยเซฟ ไฮเดินโรมันคาทอลิกโลซานไวโอลินไอเนอไคลเนอนาคท์มูซีกเรควีเอ็มเลโอโปลด์ โมซาร์ทเวียนนาเอาคส์บวร์คเจนีวาเดอะเฮกเปียโนOgg16 ธันวาคม27 มกราคม5 ธันวาคม ขยายดัชนี (20 มากกว่า) »

บรัสเซลส์

รัสเซลส์ (Brussels), บรูว์แซล (Bruxelles) หรือ บรึสเซิล (Brussel; Brüssel) เรียกอย่างเป็นทางการว่า เขตนครหลวงบรัสเซลส์ หรือ เขตบรัสเซลส์ (All text and all but one graphic show the English name as Brussels-Capital Region.) (Région de Bruxelles-Capitale, Brussels Hoofdstedelijk Gewest) เป็นเมืองหลวงของประเทศเบลเยียม และเป็นศูนย์กลางหรือเมืองหลวงอย่างไม่เป็นทางการของสหภาพยุโรป (อียู) เขตบรัสเซลส์แบ่งการปกครองย่อยเป็นเทศบาลจำนวน 19 แห่ง รวมถึง เทศบาลนครบรัสเซลส์ (City of Brussels) ซึ่งอยู่ใจกลางเขตมีอาณาเขตเพียง 32.61 ตร.กม.

ใหม่!!: โวล์ฟกัง อะมาเดอุส โมซาร์ทและบรัสเซลส์ · ดูเพิ่มเติม »

บารอน

รอน (Baron) เป็นบรรดาศักดิ์ของขุนนางที่ใช้กันในยุโรป ซึ่งในระบบบรรดาศักดิ์ของสหราชอาณาจักร บารอน อยู่ในลำดับล่างสุดต่ำกว่าไวเคานต์ สำหรับขุนนางที่เป็นสตรี จะเรียกว่า บารอเนส (Baroness) ซึ่งเขตการปกครองในอำนาจของบารอนตามระบบเจ้าขุนมูลนาย ได้ถูกยกเลิกไปแล้วในปัจจุบันแต่ยังคงสืบตระกูลได้อยู่ ในสมัยกลาง บารอนเป็นผู้ที่ได้รับตำแหน่งการปกครองโดยตรงจากพระมหากษัตริย์เพื่อปกครองดินแดน และจะต้องส่งบรรณาการเป็นกองกำลังทหารและอัศวิน เพื่อช่วยรบในนามของกษัตริย์ ในปัจจุบัน สหราชอาณาจักรได้มีการเพิ่มบรรดาศักดิ์ที่ไม่สามารถสืบตระกูลได้ "Non-hereditary life peers" ซึ่งผู้ที่ได้รับแต่งตั้งจะอยู่ในตำแหน่ง บารอน เช่นกัน และนอกจากนี้ บารอน ยังใช้เรียกบุตรชายคนแรกที่เกิดจากบิดาที่เป็นตำแหน่ง เอิร์ล โดยอนุโลม.

ใหม่!!: โวล์ฟกัง อะมาเดอุส โมซาร์ทและบารอน · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2262

ทธศักราช 2262 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: โวล์ฟกัง อะมาเดอุส โมซาร์ทและพ.ศ. 2262 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2263

ทธศักราช 2263 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: โวล์ฟกัง อะมาเดอุส โมซาร์ทและพ.ศ. 2263 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2294

ทธศักราช 2294 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: โวล์ฟกัง อะมาเดอุส โมซาร์ทและพ.ศ. 2294 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2299

ทธศักราช 2299 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: โวล์ฟกัง อะมาเดอุส โมซาร์ทและพ.ศ. 2299 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2304

ทธศักราช 2304 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: โวล์ฟกัง อะมาเดอุส โมซาร์ทและพ.ศ. 2304 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2305

ทธศักราช 2305 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: โวล์ฟกัง อะมาเดอุส โมซาร์ทและพ.ศ. 2305 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2309

ทธศักราช 2309 ใกล้เคียงกั..

ใหม่!!: โวล์ฟกัง อะมาเดอุส โมซาร์ทและพ.ศ. 2309 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2310

ทธศักราช 2310 ตรงกับคริสต์ศักราช 1767 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินจูเลียน.

ใหม่!!: โวล์ฟกัง อะมาเดอุส โมซาร์ทและพ.ศ. 2310 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2311

ทธศักราช 2311 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: โวล์ฟกัง อะมาเดอุส โมซาร์ทและพ.ศ. 2311 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2312

ทธศักราช 2312 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1769.

ใหม่!!: โวล์ฟกัง อะมาเดอุส โมซาร์ทและพ.ศ. 2312 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2314

ทธศักราช 2314 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: โวล์ฟกัง อะมาเดอุส โมซาร์ทและพ.ศ. 2314 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2315

ทธศักราช 2315 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: โวล์ฟกัง อะมาเดอุส โมซาร์ทและพ.ศ. 2315 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2316

ทธศักราช 2316 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: โวล์ฟกัง อะมาเดอุส โมซาร์ทและพ.ศ. 2316 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2319

ทธศักราช 2319 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: โวล์ฟกัง อะมาเดอุส โมซาร์ทและพ.ศ. 2319 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2321

ทธศักราช 2321 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: โวล์ฟกัง อะมาเดอุส โมซาร์ทและพ.ศ. 2321 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2324

ทธศักราช 2324 ตรงกับคริสต์ศักราช 1781 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินจูเลียน.

ใหม่!!: โวล์ฟกัง อะมาเดอุส โมซาร์ทและพ.ศ. 2324 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2325

ทธศักราช 2325 ตรงกับคริสต์ศักราช 1782 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินจูเลียน.

ใหม่!!: โวล์ฟกัง อะมาเดอุส โมซาร์ทและพ.ศ. 2325 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2326

ทธศักราช 2326 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: โวล์ฟกัง อะมาเดอุส โมซาร์ทและพ.ศ. 2326 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2330

ทธศักราช 2330 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: โวล์ฟกัง อะมาเดอุส โมซาร์ทและพ.ศ. 2330 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2334

ทธศักราช 2334 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: โวล์ฟกัง อะมาเดอุส โมซาร์ทและพ.ศ. 2334 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2352

ทธศักราช 2352 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: โวล์ฟกัง อะมาเดอุส โมซาร์ทและพ.ศ. 2352 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2369

ทธศักราช 2369 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: โวล์ฟกัง อะมาเดอุส โมซาร์ทและพ.ศ. 2369 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2527

ทธศักราช 2527 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1984 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: โวล์ฟกัง อะมาเดอุส โมซาร์ทและพ.ศ. 2527 · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช

ระบาทสมเด็จพระปรโมรุราชามหาจักรีบรมนารถ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก (พระราชสมภพ 20 มีนาคม พ.ศ. 2279 — สวรรคต 7 กันยายน พ.ศ. 2352) เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 1 ในราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันพุธ เดือน 4 แรม 5 ค่ำ ปีมะโรงอัฐศก เวลา 3 ยาม ตรงกับวันที่ 20 มีนาคม..

ใหม่!!: โวล์ฟกัง อะมาเดอุส โมซาร์ทและพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช · ดูเพิ่มเติม »

พิธีรับเข้าเป็นคริสต์ศาสนิกชน

การให้บัพติศมาแก่ Neophytes วาดโดยมาซัชโช เมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 15 ปัจจุบันเก็บอยู่ที่ฟลอเรนซ์ พิธีรับเข้าเป็นคริสต์ศาสนิกชน (ศัพท์ประชากรศาสตร์) พิธีบัพติศมาราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พิมพ์ครั้งที่ 3, ราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 88 (ศัพท์โปรเตสแตนต์) หรือ ศีลล้างบาป (ศัพท์คาทอลิก) (Baptism มาจากภาษากรีก baptismos แปลว่า การล้าง) เป็นพิธีศักดิ์สิทธิ์ในศาสนาคริสต์ ทำขึ้นเพื่อรับ "ผู้ที่เพิ่งรับเชื่อ" เข้าเป็นสมาชิกใหม่ของคริสตจักร คัมภีร์ไบเบิลภาคพันธสัญญาใหม่ระบุว่ายอห์นผู้ให้บัพติศมาเริ่มประกอบพิธีนี้ให้สาวกของตน โดยให้ผู้รับจุ่มตัวลงในแม่น้ำลึก ถือเป็นสัญลักษณ์ของการกลับใจและรอคอยอาณาจักรสวรรค์ซึ่งกำลังจะมาถึง พระเยซูทรงรับบัพติศมาจากยอห์นในครั้งนั้นด้วย จากนั้นจึงเริ่มปฏิบัติพระภารกิจของพระองค์ ต่อมาในศาสนาคริสต์ยุคแรก ผู้ให้บัพติศมาจะให้ผู้รับเปลือยกายลงแช่ในแม่น้ำ ซึ่งมีทั้งแบบให้จุ่มทั้งตัว ยืน หรือคุกเข่าในน้ำ แล้ว "ผู้ให้บัพติศมา" จะตักน้ำรดลงบน "ผู้รับบัพติศมา" ในปัจจุบันบางคริสตจักรยังรักษาวิธีการแบบเดิม บางคริสตจักรก็ใช้วิธีเทน้ำรดลงบนหน้าผากของผู้รับสามครั้ง การเป็นมรณสักขีในศาสนาคริสต์ก็ถือว่าเป็นการรับบัพติศมาด้วย เรียกว่า "พิธีบัพติศมาด้วยเลือด" เชื่อว่ามรณสักขีนั้นได้รับความรอดแล้วแม้จะยังไม่ได้รับบัพติศมาด้วยน้ำก็ตาม คริสตจักรโรมันคาทอลิกปัจจุบันรับรอง "พิธีบัพติศมาแห่งความปรารถนา" ซึ่งหมายถึงความตั้งใจจะรับบัพติศมาแต่เสียชีวิตเสียก่อนเข้าพิธี ก็ถือว่าได้รับความรอดแล้ว คริสต์ศาสนิกชนบางนิกายประกอบพิธีบัพติศมาแก่ทารกด้วย เพราะเชื่อว่าบัพติศมาเป็นทางแห่งความรอด จนเมื่อฮุลดริช ซวิงลี นักเทววิทยาศาสนาคริสต์สมัยคริสต์ศตวรรษที่ 16 กล่าวว่าพิธีนี้ไม่จำเป็น คริสตจักรแบปทิสต์จึงประกอบพิธีบัพติศมาแก่ผู้เชื่อเองเท่านั้น ทุกวันนี้คริสต์ศาสนิกชนหลายกลุ่ม โดยเฉพาะเควเกอร์และแซลเวชันอาร์มีถือว่าพิธีนี้ไม่จำเป็นและไม่ประกอบพิธีนี้เลย แต่กลุ่มที่ยังมีพิธีนี้อยู่ก็มีรูปแบบพิธีแตกต่างกันไป ส่วนมากรับบัพติศมา "ในพระนามของพระบิดา พระบุตร และพระวิญญาณบริสุทธิ์" (โปรเตสแตนต์) หรือ "เดชะพระนามพระบิดา พระบุตร และพระจิต" (คาทอลิก) โดยถือตามพระมหาบัญชาก่อนการเสด็จขึ้นสวรรค์ของพระเยซู.

ใหม่!!: โวล์ฟกัง อะมาเดอุส โมซาร์ทและพิธีรับเข้าเป็นคริสต์ศาสนิกชน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาละติน

ษาละติน (Latin) เป็นภาษาโบราณในภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียน มีต้นกำเนิดในที่ราบลาติอุม (Latium) ซึ่งเป็นพื้นที่รอบๆกรุงโรม และได้ชื่อว่าเป็นภาษาทางการในการสื่อสารของจักรวรรดิโรมัน ต่อมาภาษาละตินได้ถูกกำหนดให้เป็นภาษาสื่อสารและในพิธีสวดของศาสนจักรโรมันคาทอลิก และยังเป็นภาษาที่ใช้โดยนักวิทยาศาสตร์ นักปรัชญา และนักเทววิทยาของยุโรป ตั้งแต่ตลอดยุคกลางจนมาถึงยุคสมัยใหม่ ภาษาละตินจึงเป็นภาษาต้นฉบับของงานเขียนที่ทรงคุณค่าทั้งทางประวัติศาสตร์ และทางวรรณกรรมเป็นจำนวนมาก ภาษาอังกฤษได้รับคำในภาษาละตินเข้ามาในภาษาตนเป็นจำนวนมาก เนื่องจากอิทธิพลของเจ้าปกครองชาวแองโกล-นอร์มัน ซึ่งใช้ภาษาฝรั่งเศส นอกจากนี้คำศัพท์ที่ใช้ในสาขาวิทยาศาสตร์และการแพทย์ ล้วนเป็นคำศัพท์ภาษาละตินหรือสร้างจากภาษาละติน ภาษาละตินเป็นภาษามีวิภัติปัจจัย (การผันคำ) มีการก 7 การก (case), มีเพศ 3 เพศ, และมีพจน์ 2 พจน์ ภาษาอื่น ๆ อีกหลายภาษาที่ใช้ในปัจจุบัน พัฒนาสืบต่อมาจากภาษาละตินพื้นบ้าน ซึ่งจะเรียกกลุ่มภาษาเหล่านี้ว่า ภาษากลุ่มโรมานซ์ ภาษาที่อยู่ในกลุ่มภาษาโรมานซ์ที่สำคัญได้แก่ ภาษาฝรั่งเศส ภาษาโรมาเนีย ภาษาอิตาลี ภาษาโปรตุเกส และภาษาสเปน ภาษาส่วนใหญ่ในภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียนก็มีความสัมพันธ์บางอย่างกับภาษาละติน แม้ภาษาละตินในปัจจุบัน จะมีผู้ใช้น้อยมากจนถูกนับว่าเกือบเป็นภาษาสูญแล้ว แต่การศึกษาภาษาละตินในโรงเรียนและในมหาวิทยาลัยก็ยังคงมีอยู่อย่างแพร่หลาย นอกจากนี้อักษรละติน (ที่พัฒนามาจากอักษรกรีก) ยังคงมีใช้ในหลายภาษา และเป็นอักษรที่ใช้มากที่สุดในโลก.

ใหม่!!: โวล์ฟกัง อะมาเดอุส โมซาร์ทและภาษาละติน · ดูเพิ่มเติม »

มันไฮม์

มันไฮม์ (Mannheim) เป็นเมืองทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศเยอรมนี มีประชากรราว 315,000 คน เป็นเมืองใหญ่เป็นอันดับ 2 ของรัฐบาเดิน-เวือร์ทเทมแบร์ก รองจากเมืองหลวงของรัฐ เมืองชตุทท์การ์ท เมืองตั้งอยู่บนฝั่งแม่น้ำไรน์ที่จุดบรรจบกับแม่น้ำเนคคาร์ ตรงมุมทิศตะวันตกเฉียงเหนือของรัฐบาเดิน-เวือร์ทเทมแบร์ก หมวดหมู่:เมืองในประเทศเยอรมนี หมวดหมู่:รัฐบาเดิน-เวือร์ทเทมแบร์ก‎.

ใหม่!!: โวล์ฟกัง อะมาเดอุส โมซาร์ทและมันไฮม์ · ดูเพิ่มเติม »

มาเรีย แอนนา โมซาร์ท

มาเรีย แอนนา โมซาร์ท (Maria Anna Walburga Ignatia Mozart) (30 มิถุนายน 1751 – 29 ตุลาคม 1829) หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งว่ามารีอานนา ชื่อเล่นชื่อ"แนนเนิร์ล" เป็นนักดนตรีผู้เป็นพี่สาวของโวล์ฟกัง อะมาเดอุส โมซาร์ท และเป็นบุตรสาวของเลโอโปลด์ โมซาร์ทและอันนา มาเรีย แพร์ท.

ใหม่!!: โวล์ฟกัง อะมาเดอุส โมซาร์ทและมาเรีย แอนนา โมซาร์ท · ดูเพิ่มเติม »

มิวนิก

มิวนิก (Munich) หรือในภาษาเยอรมันว่า มึนเชิน (München) เป็นเมืองที่อยู่ทางใต้ของประเทศเยอรมนี และเป็นเมืองหลวงของรัฐบาวาเรีย ถือเป็นเมืองที่ใหญ่เป็นอันดับสามของประเทศรองจากเบอร์ลินและฮัมบวร์ค และเป็นหนึ่งในเมืองมั่งคั่งที่สุดของยุโรปตัวเมืองมีประชากร 1.3 ล้านคน และ 2.7 ล้านคนในเขตเมือง ตัวเมืองตั้งอยู่บนแม่น้ำอีซาร์ เหนือเทือกเขาแอลป์ มิวนิกเป็นเมืองที่มีเศรษฐกิจเข้มแข็งที่สุดในประเทศเยอรมนี โครงการริเริ่ม “Neue Soziale Marktwirtschaft (INSM)” (เศรษฐกิจตลาดสังคมใหม่) และนิตยสาร “Wirtschafts Woche” (ธุรกิจรายสัปดาห์) ให้คะแนนมิวนิกสูงที่สุดในการสำรวจเปรียบเทียบ ในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2549 (เป็นครั้งที่สาม) มิวนิกยังเป็นอันดับหนึ่งในการจัดอันดับโดยนิตยสาร “Capital” ในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 ที่จัดอันดับแนวโน้มเศรษฐกิจระหว่าง..

ใหม่!!: โวล์ฟกัง อะมาเดอุส โมซาร์ทและมิวนิก · ดูเพิ่มเติม »

ลอนดอน

ลอนดอน (London, ลันเดิน) เป็นเมืองหลวงของประเทศอังกฤษ และสหราชอาณาจักร และเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดของสหภาพยุโรป เป็นเมืองที่มีศูนย์กลางทางธุรกิจที่ใหญ่ที่สุดในโลก ลอนดอนเป็นหนึ่งในศูนย์กลางสำคัญทางธุรกิจ การเมือง วัฒนธรรม และประวัติศาสตร์ของโลก เป็นผู้นำด้านการเงิน การเมือง การสื่อสาร การบันเทิง แฟชั่น และศิลปะ ในอดีตเป็นเมืองหลวงของโลก เป็นเมืองที่เจริญที่สุดในโลก ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน เป็นเมืองที่มีอิทธิพลไปทั่วโลก ถือกันว่าเป็นเมืองสากลหลักของโลก จีดีพีของลอนดอน คิดเป็นร้อยละ 19.5 ของสหราชอาณาจักร ลอนดอนมีประชากรประมาณ 7.5 ล้านคน (ข้อมูลเมื่อปี พ.ศ. 2549) และประมาณ 12 - 14 ล้านคนถ้ารวมนครหลวงลอนดอนและปริมณฑล ลอนดอนเป็นเมืองที่ประกอบด้วยหลายชนชาติอย่างมาก ประชากรมีความหลากหลายทั้งด้านเชื้อชาติ วัฒนธรรม ศาสนา และภาษา ซึ่งประมาณว่ามีมากกว่า 300 ภาษา เราเรียกชาวลอนดอนว่า ลอนดอนเนอร์ (Londoner) ลอนดอนเป็นศูนย์กลางการคมนาคมในระดับนานาชาติ และเป็นเมืองท่องเที่ยวสำคัญของทวีปยุโรป โดยสนามบินที่ใหญ่ที่สุดในลอนดอน คือ ท่าอากาศยานนานาชาติฮีทโธรว.

ใหม่!!: โวล์ฟกัง อะมาเดอุส โมซาร์ทและลอนดอน · ดูเพิ่มเติม »

ลียง

ลียง (Lyon) เป็นเมืองอยู่ทางตะวันออกตอนกลางของประเทศฝรั่งเศส เป็นเมืองหลวงของจังหวัดโรน และเมืองหลวงของแคว้นโอแวร์ญ-โรนาลป์ ตั้งอยู่ระหว่างปารีสกับมาร์แซย์ โดยอยู่ห่างจากปารีส 470 กิโลเมตร, ห่างจากมาร์แซย์ 320 กิโลเมตร, ห่างจากเจนีวา 160 กิโลเมตร, ห่างจากตูริน 280 กิโลเมตร และห่างจากมิลาน 450 กิโลเมตร ประชากรเมืองลียงมีชื่อว่า ลียงเน่ส์ ลียงเป็นเมืองสำคัญทางธุรกิจ มีประชากร 472,305 คน เป็นเมืองใหญ่อันดับสามของฝรั่งเศสรองจากปารีสและมาร์แซย์ ลียงมีชื่อเสียงในด้านของสถาปัตยกรรมและสถานที่ต่างๆทางประวัติศาสตร์โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเรื่องการทอผ้าไหมโบราณ และได้รับขึ้นทะเบียนมรดกโลกโดยองค์การยูเนสโกเมื่อปี 1998 ในคริสศรรษวรรษที่ 20 ลียงมีชื่อเสียงอย่างมากในด้านอาหารจนกลายเป็นศูนย์กลางทางโภชนาการที่สำคัญแห่งหนึ่งของประเทศ ลียงยังมีส่วนสำคัญกับประวัติศาสตร์ภาพยนตร์ โดยเป็นบ้านเกิดของพี่น้องลูมิแยร์ (โอกุสต์ ลูมิแยร์ และหลุยส์ ลูแมร์) ผู้ประดิษฐ์เครื่องฉายภาพยนตร์ในลียง ทุกวันที่ 8 ธันวาคมของทุกปีจะมีเทศการ Fête des Lumières หรือเทศกาลแห่งแสงสว่าง โดยจะจัดขึ้นเป็นเวลา 4 วัน ทำให้ลียงได้รับการขนานนามว่าเป็น เมืองหลวงแห่งแสงสว่าง ในด้านเศรษฐกิจ ลียงเป็นศูนย์กลางขนาดใหญ่ของการธนาคาร อุตสาหกรรมเคมี ยาปฏิชีวนะและอุตสาหกรรมชีวภาพต่างๆ ลียงยังมีอุตสาหกรรมด้านซอฟแวร์ซึ่งมุ่งเน้นไปทางด้านวิดีโอเกมส์โดยเฉพาะ ในเมืองยังเป็นที่ตั้งของสำนักงานใญ่ของ Interpol Euronews และ International Agency of Research on Cancer โดยลียงเป็นเมืองที่ได้รับการจัดอันดับ (โดย Mercer) คุณภาพชีวิตประชากรอยู่ที่อันดับ 39 ของโลก (2015).

ใหม่!!: โวล์ฟกัง อะมาเดอุส โมซาร์ทและลียง · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ

มเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ หรือ พระมหาธรรมราชา เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 31 แห่งอาณาจักรอยุธยา และเป็นพระองค์ที่ 4 ในราชวงศ์บ้านพลูหลวง.

ใหม่!!: โวล์ฟกัง อะมาเดอุส โมซาร์ทและสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ · ดูเพิ่มเติม »

อมาเดอุส

อมาเดอุส (Amadeus) เป็นภาพยนตร์ปี 1984 แนวพีเรียด ดราม่า กำกับโดย มีลอส ฟอร์แมน เขียนโดย ปีเตอร์ แชฟเฟอร์ ดัดแปลงมาจากบทละครเวทีเรื่อง มาเดอุส (1979) ของปีเตอร์ แชฟเฟอร์, รูปแบบของ อเล็กซานเดอร์ พุชกิน เรื่อง Mozart i Salieri (Моцарт и Сальери, 1830) ซึ่งการแต่งเพลงของ อันโตนีโอ ซาลิเอรี ได้รับรู้ความเป็นอัจฉริยะของ โวล์ฟกัง อะมาเดอุส โมซาร์ท แต่ก็อัดอั้นมาจากความภูมิใจและริษยา เรื่องนี้ตั้งอยู่ในเวียนนา, ออสเตรีย ในช่วงครึ่งหลังของศตวรรษที่ 18.

ใหม่!!: โวล์ฟกัง อะมาเดอุส โมซาร์ทและอมาเดอุส · ดูเพิ่มเติม »

ออร์แกน

ออร์แกน (Organ, กรีก: ὄργανον ออร์กานอน) เป็นเครื่องดนตรีสากล ออร์แกนมีประวัติในการประดิษฐ์ที่ยาวนานมาตั้งแต่สมัยโรมัน และมีความสำคัญควบคู่มากับศาสนาคริสต์เลยทีเดียว คำว่า Organ นั้น ก็มาจากภาษาละติน Organum ซึ่งเป็นชื่อที่ใช้เรียกเครื่องดนตรีชนิดหนึ่ง ที่มีชื่อว่า Hydraulis ต้นกำเนิดเสียงของออร์แกนมาจากลม ซึ่งมีแหล่งกำเนิดหลายวิธีซึ่งในสมัยโบราณก็ต้องใช้แรงคนในการผลิตลม เมื่อลมถูกบังคับให้ไหลผ่านท่อที่มีขนาดต่างๆกันก็จะเกิดเสียงที่มีความถี่แตกต่างกัน ท่อที่ใช้ในการสร้างออร์แกนนั้น อาจจะเป็นไม้ หรือโลหะ ก็ได้ ซึ่งจะส่งผลให้มีเสียงที่แตกต่างกัน และออร์แกนหนึ่งเครื่อง สามารถทำเสียงต่าง ๆ ได้เท่า ๆ กับเครื่องดนตรีหลายชิ้นมารวมกัน ดังนั้น ออร์แกนจึงสามารถเล่นได้ทั้งแนวทำนอง และแนวเดินเบส โดยไม่ต้องพึ่งพาเครื่องดนตรีอื่นใด ดังนั้น ในสมัยก่อนนั้น ออร์แกนจึงถือเป็นเครื่องดนตรีที่มีประสิทธิภาพสูงที่สุดในบรรดาเครื่องดนตรีทั้งปวง ออร์แกนได้รับฉายาว่าเป็นราชาแห่งเครื่องดนตรีตะวันตก เนื่องจากมีความซับซ้อนในการประดิษฐ์ และขนาดที่ใหญ่ ออร์แกนที่ใหญ่ที่สุดในโลกอยู่ที่ แอตแลนติกซิตีคอนเวนชันฮอล ที่เมืองแอตแลนติกซิตี รัฐนิวเจอร์ซีย์ สหรัฐอเมริกา ซี่งมีจำนวนไปป์ถึง 33,000 ไปป์ หมวดหมู่:เครื่องลิ่มนิ้ว หมวดหมู่:เครื่องลม หมวดหมู่:ออร์แกน.

ใหม่!!: โวล์ฟกัง อะมาเดอุส โมซาร์ทและออร์แกน · ดูเพิ่มเติม »

อัมสเตอร์ดัม

อัมสเตอร์ดัม (Amsterdam) เป็นเมืองหลวงของประเทศเนเธอร์แลนด์ ตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น้ำอัมสเติล (Amstel) เริ่มก่อตั้งประมาณคริสต์ศตวรรษที่ 12 ปัจจุบันเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดของเนเธอร์แลนด์ มีประชากรในเขตตัวเมืองประมาณ 742,000 คน แต่ถ้านับรวมประชากรในเขตเมืองโดยรอบทั้งหมด จะมีประมาณ 1.5 ล้านคน (ข้อมูลปี ค.ศ. 2005) อัมสเตอร์ดัมเป็นเมืองศูนย์กลางทางประวัติศาสตร์ที่สำคัญแห่งหนึ่งของทวีปยุโรป โดยเฉพาะช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 17 ซึ่งเป็นช่วงยุคทองของเนเธอร์แลนด์ ถึงแม้อัมสเตอร์ดัมจะเป็นเมืองหลวงของประเทศ แต่ศูนย์กลางของหน่วยงานรัฐบาลนั้นอยู่ที่เฮก.

ใหม่!!: โวล์ฟกัง อะมาเดอุส โมซาร์ทและอัมสเตอร์ดัม · ดูเพิ่มเติม »

อุปรากร

รงอุปรากรซิดนีย์ในประเทศออสเตรเลีย เป็นโรงอุปรากรที่มีชื่อเสียงที่สุดแห่งหนึ่งของโลก อุปรากร (opera) เป็นศิลปะการแสดงบนเวทีชนิดหนึ่ง โดยมีลักษณะเป็นแบบละครที่ดำเนินเรื่องโดยใช้ดนตรีเป็นหลักหรือทั้งหมด อุปรากรถือเป็นส่วนหนึ่งของดนตรีคลาสสิก ตะวันตก มีความใกล้เคียงกับละครเวทีในเรื่องฉาก การแสดง และเครื่องแต่งกาย แต่สิ่งสำคัญที่แยกอุปรากรออกจากละครเวทีทั่วไป คือ ความสำคัญของเพลง ดนตรีที่ประกอบการร้อง ซึ่งอาจมีตั้งแต่วงดนตรีขนาดเล็กจนไปถึงวงออร์เคสตราขนาดใหญ.

ใหม่!!: โวล์ฟกัง อะมาเดอุส โมซาร์ทและอุปรากร · ดูเพิ่มเติม »

ฮาร์ปซิคอร์ด

Clavecin fait par Dumont ฮาร์ปซิคอร์ด เป็นเครื่องดนตรีตะวันตก ในยุคบาโรค ประเภทเครื่องดีด โดยมีการพัฒนามาจากเครื่องดนตรีประเภทพิณ และกีตาร์ กลไกการเกิดเสียงจะใช้การเกี่ยวดึงสายโลหะซึ่งมีขนาด และความยาวแตกต่างกันเพื่อให้ได้เสียงความถี่ต่างๆ การเล่นเครื่องดนตรีนี้จะใช้ คีย์บอร์ด (Keyboard) ในการสร้างกลไกในการดึงสาย โดยผู้เล่นสามารถเลือกกดบนแป้นคีย์บอร์ด ซึ่งจะคล้ายคลึงกับการเล่น เปียโน (Piano) แต่จะมีคีย์บอร์ดสองชั้น เหมือน ออร์แกน (Organ) ผู้เล่นไม่สามารถปรับความดังของเสียงได้ด้วยน้ำหนักของการกดคีย์บอร์ด แต่สามารถใช้กลไกอื่นช่วยในการสร้างความแตกต่างของคุณภาพเสียง (Acrustic Quality) ในยุคบาโรคมีการเล่นเครื่องดนตรีนี้อย่างแพร่หลายในบทเพลงประเภทเดี่ยว และวง สำหรับประเภทเดี่ยวได้มีผู้ประพันธ์เพลงที่มีบทบาทสำคัญได้แก่ บาค แฮนเดล สกาลัตตี คูโน แต่งเพลงไว้มากมาย โดยเฉพาะสกาลัตตีได้แต่เพลงประเภท โซนาตา ไว้เป็นจำนวนมาก และเป็นบทเพลงที่มีความซับซ้อนในด้านเทคนิคการเล่นอย่างสูง สำหรับประเภทวง เครื่องดนตรีนี้สามารถเล่นร่วมกับเครื่องดนตรีอื่นๆได้ วงออเครสตราในยุคนั้นได้กำหนดให้มีการเล่นดนตรีประเภท บาสโซคอนทินิวโอ (Basso Continuo) ไม่ได้เฉพาะเครื่องดนตรีเบสอย่างเดียว แต่ได้มีการใส่สัญลักษณ์เป็นตัวเลขเอาไว้เพื่อให้ฮาร์ปซิคอร์ดเล่นประกอบด้วย ถ้าจะเปรียบเทียบกับการเล่นดนตรีในปัจจุบันแล้ว ฮาร์ปซิคอร์ดเป็นเหมือนกับกลองชุด ซึ่งเป็นตัวกำหนดจังหวะของผู้เล่นเครื่องดนตรีอื่น และที่สำคัญที่สุด ผู้อำนวยเพลง (Conductor) ในสมัยบาโรค ก็มักจะประจำที่ฮาร์ปซิคอร์ดด้วย ตัวอย่างเพลงที่สำคัญของเครื่องดนตรีนี้ได้แก่ บทเพลงประเภท ออเครสตราสวิท (Orchestra Suite) ของบาค และ เฮนเดล บราเดนบวกคอนแซโต (Brandenburg Concerto) โดยเฉพาะหมายเลขห้า มีความพิเศษที่บาคนำฮาร์ปซิคอร์ดมาเป็นเครื่องดนตรีโซโลเพื่อฉลองให้กับฮาร์ปซิคอร์ดตัวใหม่ของเขาด้วย ในปัจจุบันก็ยังมีการเล่นฮาร์ปซิคอร์ดกันอยู่เมื่อมีการเล่นดนตรีบาโรคเพราะเสียงที่เป็นเอกลักษณ์ และเทคนิคการเล่นที่ไม่สามารถหาเครื่องดนตรีอื่นมาทดแทนได้.

ใหม่!!: โวล์ฟกัง อะมาเดอุส โมซาร์ทและฮาร์ปซิคอร์ด · ดูเพิ่มเติม »

ทวีปยุโรป

ทวีปยุโรป (อ่านว่า "ยุ-โหฺรบ") มีฐานะเป็นทวีปทั้งในแง่ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม ในทางภูมิศาสตร์ ยุโรปเป็นอนุทวีปที่อยู่ทางด้านตะวันตกของมหาทวีปยูเรเชีย ยุโรปมีพรมแดนทางเหนือติดกับมหาสมุทรอาร์กติก ทางตะวันตกติดกับมหาสมุทรแอตแลนติก ทางใต้ติดกับทะเลเมดิเตอร์เรเนียนและทะเลดำ ด้านตะวันออกติดกับเทือกเขายูรัลและทะเลแคสเปียน "Europe" (pp. 68-9); "Asia" (pp. 90-1): "A commonly accepted division between Asia and Europe...

ใหม่!!: โวล์ฟกัง อะมาเดอุส โมซาร์ทและทวีปยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

ขลุ่ยวิเศษ

ลุ่ยวิเศษ (Die Zauberflöte, The Magic Flute) เป็นอุปรากรสององค์ที่เขียนโดยโวล์ฟกัง อะมาเดอุส โมซาร์ทผู้เป็นคีตกวีคนสำคัญของคริสต์ศตวรรษที่ 18 ในปี ค.ศ. 1791 จากเนื้อร้องที่เขียนโดยเอมานูเอล ชิคาเนเดอร์ “ขลุ่ยวิเศษ” เป็นอุปรากรแบบที่เรียกว่า ละครผสมเพลง (Singspiel) ซึ่งเป็นลักษณะที่นิยมกันที่มีทั้งบทร้องและบทพู.

ใหม่!!: โวล์ฟกัง อะมาเดอุส โมซาร์ทและขลุ่ยวิเศษ · ดูเพิ่มเติม »

ดอน โจวันนี

ปอนเต้ ดอน โจวานนี (Don Giovanni, KV 527) เป็นอุปรากรตะวันตกซึ่งประพันธ์บทโดย ลอเร็นโซ ดาปอนเต้ (Lorenzo da Ponte) เป็นภาษาอิตาเลียน และประพันธ์ดนตรีโดย โวล์ฟกัง อะมาเดอุส โมตสาร์ต (Wolfgang Amadeus Mozart) ดอนโจวานนี เป็นอุปรากรตลกที่แฝงไปด้วยความมืดโดยมีทั้งหมดสององก์และเปิดแสดงครั้งแรกที่กรุงปรากใน..

ใหม่!!: โวล์ฟกัง อะมาเดอุส โมซาร์ทและดอน โจวันนี · ดูเพิ่มเติม »

ดีฌง

ีฌง (Dijon) เป็นเมืองหลวงของจังหวัดโกต-ดอร์ในแคว้นบูร์กอญในประเทศฝรั่งเศส เมืองดีฌงเป็นอดีตเมืองของจังหวัดเบอร์กันดี ดีฌงเป็นที่ตั้งของมหาวิหารดีฌง ซึ่งเป็นหนึ่งในสถานที่สำคัญทางประวัติศาสตร์ ที่มีการผสมผสานของสถาปัตยกรรรมยุโรปอย่างหลากหลายในรอบหนึ่งพันปี ตั้งแต่สถาปัตยกรรมแบบกาเปเซียง สถาปัตยกรรมกอธิก และมาถึงยุคเรอเนสซองส์ และตัวอาคารบ้านเรือนในเขตเมืองปัจจุบันยังมีอายุราวช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 18 หรือก่อนหน้านั้น สถาปัตยกรรมที่โดดเด่นแบบดิฌง ได้แก่ หลังคาเบอร์กันดี ที่ผลิตแผ่นหลังคาจากดินเผาเคลือบ หรือ แทร์ราคอตตา (terracotta) อันมีสีสันฉูดฉาด เช่น เขียว เหลือง ดำ ที่จัดเรียงบนหลังคาอย่างสวยงามตามแบบเรขาคณิต ประวัติศาสตร์ของดีฌงเริ่มจากการตั้งรกรากของชาวโรมันยุคโบราณ โดยชื่อเมืองว่า ดีวีโอ (Divio) ตั้งอยู่ระหว่างเส้นทางไปเมืองลียง และปารีส นอกจากนั้นยังเป็นที่ตั้งสำคัญของอาณาเขตปกครองของดยุคแห่งเบอร์กันดีในระหว่างช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 11 จนถึงช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 15 โดยในช่วงนั้นมีความเจริญรุ่งเรืองถึงขีดสุด และเป็นอาณาจักรที่มั่งคั่งทางเศรษฐกิจ ศิลปวัฒนธรรม การเรียนรู้ และวิทยาศาสตร์ ในปัจจุบันดิฌงมีจำนวนประชากร 151,576 คน (สำรวจเมื่อค.ศ. 2008) และ 250,516 คน รวมประชากรในเขตปริมณฑลด้วย (สำรวจเมื่อค.ศ. 2007) ดีฌง ยังเป็นแหล่งจัดงานอาหารนานาชาติประจำปี International and Gastronomic Fair ช่วงฤดูใบไม้ร่วงของแต่ละปี โดยถือเป็นหนึ่งในสิบงานที่สำคัญที่สุดในประเทศฝรั่งเศส โดยมีผู้จัดงานกว่า 500 ราย และผู้เข้าชมกว่า 200,000 รายในแต่ละปี นอกจากนี้ยังเป็นสถานที่จัดเทศกาลดอกไม้นานาชาติ Florissimo ทุกๆ 3 ปี.

ใหม่!!: โวล์ฟกัง อะมาเดอุส โมซาร์ทและดีฌง · ดูเพิ่มเติม »

ดนตรีคลาสสิก

วงซิมโฟนีออเคสตรา ดนตรีคลาสสิก (Classical music) เป็นรูปแบบหนึ่งของดนตรี ซึ่งมักจะหมายถึงดนตรีที่เป็นศิลปะของตะวันตก การแสดงดนตรีคลาสสิกจะใช้เครื่องดนตรี 4 กลุ่ม กลุ่มแรก คือ เครื่องสาย (String) แบ่งออกเป็น ไวโอลิน วิโอลา เชลโล และดับเบิลเบส กลุ่มที่สอง คือ เครื่องลมไม้ (Woodwind) เช่น ฟลูต คลาริเน็ต โอโบ บาสซูน ปิคโคโล กลุ่มที่สาม คือ เครื่องลมทองเหลือง (Brass) เช่น ทรัมเป็ต ทรอมโบน ทูบา เฟรนช์ฮอร์น กลุ่มที่สี่ คือ เครื่องกระทบ (Percussion) เช่น กลองทิมปานี ฉาบ กลองใหญ่ (Bass Drum) กิ๋ง (Triangle) เมื่อเล่นรวมกันเป็นวงเรียกว่าวงดุริยางค์หรือ ออร์เคสตรา (Orchestra) ซึ่งมีผู้อำนวยเพลง (conductor) เป็นผู้ควบคุมวง.

ใหม่!!: โวล์ฟกัง อะมาเดอุส โมซาร์ทและดนตรีคลาสสิก · ดูเพิ่มเติม »

งานแต่งงานของฟิกาโร

งานแต่งงานของฟิกาโร (Le nozze di Figaro, ossia la folle giornata, The Marriage of Figaro หรือ the Day of Madness) เป็นอุปรากรชวนขันสี่องก์ที่เขียนเป็นภาษาอิตาลีโดยโวล์ฟกัง อะมาเดอุส โมซาร์ทผู้เป็นคีตกวีอุปรากรคนสำคัญของคริสต์ศตวรรษที่ 18 โมซาร์ทเขียน “งานแต่งงานของฟิกาโร” จากเนื้อร้องภาษาอิตาลีที่เขียนโดยลอเรนโซ ดา พอนเตที่มาจากละครเวทีชวนขันโดยชาวฝรั่งเศสปิแยร์ โบมาร์เชส์ชื่อ “La folle journée, ou le Mariage de Figaro” (ค.ศ. 1784) แม้ว่าบทละครของโบมาร์เชส์จะถูกห้ามเล่นในกรุงเวียนนา เพราะมีเนื้อหาเสียดสีชนชั้นเจ้านาย ซึ่งถือว่าเป็นสร้างความไม่มั่นคงให้แก่รัฐบาลในช่วงสิบปีก่อนที่จะเกิดการปฏิวัติฝรั่งเศส แต่อุปรากรที่โมซาร์ทเขียนกลายเป็นงานชิ้นที่เป็นที่นิยมที่สุดของโมซาร์ท โดยเฉพาะโอเวอร์เชอร์ที่มีชื่อเสียงที่มักจะนำมาเล่นเป็นดนตรีคอนเสิร์ต เนื้อหาของโอเวอร์เชอร์มิได้นำมาใช้ในการสร้างงานต่อมา นอกไปจากวลีสั้นสองวลีในบทของเคานท์ Cosa sento! ในองก์ที่ 1 “งานแต่งงานของฟิกาโร” เปิดแสดงเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม ค.ศ. 1786 ที่กรุงเวียนนา ออสเตรี.

ใหม่!!: โวล์ฟกัง อะมาเดอุส โมซาร์ทและงานแต่งงานของฟิกาโร · ดูเพิ่มเติม »

ซาลซ์บูร์ก

ซาลซ์บูร์ก (Salzburg) เป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดลำดับที่ 4 ในประเทศออสเตรีย และเป็นเมืองหลวงของรัฐซาลซ์บูร์ก เมืองเก่าของซาลซ์บูร์กและสถาปัตยกรรมบาโรกเป็นหนึ่งในใจกลางเมืองที่ถูกดูแลรักษาอย่างดีที่สุดในกลุ่มประเทศที่พูดภาษาเยอรมันด้วยกัน และได้รับการยูเนสโกขึ้นทะเบียนให้เป็นมรดกโลก ในปี พ.ศ. 2540 ซาลซ์บูร์กเป็นที่จดจำกันในฐานะที่ตั้งอยู่บนเทือกเขาแอลป์ ซาลซ์บูร์กเป็นบ้านเกิดของโวล์ฟกัง อะมาเดอุส โมซาร์ท และเป็นฉากของภาพยนตร์เพลง มนต์รักเพลงสวรรค์ (The Sound of Music) หมวดหมู่:เมืองในประเทศออสเตรีย หมวดหมู่:มรดกโลกในประเทศออสเตรีย หมวดหมู่:มรดกโลกทางวัฒนธรรม หมวดหมู่:ซาลซ์บูร์ก.

ใหม่!!: โวล์ฟกัง อะมาเดอุส โมซาร์ทและซาลซ์บูร์ก · ดูเพิ่มเติม »

ซิมโฟนี

ซิมโฟนี (Symphony) เป็นดนตรีประเภทหนึ่ง เป็นดนตรีประกอบเพิ่มเติมในดนตรีคลาสสิกตะวันตก ซึ่งต้องบรรเลงเกือบตลอดเวลาสำหรับวงดนตรี ซิมโฟนีมักจะมีเครื่องดนตรีอย่างน้อยหนึ่งชนิดมาประกอบด้วยตามหลักการโซนาตา วงดนตรีที่บรรเลงดนตรีแบบซิมโฟนีนั้นเรียกว่า วงซิมโฟนี ออร์เคสตรา ซึ่งในวงจะประกอบไปด้วยเครื่องดนตรีครบทั้งสี่ชนิด ตัวอย่างเพลงซิมโฟนี หมวดหมู่:ดนตรีคลาสสิก.

ใหม่!!: โวล์ฟกัง อะมาเดอุส โมซาร์ทและซิมโฟนี · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศออสเตรีย

ออสเตรีย (Austria; Österreich เออสฺตะไรฌ) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐออสเตรีย (Republic of Austria; Republik Österreich) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลในยุโรปกลาง มีอาณาเขตทางเหนือจรดประเทศเยอรมนีและเช็กเกีย ทางตะวันออกจรดสโลวาเกียและฮังการี ทางใต้จรดสโลวีเนียและอิตาลี และทางตะวันตกจรดสวิตเซอร์แลนด์และลิกเตนสไตน์ มีการปกครองแบบประชาธิปไตยแบบมีผู้แทนภายใต้หลักการของรั.

ใหม่!!: โวล์ฟกัง อะมาเดอุส โมซาร์ทและประเทศออสเตรีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอิตาลี

อิตาลี (Italy; Italia อิตาเลีย) มีชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐอิตาลี (Italian Republic; Repubblica italiana) เป็นประเทศในทวีปยุโรป บริเวณยุโรปใต้ ตั้งอยู่ในคาบสมุทรอิตาลีที่มีรูปทรงคล้ายรองเท้าบูต และมีเกาะ 2 เกาะใหญ่ในทะเลเมดิเตอร์เรเนียน คือ เกาะซิซิลีและเกาะซาร์ดิเนีย และพรมแดนตอนเหนือแบ่งประเทศโดยเทือกเขาแอลป์ กับประเทศฝรั่งเศส สวิตเซอร์แลนด์ ออสเตรีย และสโลวีเนีย ประเทศอิตาลีเป็นประเทศสมาชิกก่อตั้งของสหภาพยุโรป เป็นสมาชิกองค์การสหประชาชาติ นาโต และกลุ่มจี 8 มีประเทศอิสระ 2 ประเทศ คือ ซานมารีโนและนครรัฐวาติกัน เป็นดินแดนที่ล้อมรอบไปด้วยพื้นที่ของอิตาลี ในขณะที่เมืองกัมปีโอเนดีตาเลีย เป็นดินแดนส่วนแยกของอิตาลีที่ถูกล้อมรอบด้วยพื้นที่ประเทศสวิตเซอร์แลน.

ใหม่!!: โวล์ฟกัง อะมาเดอุส โมซาร์ทและประเทศอิตาลี · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเยอรมนี

ประเทศเยอรมนี (Germany; Deutschland ดอยฺชลันฺท) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี (Federal Republic of Germany; Bundesrepublik Deutschland) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐแบบรัฐสภาในยุโรปกลาง มีรัฐองค์ประกอบ 16 รัฐ มีพื้นที่ 357,021 ตารางกิโลเมตร และมีภูมิอากาศตามฤดูกาลแบบอบอุ่นเป็นส่วนใหญ่ มีประชากรประมาณ 82 ล้านคน ซึ่งเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดในสหภาพยุโรป ประเทศเยอรมนีเป็นจุดหมายการเข้าเมืองยอดนิยมอันดับสองในโลกรองจากสหรัฐ เมืองหลวงและมหานครใหญ่สุดของประเทศคือ กรุงเบอร์ลิน ขณะที่เขตเมืองขยายใหญ่สุด คือ รูร์ โดยมีศูนย์กลางหลักดอร์ทมุนด์และเอสเซิน นครหลักอื่นของประเทศ ได้แก่ ฮัมบวร์ค มิวนิก โคโลญ แฟรงก์เฟิร์ต ชตุทท์การ์ท ดึสเซิลดอร์ฟ ไลพ์ซิจ เบรเมิน เดรสเดิน ฮันโนเฟอร์และเนือร์นแบร์ก ประเทศนี้มีระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยเชิงเสรีภาพและรัฐสวัสดิการ พรมแดนทางทิศเหนือติดทะเลเหนือ เดนมาร์ก และทะเลบอลติก ทิศตะวันออกติดโปแลนด์และเช็กเกีย ทิศใต้ติดออสเตรีย และสวิตเซอร์แลนด์ ทิศตะวันตกติดฝรั่งเศส ลักเซมเบิร์ก เบลเยียม และเนเธอร์แลนด์ มีเมืองหลวงและเมืองใหญ่ของประเทศคือเบอร์ลิน เยอรมนีมีประชากรประมาณ 80 ล้านคนและเป็นประเทศที่มีความหนาแน่นประชากรสูงสุดแห่งหนึ่ง อีกทั้งยังเป็นประเทศที่มีคนย้ายถิ่นมากที่สุดเป็นอันดับสามของโลก หลังจากที่สหรัฐอเมริกาเยอรมนีเป็นปลายทางการย้ายถิ่นที่สองได้รับความนิยมมากที่สุดในโลก เยอรมนีเป็นหนึ่งในสมาชิกผู้ก่อตั้งสหภาพยุโรปและยังก่อตั้งสหภาพการเงินกับสมาชิกในสหภาพยุโรปอีก 17 ประเทศ โดยใช้ชื่อว่ายูโรโซน เยอรมนีเป็นสมาชิกของกลุ่ม UNO, OECD, NATO, G7 และ G20 เยอรมนีเป็นประเทศที่มีอิทธิพลต่อประเทศอื่นๆในยุโรปและเป็นประเทศที่มีความสามารถที่จะแข่งขันในระดับโลก หากวัดจากผลผลิตมวลรวมภายในประเทศแบบปกติแล้ว เยอรมนีเป็นเศรษฐกิจที่ใหญ่ที่สุดในยุโรปและใหญ่เป็นอันดับสี่ของโลก ในปี 2012 เป็นประเทศที่มีการนำเข้าส่งออกมากที่สุดเป็นอันดับสาม ดัชนีการพัฒนามนุษย์ถือว่าสูงมาก.

ใหม่!!: โวล์ฟกัง อะมาเดอุส โมซาร์ทและประเทศเยอรมนี · ดูเพิ่มเติม »

ปารีส

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: โวล์ฟกัง อะมาเดอุส โมซาร์ทและปารีส · ดูเพิ่มเติม »

แฟรงก์เฟิร์ต

แฟรงก์เฟิร์ต (Frankfurt) หรือ ฟรังค์ฟวร์ทอัมไมน์ (Frankfurt am Main) เป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดของรัฐเฮสส์และใหญ่เป็นอันดับ 5 ของประเทศเยอรมนี ตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น้ำไมน์ (Main river) และเป็นที่ตั้งของตลาดหลักทรัพย์แฟรงก์เฟิร์ตและธนาคารกลางยุโรป แฟรงก์เฟิร์ตเป็นเมืองที่ร่ำรวยที่สุดในกลุ่มสหภาพยุโรป โดยในเขตเมืองและปริมณฑลมีประชากรประมาณ 5 ล้านคน ชื่อเมืองแฟรงก์เฟิร์ตในประเทศเยอรมนี นิยมเรียกชื่อเต็มคือ "ฟรังค์ฟวร์ทอัมไมน์" หมายถึงเมืองแฟรงก์เฟิร์ตที่อยู่บนแม่น้ำไมน์ เพื่อแยกความแตกต่างจากเมืองฟรังค์ฟวร์ทอันเดอร์โอเดอร์ (Frankfurt an der Oder) ริมฝั่งแม่น้ำโอเดอร์ในรัฐบรันเดนบูร์กทางด้านตะวันออกของประเท.

ใหม่!!: โวล์ฟกัง อะมาเดอุส โมซาร์ทและแฟรงก์เฟิร์ต · ดูเพิ่มเติม »

แคลริเน็ตคอนแชร์โต (โมซาร์ท)

K.622‐1 แคลริเน็ตคอนแชร์โต ในบันไดเสียง เอ เมเจอร์ (Clarinet concerto in A major, K. 622) ผลงานประพันธ์ของโวล์ฟกัง อะมาเดอุส โมซาร์ท เป็นคอนแชร์โตสำหรับแคลริเน็ต ที่โมซาร์ทแต่งขึ้นในปี..

ใหม่!!: โวล์ฟกัง อะมาเดอุส โมซาร์ทและแคลริเน็ตคอนแชร์โต (โมซาร์ท) · ดูเพิ่มเติม »

โยฮันน์ เซบาสเตียน บาค

ันน์ เซบาสเตียน บาค, ปี พ.ศ. 2291 วาดโดย อีลิอาส ก็อตลอบ เฮาส์มันน์ (Elias Gottlob Haussmann) โยฮันน์ เซบาสเตียน บาค (Johann Sebastian Bach) เป็นคีตกวีและนักออร์แกนชาวเยอรมัน เกิดเมื่อวันที่ 21 มีนาคม พ.ศ. 2228 (ค.ศ. 1685) ในครอบครัวนักดนตรี ที่เมืองไอเซนัค บาคแต่งเพลงไว้มากมายโดยดั้งเดิมเป็นเพลงสำหรับใช้ในโบสถ์ เช่น "แพชชั่น" บาคถึงแก่กรรมเมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2293 ที่เมืองไลพ์ซิก บาคเป็นนักประพันธ์ดนตรีสมัยบาโรค เขาสร้างดนตรีของเขาจนกลายเป็นเอกลักษณ์ของยุคสมัย บาคมีอิทธิพลอย่างสูงและยืนยาวต่อการพัฒนาดนตรีตะวันตก แม้แต่นักประพันธ์เพลงผู้ยิ่งใหญ่เช่น โมซาร์ท และเบโธเฟน ยังยอมรับบาคในฐานะปรมาจารย์ งานของบาคโดดเด่นในทุกแง่มุม ด้วยความพิถีพิถันของบทเพลงที่เต็มไปด้วย ท่วงทำนอง เสียงประสาน หรือ เทคนิคการสอดประสานกันของท่วงทำนองต่าง ๆ รูปแบบที่สมบูรณ์แบบ เทคนิคที่ฝึกฝนมาเป็นอย่างดี การศึกษาค้นคว้า แรงบันดาลใจอันเต็มเปี่ยม รวมทั้งปริมาณของบทเพลงที่แต่ง ทำให้งานของบาคหลุดจากวงจรทั่วไปของงานสร้างสรรค์ที่ปกติแล้วจะเริ่มต้น เจริญเติบโตถึงขีดสุด แล้วเสื่อมสลาย นั่นคือไม่ว่าจะเป็นเพลงที่บาคได้ประพันธ์ไว้ตั้งแต่วัยเยาว์ หรือเพลงที่ประพันธ์ในช่วงหลังของชีวิตนั้นจะมีคุณภาพทัดเทียมกัน.

ใหม่!!: โวล์ฟกัง อะมาเดอุส โมซาร์ทและโยฮันน์ เซบาสเตียน บาค · ดูเพิ่มเติม »

โยเซฟ ไฮเดิน

วาดโยเซฟ ไฮเดิน ฟรันซ์ โยเซฟ ไฮเดิน (Franz Joseph Haydn) เป็นคีตกวีชาวออสเตรียในยุคคลาสสิก เกิดเมื่อวันที่ 31 มีนาคม ค.ศ. 1732 และเสียชีวิตเมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม ค.ศ. 1809 เนื่องจากเป็นคีตกวีในความดูแลของราชสำนัก จึงได้ประพันธ์บทเพลงไว้เป็นจำนวนมาก ได้ชื่อว่าเป็น บิดาแห่งซิมโฟนี และ บิดาแห่งสตริงควอเต็ต นอกจากนั้น ฟรันซ์ โยเซฟ ไฮเดิน ยังเป็นพี่ของโยฮันน์ มิคาเอล ไฮเดิน (Johann Michael Haydn) คีตกวีคนสำคัญอีกท่านหนึ่งของออสเตรียอีกด้ว.

ใหม่!!: โวล์ฟกัง อะมาเดอุส โมซาร์ทและโยเซฟ ไฮเดิน · ดูเพิ่มเติม »

โรมันคาทอลิก

ระศาสนจักรคาทอลิก (Catholic Church) หรือ คริสตจักรโรมันคาทอลิก (Roman Catholic Church) เป็นคริสตจักรที่ใหญ่ที่สุดในโลกซึ่งมีศาสนิกชนกว่าพันล้านคน มีพระสันตะปาปาเป็นประมุข มีพันธกิจหลักคือ การประกาศข่าวดีเรื่องพระเยซูคริสต์ โปรดศีลศักดิ์สิทธิ์ และปฏิบัติกิจเมตตา ศาสนจักรคาทอลิกเป็นสถาบันที่เก่าแก่ที่สุดในโลกและมีบทบาทสำคัญในประวัติศาสตร์อารยธรรมตะวันตกO'Collins, p. v (preface).

ใหม่!!: โวล์ฟกัง อะมาเดอุส โมซาร์ทและโรมันคาทอลิก · ดูเพิ่มเติม »

โลซาน

ลซาน (Lausanne) เป็นเมืองในประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ที่ผู้คนในเมืองใช้ภาษาฝรั่งเศสเป็นหลัก ตั้งอยู่บริเวณทะเลสาบเจนีวา โดยติดกับเมืองเอวีย็อง-เล-แบ็งของประเทศฝรั่งเศส โลซานเป็นเมืองหลวงของรัฐโว และตั้งอยู่ห่างจากเมืองเจนีวาไปทางตะวันออกเฉียงเหนือ 60 กิโลเมตร มีประชากร 135,629 คน (เดือนธันวาคม พ.ศ. 2558) Université de Lausanne และ École Polytechnique Fédérale de Lausanne เป็นสองมหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงระดับโลก.

ใหม่!!: โวล์ฟกัง อะมาเดอุส โมซาร์ทและโลซาน · ดูเพิ่มเติม »

ไวโอลิน

วโอลิน เป็นเครื่องดนตรีที่ทำให้เกิดเสียงระดับเสียงสูงในกลุ่มเครื่องดนตรีคลาสสิกประเภทเครื่องสาย (String instruments) ซึ่งมีต้นกำเนิดมาจากโลกตะวันตก เป็นเครื่องดนตรีตระกูลไวโอลินที่เล็กที่สุด อันประกอบไปด้วย ไวโอลิน วิโอลา เชลโล และ ดับเบิลเบส เมื่อนำทั้งหมดมาเล่นร่วมกันแล้วจะเรียกว่า วงเครื่องสาย(string) ซึ่งเป็นตระกูลเครื่องดนตรีหลักของ วงออร์เคสตร.

ใหม่!!: โวล์ฟกัง อะมาเดอุส โมซาร์ทและไวโอลิน · ดูเพิ่มเติม »

ไอเนอไคลเนอนาคท์มูซีก

ซเรเนดหมายเลข 13 สำหรับเครื่องสาย ในบันไดเสียง จี เมเจอร์ (Serenade No.) เป็นเซเรเนดที่แต่งโดยโวล์ฟกัง อะมาเดอุส โมซาร์ทเมื่อปี ค.ศ. 1787 ผลงานชิ้นนี้เป็นที่รู้จักในชื่อ ไอเนอไคลเนอนาคท์มูซีก (Eine kleine Nachtmusik; แปลว่า "a little serenade") แต่งขึ้นสำหรับวงดนตรีแชมเบอร์ที่ประกอบด้วยไวโอลิน 2 ตัว, วิโอลา, เชลโล และดับเบิลเบส แต่มักจะใช้บรรเลงโดยวงออร์เคสตรา Holoman, D. Kern (1992) Evenings with the orchestra: a Norton companion for concertgoers.

ใหม่!!: โวล์ฟกัง อะมาเดอุส โมซาร์ทและไอเนอไคลเนอนาคท์มูซีก · ดูเพิ่มเติม »

เรควีเอ็ม

รควีเอ็ม (requiem) เป็นบทเพลงศาสนาคริสต์ที่ใช้ในพิธีศพ แต่ส่วนใหญ่ปัจจุบันจะใช้แสดงเพื่อการฟังในคอนเสิร์ตมากกว่าพิธีศพจริง ๆ ซึ่งจะประพันธ์โดยให้วงดุริยางค์ กับนักร้องเดี่ยว และวงขับร้องประสานเสียง เนื้อร้องที่ใช้นำมาจากพระคัมภีร์ บทที่มีความสำคัญ ได้แก่ เรควีเอ็มของโมซาร์ท, บราห์มส์, ฟอเร่, แวร์ดี, และแบร์ลิออส โมซาร์ทได้แต่งบทเพลงนี้เป็นบทสุดท้ายในชีวิตของเขา ว่ากันว่ามีชายลึกลับคนหนึ่งจ้างให้แต่งขึ้นแต่มารู้ภายหลังอีกทีคือ เคานต์วัลเซกก์ ซึ่งเป็นขุนนางในสำนักพระราชวัง แต่ก็นับเป็นผลงานที่มีความโดดเด่นชิ้นหนึ่ง ส่วนบราห์มส์แต่งเพลงนี้เป็นภาษาเยอรมัน.

ใหม่!!: โวล์ฟกัง อะมาเดอุส โมซาร์ทและเรควีเอ็ม · ดูเพิ่มเติม »

เลโอโปลด์ โมซาร์ท

ลโอโปลด์ โมซาร์ท (Johann Georg Leopold Mozart) (14 พฤศจิกายน 1719 – 28 พฤษภาคม 1787) เป็นนักดนตรี วาทยากร ครู และนักไวโอลินชาวเยอรมัน เขาไม่เพียงแต่โด่งดังในฐานะที่เป็นบิดาและครูของโวล์ฟกัง อะมาเดอุส โมซาร์ท แต่ยังโด่งดังในฐานะเป็นผู้ประพันธ์หนังสือสอนไวโอลินชื่อว่า Versuch einer gründlichen Violinschule.

ใหม่!!: โวล์ฟกัง อะมาเดอุส โมซาร์ทและเลโอโปลด์ โมซาร์ท · ดูเพิ่มเติม »

เวียนนา

วียนนา (Vienna) หรือ วีน (Wien) เป็นเมืองหลวงของประเทศออสเตรีย และเป็นชื่อเขตการปกครองในออสเตรียด้วย เวียนนาเป็นเมืองใหญ่ที่สุดในออสเตรีย เป็นศูนย์กลางทั้งเศรษฐกิจและการปกครอง มีประชากรประมาณ 1.8 ล้านคน มีแม่น้ำดานูบไหลผ่าน เวียนนายังเป็นที่ตั้งของหน่วยงานในสหประชาชาติหลายแห่ง เช่น United Nations Industrial Development Organization (UNIDO) และองค์กรระดับนานาชาติหลายแห่ง เช่น โอเปก (OPEC).

ใหม่!!: โวล์ฟกัง อะมาเดอุส โมซาร์ทและเวียนนา · ดูเพิ่มเติม »

เอาคส์บวร์ค

ลาว่าการเมืองเอาคส์บวร์ค เอาคส์บวร์ค (Augsburg) เป็นนครที่ตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของรัฐบาวาเรียในประเทศเยอรมนี เอาคส์บวร์คเป็นเมืองมหาวิทยาลัยและเป็นที่ตั้งของที่ทำการบริหารของส่วนภูมิภาคชวาเบิน ในปี..

ใหม่!!: โวล์ฟกัง อะมาเดอุส โมซาร์ทและเอาคส์บวร์ค · ดูเพิ่มเติม »

เจนีวา

นีวา (Geneva) หรือออกเสียงในภาษาท้องถิ่นว่า เฌอแนฟว์ (Genève) เป็นเมืองใหญ่อันดับสองของประเทศสวิตเซอร์แลนด์ (รองจากซือริช) ถือเป็นเมืองที่มีประชากรมากที่สุดในภาครอม็องดีอันเป็นภูมิภาคที่ใช้ภาษาฝรั่งเศสเป็นหลักในสวิตเซอร์แลนด์ นครเจนีวาตั้งอยู่บริเวณต้นแม่น้ำโรนซึ่งไหลออกจากทะเลสาบเจนีวา เจนีวามีสถานะเป็นเมืองหลวงของสาธารณรัฐแห่งรัฐเจนีวา เจนีวาถือเป็นหนึ่งในเมืองศูนย์กลางของโลก โดยเป็นศูนย์กลางทางการเงิน, ศูนย์กลางทางการทูต เจนีวาถือเป็นเมืองที่มีองค์กรระหว่างประเทศตั้งอยู่มากที่สุดในโลก ในบรรดาองค์กรเหล่านี้อาทิ หน่วยงานของสหประชาชาติและกาชาดสากล เป็นต้น ในปี 2017 เจนีวาได้รับการจัดอันดับโดย Global Financial Centres Index ให้เป็นเมืองศูนย์กลางทางการเงินอันดับ 15 ของโลก และเป็นที่ 5 ของทวีปยุโรป รองจากลอนดอน, ซือริช, แฟรงเฟิร์ต และลักเซมเบิร์ก และยังได้รับการจัดอันดับโดย Mercer's Quality of Living index ให้เป็นเมืองที่น่าอยู่ที่สุดเป็นอันดับ 8 ของโลกในปีเดียวกัน.

ใหม่!!: โวล์ฟกัง อะมาเดอุส โมซาร์ทและเจนีวา · ดูเพิ่มเติม »

เดอะเฮก

อะเฮก หรือ กรุงเฮก (The Hague, Den Haag แด็นฮาค) หรือชื่อทางการภาษาดัตช์คือ สคราเฟินฮาเคอ ('s-Gravenhage) เป็นเมืองหลวงของจังหวัดเซาท์ฮอลแลนด์ ประเทศเนเธอร์แลนด์ เมืองมีประชากร 500,000 คน (ข้อมูลเมื่อวันที่ 1 กันยายน ค.ศ. 2011) เดอะเฮกเป็นเมืองใหญ่เป็นอันดับ 3 รองจากกรุงอัมสเตอร์ดัมและรอตเทอร์ดาม ตั้งอยู่ทางตะวันตกของประเทศ มีอุตสาหกรรมแปรรูปอาหารและการพิมพ์ เป็นที่ตั้งของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศหรือศาลโลกซึ่งตั้งอยู่ที่วังสันติสร้างบริจาคโดยมหาเศรษฐีชาวอเมริกัน ชื่อ แอนดรูว์ คาร์เนกี.

ใหม่!!: โวล์ฟกัง อะมาเดอุส โมซาร์ทและเดอะเฮก · ดูเพิ่มเติม »

เปียโน

ปียโน (ย่อมาจาก เปียโนฟอร์เต) เป็นเครื่องดนตรีที่บรรเลงโดยการกดลิ่มนิ้ว (คีย์บอร์ด) มักใช้นิยมบรรเลงเพลงแนว คลาสสิก และ แจ๊ส แม้ว่าเปียโนจะมีขนาดใหญ่และหนักทำให้ไม่สามารถพกพาได้ และมีราคาค่อนข้างแพง แต่เปียโนก็เป็นเครื่องดนตรีที่ได้เปรียบเครื่องดนตรีมากมาย เสียงของเปียโนสามารถเข้ากับเครื่องดนตรีเกือบทุกชนิด ดังนั้นเปียโนจึงสามารถเล่นได้ทั้งแบบบรรเลงเดี่ยว, แชมเบอร์, คลอเสียง หรือแม้กระทั่งร่วมกับวง ออร์เคสตรา ฝาครอบและแผ่นครอบของเปียโนอะคูสติกจะทำมาจากไม้ ในขณะที่กระดานเสียง (soundboard) จะถูกทำจากเหล็กกล้า และขึงด้วยสายโลหะ ลิ่มนิ้วของเปียโนมาตรฐานมีอยู่ทั้งหมด 88 คีย์ (คีย์ขาว 52, คีย์ดำ 36) ช่วงคีย์ปกติจะมีสายโลหะอยู่ 3 เส้นในหนึ่งคีย์ และคีย์เบสจะมีสายโลหะเส้นใหญ่อยู่ 1–2 เส้นในหนึ่งคีย์ เมื่อกดคีย์ จะเกิดเป็นเสียงโน้ตดนตรีที่มีความถี่การสั่นพ้องแตกต่างกันออกไป และเมื่อปล่อยคีย์ เสียงก็จะถูกตัด หากต้องการให้เสียงกังวานและลากยาวก็สามารถทำให้ โดยการเหยียบเพดัลขวา (คันเหยียบ) ที่อยู่บริเวณด้านล่างของเปียโนค้างไว้ กลไกการเกิดเสียงในเปียโนอะคูสติกนั้น เริ่มจากแรงจากการกดคีย์จะถูกส่งผ่านโดยกลไกที่ซับซ้อนไปยังหัวค้อน และหัวค้อนจะตีกระทบกับสายโลหะที่ขึงอยู่บนกระดานเสียงเกิดเป็นเสียงดนตรี ในระหว่างที่คีย์ถูกกดอยู่นั้น กลไกที่เรียกว่า แดมเปอร์ (damper) ของแต่ละคีย์ ซึ่งเดิมจะคอยดันสายโลหะไว้จะถูกยกออก ทำให้สายโลหะเกิดการสั่นพ้องได้ เมื่อใดก็ตามที่ปล่อยคีย์ แดมเปอร์จะกลับมาดันสายโลหะ ทำให้เสียงถูกตัดไป ดังนั้นการเหยียบเพดัลขวา จะเป็นการยกเพดัลของทุกคีย์ออก ทำให้สายโลหะเกิดการสั่นพ้องและกังวานมากขึ้นซึ่งทำให้เพลงมีความไพเราะ อย่างไรก็ตาม การเหยียบเพดัลขวาแช่ไว้ จะทำให้เสียงโน้ตดนตรีกังวานจนตีกับโน้ตดนตรีที่ตามมาทีหลัง ดังนั้นผู้บรรเลงจึงต้องทำการยกเท้าจากเพดัลเป็นจังหวะ ๆ เพื่อเป็นการตัดโน้ตดนตรีไม่ให้ข้ามห้องหรือตีกัน คำว่า เปียโน นั้น เป็นคำย่อจากคำว่า เปียโนฟอร์เต, ซึ่งเป็นภาษาอิตาลี ซึ่งเป็นการประสมคำระหว่างคำว่า เปียโน ที่แปลว่า "นุ่มนวล" กับ ฟอร์เต ที่แปลว่า "แข็งแกร่ง" ซึ่งมีที่มาจากการที่เป็ยโนนั้นมีคุณภาพเสียงที่หลากหลาย คีย์เบสที่ให้เสียงกังวานและทรงพลัง คีย์ปกติที่ให้เสียงนุ่มนวล และคีย์สูงที่ให้เสียงเล็กแหลม.

ใหม่!!: โวล์ฟกัง อะมาเดอุส โมซาร์ทและเปียโน · ดูเพิ่มเติม »

Ogg

ogg ("อ็อก") เป็นรูปแบบหีบห่อดิจิทัลแบบมาตรฐานเปิดสำหรับบรรจุสื่อผสม มันถูกออกแบบมาเพื่อประสิทธิภาพในการกระจายเสียง (สตรีมมิง) และการเปลี่ยนแปร รูปแบบ ogg ออกแบบโดยมูลนิธิ Xiph.Org และปลอดจากสิทธิบัตรซอฟต์แวร์ คำว่า "ogg" ยังถูกใช้บ่อย ๆ เพื่อเรียกรูปแบบแฟ้มเสียง Ogg Vorbis ซึ่งเป็นเสียงที่ถูกเข้ารหัสแบบ Vorbis แล้วเก็บลงในหีบห่อ Ogg การเข้ารหัสอื่นที่เด่น ๆ ของ Xiph ที่มักถูกใส่ใน Ogg ก็คือ Theora ซึ่งเป็นการเข้ารหัสภาพเคลื่อนไหว (วิดีโอ), และ Speex ซึ่งเป็นการบีบอัดเสียงพูดของมนุษย์ MIME type ของ ogg คือ application/ogg.

ใหม่!!: โวล์ฟกัง อะมาเดอุส โมซาร์ทและOgg · ดูเพิ่มเติม »

16 ธันวาคม

วันที่ 16 ธันวาคม เป็นวันที่ 350 ของปี (วันที่ 351 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 15 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: โวล์ฟกัง อะมาเดอุส โมซาร์ทและ16 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

27 มกราคม

วันที่ 27 มกราคม เป็นวันที่ 27 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 338 วันในปีนั้น (339 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: โวล์ฟกัง อะมาเดอุส โมซาร์ทและ27 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

5 ธันวาคม

วันที่ 5 ธันวาคม เป็นวันที่ 339 ของปี (วันที่ 340 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 26 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: โวล์ฟกัง อะมาเดอุส โมซาร์ทและ5 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

MozartWolfgang Amadeus Mozartโมสาร์ทโมสาร์ตโมสาทโมซาร์ท

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »