โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ดนตรีคลาสสิก

ดัชนี ดนตรีคลาสสิก

วงซิมโฟนีออเคสตรา ดนตรีคลาสสิก (Classical music) เป็นรูปแบบหนึ่งของดนตรี ซึ่งมักจะหมายถึงดนตรีที่เป็นศิลปะของตะวันตก การแสดงดนตรีคลาสสิกจะใช้เครื่องดนตรี 4 กลุ่ม กลุ่มแรก คือ เครื่องสาย (String) แบ่งออกเป็น ไวโอลิน วิโอลา เชลโล และดับเบิลเบส กลุ่มที่สอง คือ เครื่องลมไม้ (Woodwind) เช่น ฟลูต คลาริเน็ต โอโบ บาสซูน ปิคโคโล กลุ่มที่สาม คือ เครื่องลมทองเหลือง (Brass) เช่น ทรัมเป็ต ทรอมโบน ทูบา เฟรนช์ฮอร์น กลุ่มที่สี่ คือ เครื่องกระทบ (Percussion) เช่น กลองทิมปานี ฉาบ กลองใหญ่ (Bass Drum) กิ๋ง (Triangle) เมื่อเล่นรวมกันเป็นวงเรียกว่าวงดุริยางค์หรือ ออร์เคสตรา (Orchestra) ซึ่งมีผู้อำนวยเพลง (conductor) เป็นผู้ควบคุมวง.

106 ความสัมพันธ์: บริงมีเดอะฮอไรซันบอนด์ (วงดนตรี)บาโรกป็อปฟรันซ์ ลิซท์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงศึกษาดนตรีพัดชา เอนกอายุวัฒน์พิชัย วาศนาส่งกามีย์ แซ็ง-ซ็องส์การสิ้นพระชนม์ของสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์การใช้ดนตรีเป็นกลยุทธ์รับมือกีตาร์เบสมหาภัยสะกดโลกมิวสิกโอเอ็มเอชมูลนิธิอนุรักษ์พระราชวังพญาไทยาสชา ไฮเฟตซ์ยุกิ คะจิอุระราเด็ตสกีมาร์ชร็อกวัฒนธรรมวาเนสซา เมย์วีทรีโอวีตัสวงดนตรีศุภรุจ เตชะตานนท์สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์สันติ ลุนเผ่สาทิส อินทรกำแหงสุกรี เจริญสุขสุรพงษ์ บุนนาคสถาบันดนตรีกัลยาณิวัฒนาสถานีโทรทัศน์แห่งชาติสเปนหม่อมหลวงอัศนี ปราโมชหลาง หล่างหลี่ หยุนตี๋อันโตนีโอ ซาลีเอรีอารัม คาชาตูเรียนอิกอร์ สตราวินสกีอิเล็กทริกไลต์ออร์เคสตราอุปรากรอเล็กซานเดอร์ รืยบัคฮาร์ตเลสจอร์จ เกิร์ชวินจอน ลอร์ดจากเหมาถึงโมซาร์ททอคคาตา แอนด์ ฟิวก์ ในบันไดเสียง ดี ไมเนอร์ (BWV 565)ทเวลฟ์เกิลส์แบนด์ณัฐ ยนตรรักษ์ดุษฎี พนมยงค์ดนตรียุคคลาสสิกดนตรียุคโรแมนติก...ดนตรีแอมเบียนต์ด็อกวิลล์ด็อกเตอร์แซ็คแชมเบอร์ออร์เคสตราคลาสสิกคลินต์ แมนเซลล์คลีนแบนดิตคอนทราลโตคอนเสิร์ตฉลองปีใหม่เวียนนาคาร์มินา บูรานา (ออร์ฟ)คิงคริมสันคีตกวีคีนค็อกเทล (วงดนตรี)ซาลูต ซาลอนซิมโฟนีหมายเลข 5 (เบโทเฟน)ซีซันส์เชนจ์ เพราะอากาศเปลี่ยนแปลงบ่อยประทักษ์ ประทีปะเสนประโคมเพลง ประเลงถวายประเทศญี่ปุ่นปิยะพันธ์ สนิทวงศ์ ณ อยุธยาปีเยิร์กนาตาลี เกลโบวานิวเอจแฟนเทเชีย (ภาพยนตร์)แฟนเทเชีย 2000แมนเดอร์เลย์แรพโซดีอินบลูแวนเจลิสแนวเพลงโชติศรี ท่าราบโพรคัล ฮารัมโพรเกรสซิฟร็อกโวล์ฟกัง อะมาเดอุส โมซาร์ทไมค์ โอลด์ฟิลด์ไวโอลินไซเคเดลิกแทรนซ์ไนท์อินไวท์ซาตินเฟลิกซ์ เมนเดิลส์โซห์นเยฟกีนี คีซีนเยสเอ็ดเวิด กริกเอ็นเอชเคเจมี ฟ็อกซ์เจสส์ กลินน์เจป็อปเจโทร ทัลเทมโปเดอะบีเทิลส์เดอะมูดีบลูส์เดอะลอร์ดออฟเดอะริงส์เด่น อยู่ประเสริฐเซว เหว่ยเซียร์เกย์ รัคมานีนอฟเซดด์เปียโนPictures at an Exhibition ขยายดัชนี (56 มากกว่า) »

บริงมีเดอะฮอไรซัน

ริงมีเดอะฮอไรซัน (Bring Me the Horizon) เป็นวงดนตรีร็อกสัญชาติอังกฤษจากเมืองเชฟฟีลด์ ยอร์คเชอร์ ก่อตั้งขึ้นในปี..

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและบริงมีเดอะฮอไรซัน · ดูเพิ่มเติม »

บอนด์ (วงดนตรี)

อนด์ (bond ชื่อวงในภาษาอังกฤษ ขึ้นต้นด้วย b เล็ก เพื่อให้แตกต่างจากคำว่า Bond ซึ่งถือลิขสิทธิ์โดยผู้สร้างภาพยนตร์เจมส์ บอนด์) เป็นวงดนตรีสตริงควอร์เท็ท (เครื่องสายสี่ชิ้น) ประกอบด้วยไวโอลิน วิโอลา และเชลโล ที่เน้นการนำดนตรีคลาสสิกมาบรรเลงในแบบครอสโอเวอร์ ครอสโอเวอร์ หมายถึง อัลบั้มดนตรีที่ติดอันดับชาร์ตมากกว่าหนึ่งประเภท ในที่นี้คือ ชาร์ตดนตรีคลาสสิก และชาร์ตดนตรีป็อป ให้ฟังง่ายและเข้าถึงผู้ฟังทั่วไป ได้รับการบันทึกว่าเป็นวงสตริงควอร์เท็ทที่มียอดขายมากที่สุดในโลก ถึง 4 ล้านแผ่น iClassics: Crossover Café--> วงบอนด์เกิดขึ้นจากความคิดของโปรดิวเซอร์ชาวอังกฤษสองคน คือ ไมค์ แบตต์ และ เมล บุช ที่จะตั้งวงดนตรีที่ประกอบด้วย "สาวสวยที่มีพรสวรรค์ทางดนตรี".

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและบอนด์ (วงดนตรี) · ดูเพิ่มเติม »

บาโรกป็อป

รกป็อป, บาโรกร็อก,B.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและบาโรกป็อป · ดูเพิ่มเติม »

ฟรันซ์ ลิซท์

ฟรันซ์ ลิซท์ (Franz Liszt) หรือ แฟแร็นตส์ ลิสต์ (Liszt Ferenc) เป็นคีตกวีและนักเปียโนชาวฮังกาเรียน เกิดที่เมืองไรดิง เมื่อวันที่ 22 ตุลาคม..

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและฟรันซ์ ลิซท์ · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงศึกษาดนตรี

ระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงศึกษาดนตรี เป็นบทความที่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงพระนิพนธ์ไว้เมื่อ..

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงศึกษาดนตรี · ดูเพิ่มเติม »

พัดชา เอนกอายุวัฒน์

ัดชา เอนกอายุวัฒน์ (เกิด 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2528) นักร้องไทยสากลหญิง นักแสดง และนักเขียนชาวไทย สังกัด ทรู แฟนเทเชีย เข้าสู่วงการบันเทิง เมื่อ พ.ศ. 2548 โดยได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 จากรายการ ทรู อะคาเดมี่ แฟนเทเชีย ฤดูกาลที่ 2 มีผลงานในวงการบันเทิง เช่น ผลงานเพลง การแสดงละครเวที ละครโทรทัศน์ งานพรีเซนเตอร์ เป็นต้น โดยมีผลงานเพลงที่สร้างชื่อได้แก่ เพลง "เจ้าชายของฉัน", "DESTINY", "ช้าไปไหมเธอ", "ไม่เสียใ...ที่ได้รักเธอ" และ "ทนไม่พอ...รอไม่ไหว".

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและพัดชา เอนกอายุวัฒน์ · ดูเพิ่มเติม »

พิชัย วาศนาส่ง

ัย วาศนาส่ง (2 กรกฎาคม พ.ศ. 2472 — 8 เมษายน พ.ศ. 2555) เป็นอดีตสถาปนิก นักเขียน นักวิเคราะห์สถานการณ์ข่าวต่างประเทศ ผู้เชี่ยวชาญด้านดนตรีคลาสสิก รวมถึงเป็นอดีตสมาชิกวุฒิสภา และสภานิติบัญญัติแห่งชาติ พ.ศ. 2549.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและพิชัย วาศนาส่ง · ดูเพิ่มเติม »

กามีย์ แซ็ง-ซ็องส์

ร์ล กามีย์ แซ็ง-ซ็องส์ ชาร์ล กามีย์ แซ็ง-ซ็องส์ (Charles Camille Saint-Saëns;; 9 ตุลาคม พ.ศ. 2378–16 ธันวาคม พ.ศ. 2464) เป็นคีตกวีและนักดนตรีชาวฝรั่ง.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและกามีย์ แซ็ง-ซ็องส์ · ดูเพิ่มเติม »

การสิ้นพระชนม์ของสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์

มเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ สิ้นพระชนม์เมื่อวันพุธที่ 2 มกราคม พ.ศ. 2551 เวลา 02.54 นาฬิกา ณ อาคารเฉลิมพระเกียรติ โรงพยาบาลศิริราช พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชจึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานพระบรมราชานุมัติหมายกำหนดการพระราชพิธีทรงบำเพ็ญพระราชกุศลถวายพระศพระหว่างวันที่ 3 มกราคม-12 เมษายน พ.ศ. 2551 ณ พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท พระบรมมหาราชวัง หมายกำหนดการเสด็จพระราชดำเนินไปทรงยกสัปตปฎลเศวตฉัตรเหนือยอดพระเมรุในวันที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2551 และหมายกำหนดการพระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพฯ ระหว่างวันที่ 14-19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551 ซึ่งพระราชพิธีสองอย่างหลังจะมีขึ้น ณ พระเมรุ มณฑลพิธีท้องสนามหลวง.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและการสิ้นพระชนม์ของสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

การใช้ดนตรีเป็นกลยุทธ์รับมือ

การใช้ดนตรีเป็นกลยุทธ์รับมือ (Music as a coping strategy) เป็นการใช้ดนตรี ไม่ว่าจะโดยฟังหรือเล่น เพื่อลดอาการของความเครียดทางกายใจ และลดตัวความเครียดเองด้วย การใช้ดนตรีรับมือกับความเครียดเป็นตัวอย่างกลยุทธ์การรับมือที่เพ่งอารมณ์ โดยมองว่าเป็นการปรับตัวที่ดี (adaptive) เพราะลดหรือกำจัดความรู้สึกที่เกิดขึ้นตอบสนองต่อความเครียด ไม่ใช่จัดการตัวก่อความเครียดโดยตรง ผู้ที่สนับสนุนการบำบัดเช่นนี้อ้างว่า การใช้ดนตรีช่วยลดระดับความเครียดที่คนไข้รู้สึก และยังลดลักษณะที่วัดได้ทางชีวภาพ เช่น ระดับฮอร์โมนอีพิเนฟรินและคอร์ติซอล ซึ่งหลั่งเมื่อเครียดอีกด้วย นอกจากนั้นแล้ว โปรแกรมบำบัดด้วยดนตรียังมีหลักฐานที่ทำซ้ำได้ว่า ช่วยลดอาการซึมเศร้าและวิตกกังวลโดยระยะยาว.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและการใช้ดนตรีเป็นกลยุทธ์รับมือ · ดูเพิ่มเติม »

กีตาร์เบส

ป็นเครื่องดนตรีประเภทเครื่องสาย ในทางสากลสามารถเรียกได้ทั้ง electric bass (เบสไฟฟ้า), electric bass guitar (กีตาร์เบสไฟฟ้า) หรือเรียกสั้น ๆ ว่า bass (เบส) ลักษณะของเบสมีขนาดใหญ่กว่ากีตาร์ มีโครงสร้างของคอที่ใหญ่และยาวกว่า มีย่านความถี่เสียงต่ำ มีหน้าที่โดยหลัก ๆ ในการให้จังหวะ คือคุมจังหวะตาม rhythm, line, pattern และ groove ของดนตรี ในขณะเดียวกันก็สามารถขยายระดับความสามารถการเล่นให้สูงขึ้นตามแนวเพลงและการประยุกต์ใช้ต่าง ๆ เช่น เทคนิคการ Slap หรือการตบเบส (รวมไปถึงเทคนิคอื่นที่ใช้ร่วมกันกับการ Slap) ในดนตรี Funk, Jazz และอีกหลายแนว การ Tapping การเดิน Improvising การเล่น Harmonics การเล่น Picking เป็นต้น เบสไฟฟ้าจัดว่าเป็นเครื่องดนตรีที่ถือกำเนิดหลังเครื่องดนตรีอื่น ๆ ในประเภทวงสตริงคือสร้างขึ้นหลัง กีตาร์ กลอง คีย์บอร์ดหรือซินธิไซเซอร์ (รายละเอียดจะมีในหัวข้อประวัติ) เครื่องดนตรีประเภทเบสที่ใช้กันในวงดนตรีและแนวต่าง ๆ ก็จะมี เบสไฟฟ้า เบสโปร่งไฟฟ้า fretless bass (เบสไม่มีเฟรต) และ double bass, upright bass บ้างทีก็เรียกกันว่า acoustic bass แต่ก็มีภาษาพูดเรียกกันติดปากสำหรับนักดนตรีบางคนว่า เบสใหญ่ เบสไฟฟ้าที่ใช้โดยทั่วไปจะมี 4 สาย 5 สาย และ 6 สาย ส่วนสายที่มากไปกว่านี้ก็มีเนื่องจากนักดนตรีบางคนอาจจะออกแบบเพื่อประยุกต์ใช้ทางการเล่นเฉพาะตัว เบส 4 สายการตั้งสายตามมาตรฐานคือ E-A-D-G (เรียงจากต่ำ-สูง) เบส 5 สายคือ B-E-A-D-G ส่วน 6 สายคือ B-E-A-D-G-C แต่อย่างไรก็ตามเบสก็ได้ถูกขยายขอบเขตออกไปตามแนวคิดและการประยุกต์ใช้ของมือเบสต่าง ๆ จำนวนสายก็อาจจะมีอื่น ๆ อีก เช่น 3 สาย, 7 สาย, 8 สาย, 9 สาย เป็นต้น.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและกีตาร์เบส · ดูเพิ่มเติม »

มหาภัยสะกดโลก

มหาภัยสะกดโลก เป็นภาพยนตร์ระทึกขวัญ ออกฉายในประเทศสหรัฐอเมริกาเมื่อ 13 กุมภาพันธ์, ค.ศ. 1998 ประเทศไทย 3 เมษายน, พ.ศ. 2541.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและมหาภัยสะกดโลก · ดูเพิ่มเติม »

มิวสิกโอเอ็มเอช

มิวสิกโอเอ็มเอช (musicOMH) เป็นเว็บไซต์ของสหราชอาณาจักรที่เผยแพร่เนื้อหาบทวิจารณ์อิสระ บทความเด่น และบทสัมภาษณ์เกี่ยวกับแนวเพลงทุกแนว รวมถึงดนตรีคลาสสิก เฮฟวีเมทัล ร็อก และอาร์แอนด์บี มิวสิกโอเอ็มเอชก่อตั้งขึ้นและเปิดใช้โดยบรรณาธิการบริหาร ไมเคิล ฮับบาร์ด เมื่อ..

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและมิวสิกโอเอ็มเอช · ดูเพิ่มเติม »

มูลนิธิอนุรักษ์พระราชวังพญาไท

มูลนิธิอนุรักษ์พระราชวังพญาไท ในพระอุปถัมภ์ สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี เดิมชื่อ ชมรมคนรักวัง ก่อตั้งเมื่อปี 2540 โดยคณะบุคคลที่สำนึกในพระมหากรุณาธิคุณ ของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว และเล็งเห็นคุณค่าในการอนุรักษ์โบราณสถานสำคัญของชาติให้คงอยู่ยืนยาว เป็นมรดกของชาติสำหรับอนุชนรุ่นหลัง จึงรวมกันจัดตั้งเป็นองค์กรพัฒนาเอกชนเพื่อสนับสนุนงานโครงการบูรณะพระราชวังพญาไท และรับสมัครสมาชิกทุกท่านที่มีความสนใจเล็งเห็นคุณค่าและความสำคัญของพระราชวัง เป็นผู้ที่มีความรักหวงแหนงานศิลปวัฒนธรรมของชาติ โดยในเบื้องแรกเก็บค่าสมาชิกเพียงท่านละ 6 บาท (หกบาทถ้วน) ต่อมา ได้รับพระกรุณาธิคุณจาก สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี ทรงรับชมรมไว้ในพระอุปถัมภ์เมื่อปี.ศ 2544 ชมรมคนรักวังมีวัตถุประสงค์หลักในการเผยแผ่พระเกียรติคุณของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว และหาทุนอนุรักษ์พระราชวังพญาไท ในบริเวณโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า เพื่อจัดทำเป็นพิพิธภัณฑ์ที่สมบูรณ์แบบต่อไป ชมรมนี้ได้จัดกิจกรรมต่างๆ อย่างสม่ำเสมอ ที่โดดเด่นก็เช่นการแสดงมหาอุปรากร "มัทนา" ซึ่งอาศัยเค้าโครงจากบทพระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ 6 เรื่องมัทนะพาธา ณ ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย และการจัดแสดงดนตรีคลาสสิกในพระที่นั่งเทวราชสภารมย์ หรือในบริเวณต่างๆ ของพระราชวังพญาไท เพื่อนำรายได้สมทบทุนของชมรม ปัจจุบัน ชมรมคนรักวัง ได้พัฒนาเป็นนิติบุคคลตามกฎหมายในชื่อ "มูลนิธิอนุรักษ์พระราชวังพญาไท ในพระอุปถัมภ์ สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี" สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอฯ ทรงพระกรุณาโปรดรับมูลนิธิฯ ไว้ในพระอุปถัมภ์ และพระราชทานทุนประเดิมก่อตั้งมูลนิธิฯ เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2549 ชมรมคนรักวัง โทรศัพท์ 02-354-7732 อนุรักษ์พระราชวังพญาไท.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและมูลนิธิอนุรักษ์พระราชวังพญาไท · ดูเพิ่มเติม »

ยาสชา ไฮเฟตซ์

ฟตซ์ (Jascha Heifetzas) เป็นนักไวโอลินชาวยิวรัสเซีย-ลิทัวเนีย ซึ่งส่วนใหญ่ใช้ชีวิตอยู่ในสหรัฐอเมริกา และโอนสัญชาติเป็นชาวอเมริกัน ไฮเฟตซ์ได้รับการยกย่องเป็นอัจฉริยะ เป็นหนึ่งในนักไวโอลินที่ดีที่สุดตลอดกาล ไฮเฟตซ์เกิดในครอบครัวชาวยิวที่เมืองวิลนุส ในจักรวรรดิรัสเซีย ปัจจุบันเป็นเมืองหลวงของลิทัวเนีย บิดาเป็นครูสอนไวโอลินและหัวหน้าวงออร์เคสตราแห่งเมืองวิลนุส ซึ่งเป็นครูดนตรีคนแรกของเขาตั้งแต่อายุ 4 ปี ไฮเฟตซ์แสดงความสามารถทางดนตรีให้เห็นมาตั้งแต่เด็ก และได้เข้าศึกษาต่อที่สถาบันดนตรีแห่งกรุงเซนต์ปีเตอร์สเบิร์กตั้งแต่อายุ 9 ปี โดยเป็นลูกศิษย์ของลีโอโปลด์ อาวเออร์ และเริ่มตระเวนแสดงในยุโรปตั้งแต่อายุ 12 ปี ไฮเฟตซ์มีโอกาสได้แสดงในสหรัฐอเมริกาตั้งแต่อายุ 16 ปี โดยเปิดตัวที่คาร์เนกีฮอลล์เมื่อวันที่ 7 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและยาสชา ไฮเฟตซ์ · ดูเพิ่มเติม »

ยุกิ คะจิอุระ

ูกิ คะจิอุระ ยูกิ คะจิอุระ เกิดวันที่ 6 สิงหาคม พ.ศ. 2508 ณ เมืองโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น เป็นนักแต่งเพลงและโปรดิวเซอร์ และได้ประพันธ์เพลงประกอบอะนิเมะหลายเรื่อง เช่น สึบาสะ สงครามเทพข้ามมิติ,.hack//SIGN, Noir, อควอเรียนเอจ, ไม-HiME, ไม-Otome อีกทั้งยังเคยร่วมกับซาฮะชิ โทชิฮิโกะ ประพันธ์เพลงให้กับอะนิเมะเรื่องโมบิลสูทกันดั้มซี้ดและโมบิทสูทกันดั้มซี้ดเดสทินี นอกจากนี้ยังได้ทำเพลงประกอบวิดีโอเกมเซโนซาก้าด้ว.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและยุกิ คะจิอุระ · ดูเพิ่มเติม »

ราเด็ตสกีมาร์ช

ราเด็ตสกีมาร์ช โอปุสที่ 228 (Radetzky March, Op.) เป็นเพลงมาร์ชที่แต่งโดยโยฮันน์ ชเตราสส์ ที่หนึ่ง ในปี..

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและราเด็ตสกีมาร์ช · ดูเพิ่มเติม »

ร็อก

ร็อก (Rock) แนวเพลงที่ได้รับความนิยม มีต้นกำเนิดจากดนตรีร็อกแอนด์โรลในสหรัฐอเมริกาในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1950 และเริ่มพัฒนาสู่แนวเพลงหลายแขนงในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1960 และช่วงหลังจากนั้น โดยเฉพาะในสหราชอาณาจักรและสหรัฐอเมริกาW.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและร็อก · ดูเพิ่มเติม »

วัฒนธรรม

วัฒนธรรม โดยทั่วไปหมายถึง รูปแบบของกิจกรรมมนุษย์และโครงสร้างเชิงสัญลักษณ์ที่ทำให้กิจกรรมนั้นเด่นชัดและมีความสำคัญ วิถีการดำเนินชีวิต ซึ่งเป็นพฤติกรรมและสิ่งที่คนในหมู่ผลิตสร้างขึ้น ด้วยการเรียนรู้จากกันและกัน และร่วมใช้อยู่ในหมู่พวกของตน ซึ่งสามารถเปลี่ยนแปลงได้ตามยุคสมัย และ ความเหมาะสม แต่ถ้าเป็นในวิชาหน้าที่พลเมืองจะแปลว่าสิ่งที่มนุษย์ เปลี่ยนแปลงเพื่อความเจริญงอกงาม และสืบต่อกันมา วัฒนธรรมส่วนหนึ่งสามารถแสดงออกผ่าน ดนตรี วรรณกรรม จิตรกรรม ประติมากรรม การละครและภาพยนตร์ แม้บางครั้งอาจมีผู้กล่าวว่าวัฒนธรรมคือเรื่องที่ว่าด้วยการบริโภคและสินค้าบริโภค เช่น วัฒนธรรมระดับสูง วัฒนธรรมระดับต่ำ วัฒนธรรมพื้นบ้าน หรือวัฒนธรรมนิยม เป็นต้น แต่นักมานุษยวิทยาโดยทั่วไปมักกล่าวถึงวัฒนธรรมว่า มิได้เป็นเพียงสินค้าบริโภค แต่หมายรวมถึงกระบวนการในการผลิตสินค้าและการให้ความหมายแก่สินค้านั้น ๆ ด้วย ทั้งยังรวมไปถึงความสัมพันธ์ทางสังคมและแนวการปฏิบัติที่ทำให้วัตถุและกระบวนการผลิตหลอมรวมอยู่ด้วยกัน ในสายตาของนักมานุษยวิทยาจึงรวมไปถึงเทคโนโลยี ศิลปะ วิทยาศาสตร์รวมทั้งระบบศีลธรรม วัฒนธรรมในภูมิภาคต่าง ๆ อาจได้รับอิทธิพลจากการติดต่อกับภูมิภาคอื่น เช่น การเป็นอาณานิคม การค้าขาย การย้ายถิ่นฐาน การสื่อสารมวลชนและศาสนา อีกทั้งระบบความเชื่อ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องศาสนามีบทบาทในวัฒนธรรมในประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติมาโดยตลอ.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและวัฒนธรรม · ดูเพิ่มเติม »

วาเนสซา เมย์

Vanessa-Mae The Classical Album 1 วาเนสซ่า เมย์ (Vanessa-Mae) เกิดวันที่ 27 ตุลาคม พ.ศ. 2521 ที่สิงคโปร์ เป็นนักไวโอลิน ลูกครึ่งไทย-สิงคโปร.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและวาเนสซา เมย์ · ดูเพิ่มเติม »

วีทรีโอ

วีทรีโอ หรือบางครั้งเขียน วี ทรีโอ้ (Vie Trio) เป็นกลุ่มดนตรีคลาสสิกัลครอสโอเวอร์ 3 ชิ้น ประกอบด้วยไวโอลิน 2 ตัว และเชลโล ในสังกัดเอ็กแซ็กท์ ในเครือจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ โดยนักดนตรีสามพี่น้อง คือ ทวีเวท ศรีณรงค์ (เป้ เล่นไวโอลิน) อุทัยศรี ศรีณรงค์ (ป่าน เล่น เชลโล) และพินทุสร ศรีณรงค์ (ปุย เล่นไวโอลิน) ทั้งสามคนเป็นบุตรของสุทิน ศรีณรงค์ นักดนตรีคลาสสิก ซึ่งเล่นดนตรีคลาสสิกมาตั้งแต่เด็ก และเป็นนักเรียนทุนในพระอุปถัมภ์ในสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ มาตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและวีทรีโอ · ดูเพิ่มเติม »

วีตัส

ลายเซ็น วีทาลี วลาดาโซวิช กราชอฟ (Vitaly Vladasovich Grachyov; เกิดวันที่ 19 กุมภาพันธ์ ค.ศ.1979) หรือที่รู้จักในชื่อ วีตัส (Vitas) เป็นนักร้องชาวรัสเซียที่เกิดในลัตเวีย ผู้มีจุดเด่นในการใช้เสียงสูงระดับเฮดวอยซ์ (Head Voice) โดยเขาเป็นนักร้องชายที่มีความกว้างของเสียงมากถึง 5 อ็อกเทฟ งานเพลงของวีตัส มักจะทำออกมาในแนวดนตรีอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งมีส่วนผสมของดนตรีคลาสสิค แจ๊ส เทคโน แดนซ์ รวมถึงเพลงพื้นเมือง โดยบทเพลงของวีตัสที่ถือว่าประสบความสำเร็จและทำให้เขาเป็นที่รู้จักไปทั่วโลกคือเพลง "โอเปราทู" (Opera 2) และเพลง "เดอะเซเวนต์เอลลีเมนต์" (The 7th Element) ที่อยู่ในอัลบั้ม Philosophy of Miracle ซึ่งผลงานเพลงของเขาเป็นที่รู้จักในฐานะ 'เพลงแห่งอนาคต'.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและวีตัส · ดูเพิ่มเติม »

วงดนตรี

วงดนตรี หรือ กลุ่มดนตรี (musical ensemble, music group) เป็นกลุ่มคนที่เล่นเครื่องดนตรีหรือใช้เสียงร้อง โดยมีชื่อแต่ละวงเป็นที่รู้จักต่างกันไป ในดนตรีคลาสสิก มีกลุ่มคนที่ประกอบด้วย 3 หรือ 4 คน ที่ใช้กลุ่มเครื่องดนตรีต่างกันเล่นเพื่อผสานเสียงกัน (เช่น เปียโน เครื่องสาย และ เครื่องเป่า) หรือกลุ่มคนที่ใช้เครื่องดนตรีเหมือนกันเพื่อเล่นพร้อมกันก็เรียกว่า กลุ่มดนตรีเครื่องสาย หรือ กลุ่มดนตรีเครื่องเป่า ในกลุ่มดนตรีแจ๊ส มักจะใช้เครื่องเป่า (เช่น แซกโซโฟน ทรัมเป็ต ฯลฯ) เครื่องดนตรีที่มีการจับ 1 หรือ 2 คอร์ด (กีตาร์ไฟฟ้า, เปียโน, หรือ ออร์แกน) เครื่องดนตรีเบส (กีตาร์เบส หรือ ดับเบิลเบส) พร้อมกับคนตีกลอง หรือ คนเล่นเครื่องกระทบ ในกลุ่มดนตรีร็อก หรือ วงดนตรีร็อก มักจะใช้กีตาร์และคีย์บอร์ด (เปียโน เปียโนไฟฟ้า แฮมมอนด์ออร์แกน เครื่องสังเคราะห์เสียง ฯลฯ) และมีท่อนจังหวะจากกีตาร์เบสและกลองชุด หมวดหมู่:กลุ่มดนตรี.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและวงดนตรี · ดูเพิ่มเติม »

ศุภรุจ เตชะตานนท์

รุจ เตชะตานนท์ หรือ รุจ เป็นนักร้องชาวไทย มีชื่อเสียงจากการประกวดในรายการ เดอะสตาร์ ค้นฟ้าคว้าดาวปี 4 และได้รางวัลรองชนะเล.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและศุภรุจ เตชะตานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์

ตราจารย์ (พิเศษ) พลเอกหญิง พลเรือเอกหญิง พลอากาศเอกหญิง สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ (ประสูติ: 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2466 ณ กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน ฉบับกาญจนาภิเษก,; สิ้นพระชนม์: 2 มกราคม พ.ศ. 2551 โรงพยาบาลศิริราช กรุงเทพมหานคร) เป็นพระธิดาพระองค์ใหญ่ในสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก (สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ามหิดลอดุลยเดช กรมขุนสงขลานครินทร์ พระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า) และสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี (หม่อมสังวาลย์ มหิดล ณ อยุธยา) เป็นสมเด็จพระเชษฐภคินีในพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดลกับพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และเป็นสมเด็จพระราชปิตุจฉาในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ได้ทรงบำเพ็ญพระกรณียกิจมากมายแก่ประเทศชาติ เพื่อแบ่งเบาพระราชภาระของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี มีโครงการในพระอุปถัมภ์หลายร้อยโครงการ ทั้งด้านการศึกษา การสังคมสงเคราะห์ การแพทย์และการสาธารณสุข การต่างประเทศ การศาสนา และอื่น ๆ กับทั้งยังมีพระปรีชาสามารถด้านการเขียน ด้านการกีฬา และด้านการถ่ายภาพ พระองค์มีพระอาการผิดปกติเกี่ยวกับพระนาภี และได้เข้าประทับรักษาพระอาการประชวร ณ อาคารเฉลิมพระเกียรติ โรงพยาบาลศิริราช จนกระทั่งวันพุธที่ 2 มกราคม พ.ศ. 2551 พระอาการประชวรได้ทรุดลงตามลำดับ และสิ้นพระชนม์เมื่อเวลา 02:54 นาฬิกา สิริพระชนมายุ 84 พรรษ.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

สันติ ลุนเผ่

รือตรีไพศาล ลุนเผ่ หรือชื่อในวงการว่า สันติ ลุนเผ่ (22 มิถุนายน 2479 —) เป็นข้าราชการทหารชาวไทย และศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ดนตรีสากล) ประจำปี..

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและสันติ ลุนเผ่ · ดูเพิ่มเติม »

สาทิส อินทรกำแหง

ทิส อินทรกำแหง (14 มีนาคม พ.ศ. 2469 — 28 ตุลาคม พ.ศ. 2555) เป็นนักเขียนและบรรณาธิการหนังสือ, ผู้ริเริ่มและเผยแพร่การแพทย์แบบผสมผสาน และการรักษาสุขภาพตามหลักธรรมชาติ เข้ามาในประเทศไทย ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของแนวทางสุขภาพแบบชีวจิต และเป็นผู้ได้รับรางวัลนราธิป ประจำปี พ.ศ. 2549.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและสาทิส อินทรกำแหง · ดูเพิ่มเติม »

สุกรี เจริญสุข

รองศาสตราจารย์ ดอกเตอร์ สุกรี เจริญสุข หรือ ดร.แซ็ก (เกิด พ.ศ. 2495 ที่จังหวัดนครศรีธรรมราช) เป็นผู้ก่อตั้ง ผู้อำนวยการและคณบดีวิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล ประธานกรรมการในคณะกรรมการบริหารหอภาพยนตร์ ในคณะกรรมการบริหารหอภาพยนตร์ทั้งยังเป็นผู้ก่อตั้งวงดนตรีคลาสสิกเยาวชน ดร.แซ็ก เชมเบอร์ ออร์เคสตร.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและสุกรี เจริญสุข · ดูเพิ่มเติม »

สุรพงษ์ บุนนาค

รพงษ์ บุนนาค นักเขียนนวนิยาย บทความ สารคดี เจ้าของรางวัลนราธิป ประจำปี..

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและสุรพงษ์ บุนนาค · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันดนตรีกัลยาณิวัฒนา

ันดนตรีกัลยาณิวัฒนา (Princess Galyani Vadhana Institute of Music; ชื่อย่อ: สกว. – PGVIM) เป็นสถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐ ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 26 พฤษภาคม..

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและสถาบันดนตรีกัลยาณิวัฒนา · ดูเพิ่มเติม »

สถานีโทรทัศน์แห่งชาติสเปน

Televisión Española (คำอ่าน: เตเลบีซีออนเอสปาโญลา แปลตรงตัว: สถานีโทรทัศน์สเปน) เป็นสถานีวิทยุโทรทัศน์สาธารณะแห่งประเทศสเปน TVE ได้มีความเคลื่อนไหวในเรื่องเงินทุน และการประกาศลงโฆษณา ซึ่งรายได้มาจากเงินทุนของรัฐบาลแห่งชาติสเปน TVE เป็นสมาชิกของ บรรษัทการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งสเปน(RTVE Corporation) ส่วนทั้งหมดเป็นหน้าที่ของการกระจายเสียงวิทยุโทรทัศน์สาธารณะ ซึ่งอยู่ภายใต้ผู้บริหารรัฐสภาที่ได้มาจากการแต่งตั้งทั่วไป และเป็นคณะกรรมการและกรรมการ ได้ให้รายงานต่อคณะกรรมการพรรครัฐสภาแห่งชาติ จึงให้มีกฎหมายวิทยุและโทรทัศน์สื่อสารมวลชนในปี..

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและสถานีโทรทัศน์แห่งชาติสเปน · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมหลวงอัศนี ปราโมช

ลเรือเอก หม่อมหลวง อัศนี ปราโมช (ภาษาอังกฤษ: Admiral ML Usni Pramoj; 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2477 - 2 เมษายน พ.ศ. 2560) อดีตองคมนตรี และผู้จัดการทรัพย์สินส่วนพระองค์ พลเรือเอก หม่อมหลวงอัศนี มีชื่อเล่นว่า "ตุ้ย" เป็นบุตรของหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช อดีตนายกรัฐมนตรี และท่านผู้หญิงอุศนา ปราโมช ณ อยุธยา สมรสกับท่านผู้หญิงวราพร ปราโมช ณ อยุธยา (สกุลเดิม ชลวิจารณ์) มีบุตรทั้งหมด 5 คน ม.ล.อัศนี ปราโมช มีผลงานทางดนตรีมากมาย เป็นนักไวโอลิน นักวิโอล่า ผู้ประพันธ์เพลง และผู้อำนวยเพลง เป็นผู้บุกเบิกก่อตั้งวงดุริยางค์ซิมโฟนีกรุงเทพ ทำให้ได้รับการยกย่องเป็น ศิลปินแห่งชาติสาขาศิลปะการแสดง (ดนตรีสากล) เมื่อปี พ.ศ. 2537.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและหม่อมหลวงอัศนี ปราโมช · ดูเพิ่มเติม »

หลาง หล่าง

หลางหลาง หลาง หล่าง เป็นนักเปียโนชาวจีน มีชื่อเสียงจากการแสดงคอนเสิร์ตดนตรีคลาสสิกในสหรัฐอเมริกาและยุโรป ปัจจุบันอาศัยอยู่ในสหรัฐอเมริกา หลาง หล่างเป็นชาวจีนเชื้อสายแมนจู เกิดที่เมืองเสิ่นหยาง มณฑลเหลียวหนิง เมื่อวันที่ 14 มิถุนายน..

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและหลาง หล่าง · ดูเพิ่มเติม »

หลี่ หยุนตี๋

หลี่ หยุนตี๋ หรือที่รู้จักในชื่อ ยุนดิ เป็นนักเปียโนคลาสสิคชาวจีน เขามีชื่อเสียงอย่างมากจากการชนะเลิศในรายการประกวด International Frédéric Chopin Piano Competition ในปี 2000 ซึ่งขณะนั้นด้วยวัยเพียง 18 ปี ทำให้เขาเป็นนักเปียโนชาวเอเชียที่อายุน้อยที่สุดในประวัติศาสตร์ที่ชนะเลิศรายการแข่งขันเปียโนระดับโลก.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและหลี่ หยุนตี๋ · ดูเพิ่มเติม »

อันโตนีโอ ซาลีเอรี

thumb อันโตนีโอ ซาลีเอรี เกิดที่เลญญาโก (ใกล้กับเมืองเวโรนา) ประเทศอิตาลี เมื่อวันที่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2293 (ค.ศ. 1750) เสียชีวิตที่กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย เมื่อวันที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2368 (ค.ศ. 1825) ซาลีเอรีมีบทบาทในประวัติศาสตร์ดนตรีคลาสสิก แตกต่างไปจากที่เราเห็นในภาพยนตร์เรื่อง อมาเดอุส ที่ทำให้เราเชื่อว่าเขาเป็นเช่นนั้น.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและอันโตนีโอ ซาลีเอรี · ดูเพิ่มเติม »

อารัม คาชาตูเรียน

thumb อารัม อีลิช คาชาตูเรียน (Արամ Խաչատրյան; Ара́м Ильи́ч Хачатуря́н; Aram Khachaturian; 6 มิถุนายน ค.ศ. 1903 - 1 พฤษภาคม ค.ศ. 1978) เป็นคีตกวีชาวโซเวียตเชื้อสายอาร์มีเนีย ได้รับการยกย่องเป็น "1 ใน 3 ยักษ์ใหญ่" ของดนตรีโซเวียต ควบคู่ไปกับดมีตรี ชอสตโกวิช และเซียร์เกย์ โปรโคเฟียฟ คาชาตูเรียนเกิดที่ทบิลิซี เป็นลูกคนสุดท้องในจำนวน 5 คน จากครอบครัวชาวอาร์มีเนียพลัดถิ่นที่อพยพมาจากนาคีชีวัน อาเซอร์ไบจาน เมื่ออายุได้ 19 ปี เขาย้ายมาอาศัยในมอสโก และเข้าศึกษาที่วิทยาลัยดนตรีมอสโก เมื่อปี..

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและอารัม คาชาตูเรียน · ดูเพิ่มเติม »

อิกอร์ สตราวินสกี

อิกอร์ เฟโดโรวิช สตราวินสกี้ (И́горь Фёдорович Страви́нский; Igor Stravinsky; 17 มิถุนายน ค.ศ. 1882 — 6 เมษายน ค.ศ. 1971)) เป็นคีตกวีดนตรีคลาสสิกสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 20 ชาวรัสเซีย สตราวินสกี้ ราวปี 1950 สตราวินสกี้เป็นบุตรชายของนักร้องชื่อดังแห่งโรงละครหลวง เขาเกิดที่เมืองออรานีนบาม (Oranienbaum) ซึ่งตอนนี้เปลี่ยนเป็นชื่อ โลโมโนซอฟ (Lomonosov) ใกล้กับนครเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก ในประเทศรัสเซีย เขาเรียนด้านกฎหมายกับเปียโน ก่อนที่จะมาเป็นศิษย์ของนิโคไล ริมสกี้-คอร์ซาคอฟ บทเพลงชื่อดังชิ้นแรกของเขาได้แก่ วิหคเพลิง (ค.ศ. 1910 ด้วยการจ้างของแซร์จ เดียกิเลฟ เพื่อใช้แสดงในคณะบัลเลต์รัสเซีย ตามมาด้วยเพลง เปทรูชก้า (ค.ศ. 1911) พิธีบูชายัญในฤดูใบไม้ผลิ (ค.ศ. 1913) และอุปรากร เรื่อง นกไนติงเกล (ค.ศ. 1914) มีเรื่องที่วิพากษ์วิจารณ์กันมากเกี่ยวกับบัลเลต์เรื่อง พิธีบูชายัญในฤดูใบไม้ผลิ ทั้งจากท่าเต้น และความไม่เหมือนใครของดนตรีประกอบ ทำให้สตราวินสกี้กลายเป็นคีตกวี ที่มีชื่อเสียงมากที่สุดในคริสต์ศตวรรษที่ 20 สตราวินสกี้เสียชีวิตที่นิวยอร์ก ศพของเขาถูกฝังไว้ที่สุสานซาน มิเชลในนครเวนิซ ประเทศอิตาลี.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและอิกอร์ สตราวินสกี · ดูเพิ่มเติม »

อิเล็กทริกไลต์ออร์เคสตรา

อิเล็กทริกไลต์ออร์เคสตรา (Electric Light Orchestra) หรือ อีแอลโอ (ELO) เป็นกลุ่มดนตรีซิมโฟนิกร็อกสัญชาติอังกฤษ ก่อตั้งโดยรอย วูดและเจฟฟ์ ลินน์ เพื่อสร้างผลงานเพลงร็อกผสมผสานกับเครื่องดนตรีคลาสสิกคือเชลโล ไวโอลิน และเครื่องเป่า ก่อนที่รอย วูดจะขัดแย้งกับเจฟฟ์ ลินน์จากความคิดเห็นแนวดนตรีไม่ตรงกัน ทำให้รอย วูดออกไปตั้งคณะวิซซาร์ด (Wizzard) เล่นแนวคลาสสิกร็อกและทำให้เจฟฟ์ ลินน์ยึด "อีแอลโอ" โดยเบ็ดเสร็จตั้งแต่ชุด ELO 2 ในปี 1973 โดยเจฟฟ์ ลินน์ทั้งแต่งเพลง เล่นกีตาร์ เปียโน เรียบเรียงและร้องเอง รวมถึงการเป็นโปรดิวเซอร์ ELO ได้รับอิทธิพลมาจากผลงานของเดอะบีตเทิลส์ โดยเจฟฟ์ ลินน์ ตั้งใจจะให้อีแอลโอทำดนตรี "สานต่อจากแนวทางของเดอะบีตเทิลส์" จนได้รับความนิยมในประเทศอังกฤษด้วยเพลงเก่าของ Chuck Berry (Roll over Bethoven) (1972) ก่อนจะเริ่มได้รับความนิยมตามมาในสหรัฐอเมริกาจากเพลง "Show down" (On the Third Day) อีแอลโอประสบความสำเร็จสูงสุดช่วงกลางทศวรรษ 1970 จนถึงปี 1980 มีผลงานติดอันดับท็อป 40 ในสหรัฐอเมริกาและอังกฤษทั้งสิ้น 27 ซิงเกิล ทั้งยังถือสถิติเป็นศิลปินที่มีซิงเกิลติดอันดับฮอต 100 และ ทอป 40 มากที่สุด โดยไม่มีซิงเกิลใดเคยขึ้นถึงอันดับหนึ่งเลย ในยุคหลังปี 1980 ก่อนการสลายวง เจฟฟ์ ลินน์พยายามตัดเครื่องดนตรีซิมโฟนิก ซึ่งเป็นเครื่องสายออกจากงานของอีแอลโอและนำเครื่องดนตรีซินทีไซเซอร์มาแทนที่เพื่อทดลองงานรูปแบบป็อปร็อกและดิสโก จนเหลือสมาชิกในวงเพียง 4 คน โดยผลงานชุดสุดท้ายก่อนสลายวงในปี 1986 ได้แก่อัลบั้ม Balance of Power หลังจากนั้น 15 ปีต่อมา เจฟฟ์ ลินน์ กลับมาทำอัลบั้ม "Zoom" (2001) ซึ่งมีแนวเพลงกลับไปเหมือนยุคแรกของวง โดยมีสมาชิกดั้งเดิมคือ Richard Tandy มือคีย์บอร์ดและมีศิลปินรับเชิญเป็นอดีตสมาชิกเดอะบีตเทิลส์ ได้แก่ จอร์จ แฮร์ริสันและริงโก สตาร์ ในปี 2015 เจฟฟ์ ลินน์ได้ออกอัลบัม "Alone in the Universe" โดยใช้ชื่อวงว่า Jeff Lynne's ELO ชื่อ "อิเล็กทริกไลต์ออร์เคสตรา" เป็นการเล่นคำระหว่าง Electric Light หรือหลอดนีออนเรืองแสง ที่ปรากฏบนภาพปกอัลบัมและโลโก้ของวงในยุคแรก เลียนแบบหลอดไฟตกแต่งตู้เพลงยี่ห้อวูร์ลิทเซอร์ (Wurlitzer jukebox) รุ่นปี 1946 ผสมกับคำว่า Light Orcherstra หมายถึงวงออร์เคสตราขนาดเล็กที่ใช้ไวโอลินและเชลโลเป็นเครื่องดนตรี.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและอิเล็กทริกไลต์ออร์เคสตรา · ดูเพิ่มเติม »

อุปรากร

รงอุปรากรซิดนีย์ในประเทศออสเตรเลีย เป็นโรงอุปรากรที่มีชื่อเสียงที่สุดแห่งหนึ่งของโลก อุปรากร (opera) เป็นศิลปะการแสดงบนเวทีชนิดหนึ่ง โดยมีลักษณะเป็นแบบละครที่ดำเนินเรื่องโดยใช้ดนตรีเป็นหลักหรือทั้งหมด อุปรากรถือเป็นส่วนหนึ่งของดนตรีคลาสสิก ตะวันตก มีความใกล้เคียงกับละครเวทีในเรื่องฉาก การแสดง และเครื่องแต่งกาย แต่สิ่งสำคัญที่แยกอุปรากรออกจากละครเวทีทั่วไป คือ ความสำคัญของเพลง ดนตรีที่ประกอบการร้อง ซึ่งอาจมีตั้งแต่วงดนตรีขนาดเล็กจนไปถึงวงออร์เคสตราขนาดใหญ.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและอุปรากร · ดูเพิ่มเติม »

อเล็กซานเดอร์ รืยบัค

อเล็กซานเดอร์ อีการาวิช รืยบัค (Аляксандр І́гаравіч Рыбак Alyaxandr Igaravich Rybak) เกิดเมื่อวันที่ 13 พฤษภาคม ค.ศ. 1986 เมืองมินสค์ ในเบลารุส แต่เติบโตในเนซอดเดน ซึ่งอยู่นอกกรุงออสโล ประเทศนอร์เวย์ เป็นนักร้อง-นักแต่งเพลง นักไวโอลิน นักเปียโน นักเขียนและนักแสดง ชาวนอร์เวย์ เขาชนะรางวัลชนะเลิศ ในการประกวดแสดงความสามารถของนอร์เวย์ จากเพลงที่เขาแต่ง โดยในปี 2009 เขาเป็นตัวแทนของประเทศนอร์เวย์ในการแข่งขันการประกวดเพลงยูโรวิชัน‎ ในมอสโคว์ ประเทศรัสเซีย โดยเขาชนะเลิศการแข่งขันด้วยคะแนน 387 คะแนน ถือเป็นสถิติคะแนนที่สูงที่สุดในการแข่งขัน กับเพลง "Fairytale" ที่เขาทั้งเขียนทั้งเนื้อร้องและทำนอง.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและอเล็กซานเดอร์ รืยบัค · ดูเพิ่มเติม »

ฮาร์ตเลส

"ฮาร์ตเลส" (Heartless) เป็นเพลงจากอัลบั้มแทร็กที่ 9 ของค็อกเทล ในอัลบั้ม เดอะลอดส์ออฟมิสเซอรี ประพันธ์คำร้อง-แต่งทำนองโดย ปัณฑพล ประสารราชกิจ (โอม) และเรียบเรียงโดย ค็อกเทล ออกจำหน่ายในวันที่ 2 ตุลาคม พ.ศ. 2557 เพลง "ฮาร์ตเลส" เป็นเพลงเดียวในอัลบั้มนี้ที่ใช้ชื่อเพลงเป็นภาษาอังกฤษ แปลเป็นคำว่า "ไร้หัวใจ" ตามเนื้อเพลงในท่อนแรก และท่อนแยก และเพลงนี้ได้นำไปเป็นชื่อคอนเสิร์ตใหญ่ครั้งแรกของค็อกเทล เดอะฮาร์ตเลสไลฟ นอกจากนี้ ในวันที่ 8 มิถุนายน..

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและฮาร์ตเลส · ดูเพิ่มเติม »

จอร์จ เกิร์ชวิน

อร์จ เกิร์ชวิน (George Gershwin; 26 กันยายน ค.ศ. 1898 - 11 กรกฎาคม ค.ศ. 1937) นักเปียโนและนักแต่งเพลงชาวอเมริกัน มีผลงานในแนวดนตรีคลาสสิก และเพลงป็อบ โดยเป็นผู้ประพันธ์บทเพลงประกอบละครบรอดเวย์ที่มีชื่อเสียง ทั้งในนามส่วนตัว และผลงานร่วมกับไอรา เกิร์ชวิน พี่ชาย ที่เป็นผู้ประพันธ์คำร้อง ผลงานที่มีชื่อเสียง เช่น ออร์เคสตราสำหรับเปียโน Rhapsody in Blue (1924), An American in Paris (1928) อุปรากร Porgy and Bess (1935) ซึ่งมีเพลงที่ไพเราะและได้รับชื่อเสียงอย่างมากคือ Summertimes และเพลงประกอบภาพยนตร์ Shall We Dance (1937) จอร์จ เกิร์ชวิน เดิมชื่อ ยาค็อบ เกิร์ชโชวิตซ์ (Jacob Gershowitz) บิดาเป็นชาวรัสเซียอพยพมาจากเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก ชื่อ มอร์ริส เกิร์ชโชวิตซ์ ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อสกุลเป็น เกิร์ชวิน (Gershvin, สะกดด้วย v) จอร์จเป็นลูกคนที่สองในจำนวนสี่คน มีพี่ชายชื่อ อิสราเอล เกิร์ชโชวิตซ์ (ไอรา เกิร์ชวิน) มีน้องชายชื่อ อาร์เทอร์ และน้องสาวชื่อ ฟรานเชส จอร์จเป็นคนแรกในตระกูลเกิร์ชวินที่เปลี่ยนวิธีสะกดนามสกุล จาก "Gershvin" เป็น "Gershwin" จอร์จ เกิร์ชวินเริ่มชีวิตการแสดงดนตรีตั้งแต่อายุ 15 ปี และเริ่มมีผลงานบันทึกเสียงเมื่ออายุ 17 ปี ในปี..

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและจอร์จ เกิร์ชวิน · ดูเพิ่มเติม »

จอน ลอร์ด

นาทาน ดักลาส "จอน" ลอร์ด (Jonathan Douglas "Jon" Lord) นักแต่งเพลง นักเปียโนและออร์แกน มีชื่อเสียงในฐานะนักดนตรีผู้บุกเบิกดนตรีแนวผสมผสานระหว่างร็อก คลาสสิก บาโรก เป็นผู้นำดนตรีเฮฟวีเมทัลและฮาร์ดร็อก โดยเป็นอดีตหัวหน้าวงและผู้ก่อตั้งดีพ เพอร์เพิลมาตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและจอน ลอร์ด · ดูเพิ่มเติม »

จากเหมาถึงโมซาร์ท

กเหมาถึงโมซาร์ท (From Mao to Mozart: Isaac Stern in China) เป็นภาพยนตร์สารคดีโดยเมอร์เรย์ เลิร์นเนอร์ ผู้กำกับชาวอเมริกัน เกี่ยวกับการเผยแพร่วัฒนธรรมตะวันตกเข้าไปในประเทศจีนในช่วงปลายทศวรรษ 1970 หลังสิ้นสุดการปฏิวัติวัฒนธรรม เป็นการติดตามถ่ายทำการเดินทางของไอแซก สเติร์น นักไวโอลินระดับโลก และครูสอนดนตรีที่ได้รับเชิญให้เดินทางท่องเที่ยวไปตามสถานที่ต่างๆ ในประเทศจีน เพื่อ "แลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรม" ช่วงเดือนมิถุนายน..

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและจากเหมาถึงโมซาร์ท · ดูเพิ่มเติม »

ทอคคาตา แอนด์ ฟิวก์ ในบันไดเสียง ดี ไมเนอร์ (BWV 565)

หน้าแรกของสำเนาโน้ตดนตรีโดยโยฮันน์ ริงค์ ทอคคาตา แอนด์ ฟิวก์ ในบันไดเสียง ดี ไมเนอร์, BWV 565 (Toccata and Fugue in D minor, BWV 565) เป็นบทประพันธ์สำหรับบรรเลงด้วยออร์แกน ที่สันนิษฐานว่าแต่งโดยโยฮันน์ เซบาสเตียน บาค ในช่วงระหว่าง..

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและทอคคาตา แอนด์ ฟิวก์ ในบันไดเสียง ดี ไมเนอร์ (BWV 565) · ดูเพิ่มเติม »

ทเวลฟ์เกิลส์แบนด์

หน้าปกอัลบั้ม Miracle และบันทึกการแสดงสดที่ประเทศญี่ปุ่น ทเวลฟ์เกิลส์แบนด์ (Twelve Girls Band) กลุ่มดนตรีสัญชาติจีน กำเนิดขึ้นที่กรุงปักกิ่ง จีนแผ่นดินใหญ่ เป็นกลุ่มดนตรีของนักดนตรีสาวสวยชาวจีนทั้งหมด 12 คน ที่เล่นดนตรีจีนด้วยเครื่องดนตรีจีนโบราณ เช่น กู่เจิง, ผีผา, ขลุ่ยไม้ไผ่จีน, เอ้อหู, ขิมจีน ผสมกับดนตรีคลาสสิกในยุคปัจจุบัน ในปี พ.ศ. 2544 ทเวลฟ์เกิลส์แบนด์ ได้ถือกำเนิดขึ้น ด้วยแนวคิดต้องการจะเผยแพร่ดนตรีจีนออกไปสู่ชาวโลกในแบบสากล จึงมีการรวมกลุ่มของนักดนตรีสาวสวย ที่มีความสามารถจากการคัดเลือกจากโรงเรียนสอนศิลปะจีนทั่วประเทศ โดยจะคัดเลือกจากผู้ที่มีคุณสมบัติ มีความสามารถเฉพาะในเครื่องดนตรีประเภทต่าง ๆ และชนะเลิศในการประกวด มีทั้งหมด 18 คน แต่นำเสนอเพียง 12 คน ในการโปรโมตหรือแสดงคอนเสิร์ต โดยอัลบั้มชุดแรกมีชื่อว่า Beautiful Energy ในปี พ.ศ. 2546 อัลบั้มชุดที่ 2 ชื่อ Miracle ประสบความสำเร็จอย่างมากทั้งในและนอกประเทศ ในประเทศญี่ปุ่นสามารถทำยอดขายได้ถึง 2 ล้านแผ่น พร้อมกับได้เปิดแสดงคอนเสิร์ตในประเทศญี่ปุ่นเป็นครั้งแรก และได้มีบันทึกการแสดงออกมาด้วย คอนเสิร์ตของ ทเวลฟ์เกิลส์แบนด์ จะถูกนำเสนอด้วยความโดดเด่นทางเทคนิคทางภาพ สี เสียง อย่างงดงาม พร้อมด้วยเครื่องดนตรีอิเล็กโทรนิคที่เล่นผสมกับเครื่องดนตรีจีนโบราณ เป็นดนตรีในยุคปัจจุบัน เช่น ป๊อป, แจ๊ส, บลูส์ หรือแม้แต่กระทั่ง ร็อก และการแต่งตัวของนักดนตรีที่แลดูสวยงาม ทันสมัย ในประเทศไทย ทเวลฟ์เกิลส์แบนด์ ได้เดินทางมาแสดงคอนเสิร์ต 2 รอบ ในวันที่ 21 มิถุนายน และ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2547 ที่ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ โดยการจัดของมูลนิธิสายใจไทย ซึ่งเป็นการสานสัมพันธ์ไทย - จีน ด้วย โดยในรอบแรกจัดเป็นคอนเสิร์ตการกุศล.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและทเวลฟ์เกิลส์แบนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ณัฐ ยนตรรักษ์

ณัฐ ยนตรรักษ์ เป็นนักเปียโน นักประพันธ์เพลงที่มีชื่อเสียงของไทย มีผลงานการเล่นเป็นที่ยอมรับในระดับนานาชาติ เป็นผู้ได้รับรางวัลศิลปาธร สาขาคีตศิลป์ จัดโดยสำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ประจำปี..

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและณัฐ ยนตรรักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

ดุษฎี พนมยงค์

ษฎี พนมยงค์ บุญทัศนกุล (18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2482) ศิลปินแห่งชาติ เป็นนักดนตรีแนวคลาสสิก เป็นหนึ่งในผู้บุกเบิกการเรียนการสอนวิชาขับร้องคลาสสิกในประเทศไทย มีผลงานผลิตครู อาจารย์ และนักร้องคลาสสิกที่มีคุณภาพอย่างต่อเนื่อง ปัจจุบันเป็นอาจารย์พิเศษวิชาสังคีตนิยม คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ นอกจากนี้ยังได้ก่อตั้งและเป็นผู้อำนวยการคณะนักร้องประสานเสียงสวนพลู และยังเป็นวิทยากรบรรยายในหัวข้อการใช้ดนตรีเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตให้แก่ภาครัฐและเอกชนอย่างสม่ำเสมอ.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและดุษฎี พนมยงค์ · ดูเพิ่มเติม »

ดนตรียุคคลาสสิก

ลาสสิก (Classical period) เป็นยุคของดนตรีระหว่าง..1750-1820 ดนตรีมีการเปิดกว้างสู่ประชาชนเป็นดนตรีนอกโบสถ์ (secular music) มากขึ้น ดนตรียุคคลาสสิกมีลักษณะความเป็นจริง มีความสมดุล และชัดเจนในรูปแบบ ในยุคนี้ดนตรีบรรเลงมีความเด่นกว่าเพลงร้อง ดนตรียุคคลาสสิกเป็นดนตรีบริสุทธิ์ (absolute music) คือ ดนตรีที่ไม่มีจินตนาการอยู่เบื้องหลัง ไม่มีบทกวีประกอบ เป็นดนตรีที่มีแต่เสียงดนตรีบริสุทธิ์ ตรงข้ามกับดนตรีในยุคโรแมนติกที่เป็นดนตรีพรรณนา (program music) คือดนตรีที่มีเรื่องราว ยุคนี้มีกรุงเวียนนาของออสเตรียเป็นศูนย์กลางของดนตรี.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและดนตรียุคคลาสสิก · ดูเพิ่มเติม »

ดนตรียุคโรแมนติก

รแมนติก (ค.ศ.1810-1910) เป็นยุคของดนตรีคลาสสิกในช่วงศตวรรษที่19 ซึ่งเน้นอารมณ์ของดนตรีมากกว่าความสมดุลของบทตอน และเน้นความเป็นตัวตนของคีตกวีมากกว่ากฎเกณฑ์ทางดนตรีที่มีมาแต่เดิม คำว่า "โรแมนติก" ถูกประยุกต์ใช้ในวงการดนตรีปี ค.ศ. 1810 ซึ่งเอามาจากวงการวรรณกรรม มีความหมายว่า อารมณ์ที่รุนแรงของมนุษย์ โดยลักษณะดนตรีแบบโรแมนติกนี้เริ่มขึ้นในงานของนักประพันธ์เพลงและนักดนตรีชื่อ ลุดวิจ ฟาน เบโทเฟน (Ludwig van Beethoven) ดนตรียุคโรแมนติกนั้นเริ่มต้นด้วยเพลงขับร้องและเพลงเปียโนสั้นๆ ต่อมาเป็นเพลงสำหรับวงออร์เคสตร.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและดนตรียุคโรแมนติก · ดูเพิ่มเติม »

ดนตรีแอมเบียนต์

นตรีแอมเบียนต์ เป็นแนวเพลงที่เน้นเรื่องของเสียงมากกว่าตัวโน้ต เน้นบรรยากาศ สภาพสิ่งแวดล้อม ในธรรมชาติ แอมเบียนต์เกิดขึ้นในช่วงต้นศตวรรษที่ 20 เป็นการนำสไตล์เพลงหลาย ๆ อย่างมารวมกัน ไม่ว่าจะเป็นแนวแจ๊ซ, อิเล็กทรอนิกส์, นิวเอจ, ร็อค แอนด์ โรล,ดนตรีคลาสสิก, เร็กเก้, เวิลด์มิวสิก หรือแม้กระทั่งเสียงทั่ว ๆ ไป (Noise) ไบรอัน อีโน่ (สมาชิกวง Roxy Music และโปรดิวเซอร์ของ U2 กับ เดวิด โบวี่) ให้คำนิยามดนตรีแอมเบียนต์ โดยเขียนนิยามดนตรีในอัลบั้มของเขาอัลบั้มชื่อ Ambient 1: Music for Airports ในปี 1978 ดนตรีแอมเบียนต์ เป็นดนตรีที่ไม่ได้เรียกร้องความสนใจ มันเหมือนเสียงบรรยากาศในสกอร์ประกอบหนังที่ไม่มีใครสังเกต เหมือนเสียงเพลงเบาๆ ในลิฟต์ที่ไม่มีใครใส่ใจ หรือเสียงซาวด์เอ็ฟเฟกต์ตามคลื่นวิทยุ ได้ซ่อนตัวเป็นเหมือนชั้นบรรยาก.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและดนตรีแอมเบียนต์ · ดูเพิ่มเติม »

ด็อกวิลล์

็อกวิลล์ (Dogville) เป็นภาพยนตร์ภาษาอังกฤษแนวปรัชญา ดรามา และลึกลับ เขียนบทและกำกับโดยลาร์ส ฟอน เทรียร์ ผู้กำกับภาพยนตร์ชาวเดนมาร์ก นำแสดงโดยนิโคล คิดแมน เป็นภาพยนตร์เรื่องแรกของไตรภาคชุด "สหรัฐอเมริกา ดินแดนแห่งโอกาส" (USA - Land of Opportunities) โดยมีภาคต่อคือเรื่อง แมนเดอร์เลย์ (Manderlay) ออกฉายในปี 2005 และปิดท้ายด้วย วอซิงตัน (Wasington) ที่ยังไม่มีกำหนดการถ่ายทำ ภาพยนตร์แบ่งออกเป็น 9 องก์ เล่าเรื่องราวในทศวรรษ 1930 เกี่ยวกับ เกรซ มัลลิแกน (รับบทโดย คิดแมน) เป็นหญิงสาวที่หลบหนีการตามล่าของอันธพาล มาหลบซ่อนในด็อกวิลล์ เมืองเล็กๆ แถบเทือกเขาร็อกกี การมาถึงของเธอ กลับทำให้ความเป็นอยู่ของชุมชนเมืองเล็กๆ เปลี่ยนไปอย่างสิ้นเชิง เธอได้รับความช่วยเหลือจากชาวเมือง แต่ก็ต้องแลกกับถูกใช้งานเป็นคนรับใช้สารพัด และถูกล่วงละเมิดทางเพศ ภาพยนตร์ถ่ายทำที่โรงถ่ายภาพยนตร์ในสวีเดนด้วยกล้องวิดีโอดิจิตอล โดยใช้ฉากเรียบง่าย คล้ายละครเวที อุปกรณ์ประกอบฉาก และตัวแสดงประกอบ ล้วนอยู่ในโรงถ่ายโล่ง โดยตีเส้นที่พื้นแสดงอาณาบริเวณของห้อง และสถานที่ต่างๆ ไม่มีการกั้นฝาห้อง ในภาพยนตร์ แมนเดอร์เลย์ ภาคต่อมา ก็ถ่ายทำในฉากลักษณะเดียวกันนี้ แต่เปลี่ยนนักแสดงนำจากนิโคล คิดแมน เป็นไบรซ์ ดัลลัส ฮาเวิร์ด ภาพยนตร์ได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลปาล์มทองคำ จากเทศกาลภาพยนตร์เมืองคานส์ ประจำปี 2003 และได้รับการจัดอันดับจากหนังสือพิมพ์เดอะการ์เดียน เป็นภาพยนตร์ยอดเยี่ยมลำดับที่ 8 แห่งทศวรรษ 2000 ดนตรีประกอบภาพยนตร์เกือบทั้งเรื่อง เป็นดนตรีคลาสสิกจากการประพันธ์ของอันโตนีโอ วีวัลดี.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและด็อกวิลล์ · ดูเพิ่มเติม »

ด็อกเตอร์แซ็คแชมเบอร์ออร์เคสตรา

วงด็อกเตอร์แซ็ก แชมเบอร์ออร์เคสตรา (Dr. Sax Chamber Orchestra) เป็นวงดนตรีเยาวชน เพื่อฝึกฝนความสามารถด้านดนตรีคลาสสิก ในโครงการวิจัยพรสวรรค์ศึกษา ของโรงเรียนสอนดนตรีเอื้อมอารีย์ ก่อตั้งโดย สุกรี เจริญสุข ผู้อำนวยการวิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล เมื่อเดือนมีนาคม พ.ศ. 2540 โดยมุ่งเน้นให้ผู้เล่นได้รับประสบการณ์แสดงดนตรี และได้รับการฝึกฝนจากอาจารย์ที่มีความเชี่ยวชาญทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศ จัดให้มีการแสดงสด และบันทึกเสียงอย่างสม่ำเสมอ เพื่อให้ผู้เล่นสามารถนำไปประกอบอาชีพในระดับสากลได้ วงด็อกเตอร์แซ็ก เชมเบอร์ออร์เคสตร้า มีผู้อำนวยเพลงและผู้เรียบเรียงเพลงประจำวง คือ พันตรีประทีป สุพรรณโรจน์ ได้รับรางวัลที่ 1 จากการประกวดดนตรีนานาชาติ ณ เมืองอินเทอลาเคน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ เมื่อวันที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2548 มีผู้เข้าแข่งขันจำนวน 21 วง จาก 8 ประเทศ ชื่อวง "Dr.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและด็อกเตอร์แซ็คแชมเบอร์ออร์เคสตรา · ดูเพิ่มเติม »

คลาสสิก

ลาสสิก (classic) อาจหมายถึง.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและคลาสสิก · ดูเพิ่มเติม »

คลินต์ แมนเซลล์

ลินต์ แมนเซลล์ (Clint Mansell) เกิดวันที่ 7 มกราคม ค.ศ. 1963 เป็นนักดนตรี-ผู้ประพันธ์เพลงชาวอังกฤษ และ เป็นอดีตนักร้องนำ และ มือกีตาร์ แห่งวงป็อปวิลอีตอิตเซลฟ.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและคลินต์ แมนเซลล์ · ดูเพิ่มเติม »

คลีนแบนดิต

ลีนแบนดิต (Clean Bandit) เป็นวงดนตรีอิเล็กทรอนิกส์อังกฤษ ก่อตั้งที่เคมบริดจ์ในปี..

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและคลีนแบนดิต · ดูเพิ่มเติม »

คอนทราลโต

อนทราลโต (contralto) เป็นเสียงร้องเพลงคลาสสิกของผู้หญิงที่มีพิสัยเสียงร้องเป็นประเภทของเสียงที่ต่ำที่สุด พิสัยเสียงร้องแบบคอนทราลโตหาได้ยาก จะคล้ายแต่แตกต่างกับเสียงแบบอัลโต และเกือบจะเหมือนกับเสียงเคาน์เตอร์เทเนอร์ เสียงประเภทคอนทราลโตแบ่งได้เป็นคอนทราลโตแบบโคโลราทูรา ลิริก และดราแมติก.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและคอนทราลโต · ดูเพิ่มเติม »

คอนเสิร์ตฉลองปีใหม่เวียนนา

ห้องโถงใหญ่ของ Musikverein สถานที่จัดแสดง คอนเสิร์ตฉลองปีใหม่ของวงเวียนนาฟิลฮาร์โมนิค (Das Neujahrskonzert der Wiener Philharmoniker) เป็นการแสดงคอนเสิร์ตดนตรีคลาสสิกที่จัดขึ้นตอนเช้าของวันที่ 1 มกราคม ของทุกปี ที่กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย มีการถ่ายทอดสดไปทั่วโลก ประเมินว่ามีผู้รับชมมากกว่า 50 ล้านคน จาก 72 ประเทศ ในวันปีใหม..

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและคอนเสิร์ตฉลองปีใหม่เวียนนา · ดูเพิ่มเติม »

คาร์มินา บูรานา (ออร์ฟ)

วงล้อแห่งโชคลาภ จากต้นฉบับคาร์มินา บูรานา ในศตวรรษที่ 11-12 คาร์มินา บูรานา (Carmina Burana; /ˈkɑrmɨnə bʊˈrɑːnə/; แปลว่า "Songs from Benediktbeuern") เป็นคันตาตาที่แต่งโดยคาร์ล ออร์ฟ ในปี..

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและคาร์มินา บูรานา (ออร์ฟ) · ดูเพิ่มเติม »

คิงคริมสัน

กมังงะของ Otomo Katsuhiro ในปี พ.ศ. 2522 หน้าปกอัลบั้มเปิดตัวที่มีชื่อเสียง ''In the Court of the Crimson King'' คิง คริมสัน (King Crimson) เป็นวงดนตรีร็อกจากอังกฤษ ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2512 โดยมือกีตาร์ โรเบิร์ต ฟริปป์ และมือกลอง ไมเคิล ไจล์ส ชื่อวงตั้งขึ้นโดย ปีเตอร์ ซินฟิลด์ มีความหมายว่า Ba‘al Zebûb (ภาษาอาหรับ หมายความว่า 'Lord of Zebûb' หรือ 'เจ้าชายปิศาจ') ดนตรีของคิง คริมสัน จัดเป็นประเภท โปรเกรสซีฟร็อก ซึ่งได้รับอิทธิพลมาจากดนตรีหลายแนว ไม่ว่าจะเป็น แจ๊ส, คลาสสิก, ไซคีเดลิก, เฮฟวีเมทัล หรือ โฟล์ก ดนตรีของคิง คริมสัน เป็นต้นแบบของวงดนตรีร็อกรุ่นหลังหลายวง อาทิ เนอร์วานา, ไนน์ อินช์ เนล คิง คริมสัน เปิดตัวครั้งแรกในการแสดงสดเมื่อวันที่ 9 เมษายน..

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและคิงคริมสัน · ดูเพิ่มเติม »

คีตกวี

ลุดวิจ ฟาน เบโทเฟน ใน ค.ศ. 1820 คีตกวี เป็นคำศัพท์ทางดนตรีที่พบได้บ่อยครั้ง หมายถึง ผู้ประพันธ์ดนตรี มักจะใช้เรียกผู้ที่แต่งและเรียบเรียงดนตรีบางประเภท โดยเฉพาะ ดนตรีคลาสสิก โดยที่ผู้แต่งเพลงมักจะแต่งทั้งท่วงทำนองหลัก และแนวประสานทั้งหมด เพื่อให้นักดนตรีเป็นผู้นำบทเพลงนั้นไปบรรเลงอีกทอดหนึ่ง โดยนักดนตรีจะต้องบรรเลงทุกรายละเอียดที่คีตกวีได้กำหนดไว้อย่างเคร่งครัด คำว่า คีตกวี ในภาษาไทยนี้ นิยมใช้เรียก ผู้ประพันธ์ดนตรีในแนวดนตรีคลาสสิกของตะวันตก โดยแปลมาจากคำว่า composer นั่นเอง อย่างไรก็ดี บางท่านอาจใช้คำว่า ดุริยกวี แต่ก็มีความหมายอย่างเดียวกัน สำหรับผู้ที่แต่งเพลงในแนวดนตรีอื่นๆ มักจะเรียกว่า นักแต่งเพลง หรือ ครูเพลง เท่านั้น คีตกวี อาจไม่จำเป็นต้องประพันธ์ดนตรีลงในแผ่นกระดาษเพียงอย่างเดียว แต่อาจเป็นผู้บรรเลงบทประพันธ์นั้นเป็นครั้งแรก และในภายหลังมีผู้อื่นนำไปใช้บรรเลงตามก็ได้ชื่อว่า คีตกวี เช่นกัน โดยทั่วไปเราจะรู้จัก คีตกวี ในฐานะที่เป็น นักแสดงดนตรี แม้ว่าหลายท่านจะมีผลงานการประพันธ์ดนตรี มากกว่าผลงานการบรรเลงก็ตาม เช่น เบโทเฟิน, โมซาร์ท, วากเนอร์ ฯลฯ.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและคีตกวี · ดูเพิ่มเติม »

คีน

ีน เป็นวงเปียโน-ร็อกจากอังกฤษ เจ้าของบทเพลง Somewhere Only We Know, Everybody Changing อัลบั้มแรก Hopes And Fears ที่ประสบความสำเร็จทำยอดขายได้กว่า 5 ล้านแผ่นทั่วโลก อัลบั้ม Under the Iron Sea พุ่งขี้นติดอันดับหนึ่งของ Chart ใน ทวีปยุโรป ประเทศฮ่องกง ไต้หวัน สิงคโปร์ เกาหลี และ ประเทศไทย เมื่อเดือน มิถุนายน ปี 2549 และ ในขณะเดียวกันก็ขึ้นเป็น อันดับสี่ ของบิลบอร์ด คีน ได้รับรางวัล Brit Awards ถึงสองครั้ง และได้รับเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลแกรมมีด้ว.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและคีน · ดูเพิ่มเติม »

ค็อกเทล (วงดนตรี)

็อกเทล เป็นวงดนตรีร็อกจากกรุงเทพมหานคร ก่อตั้งขึ้นในช่วงปี..

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและค็อกเทล (วงดนตรี) · ดูเพิ่มเติม »

ซาลูต ซาลอน

ซอนยา ลีนา ชมิด กับการแสดงหุ่นกระบอก ซาลูต ซาลอน (Salut Salon) เป็นกลุ่มดนตรีแชมเบอร์มิวสิกหญิงล้วน 4 ชิ้นจากเมืองฮัมบูร์ก ประเทศเยอรมนี ก่อตั้งโดยนักไวโอลินหญิงสองคน คือ อังเงลิกา บัคมานน์ (Angelika Bachmann) และไอริส ซิกฟรีด (Iris Siegfried) ในปี..

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและซาลูต ซาลอน · ดูเพิ่มเติม »

ซิมโฟนีหมายเลข 5 (เบโทเฟน)

ลุดวิจ ฟาน เบโทเฟิน ซิมโฟนีหมายเลข 5 ในบันไดเสียง ซี ไมเนอร์ (Symphony No. 5 in C Minor) ของเบโทเฟิน เป็นผลงานที่เขาประพันธ์ขึ้นในช่วง ค.ศ. 1804-1808 โอปุส 67 (Opus 67) ซิมโฟนีบทนี้นับว่าเป็นหนึ่งในงานดนตรีคลาสสิกที่ได้รับความนิยมสูงสุด และรู้จักกันแพร่หลายที่สุด รวมทั้งถูกนำออกแสดงและได้รับการบันทึกเสียงมากที่สุดบทหนึ่ง ซิมโฟนีบทนี้มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักอย่างรวดเร็ว หลังจากนำออกแสดงครั้งแรกเมื่อ ค.ศ. 1808 ในเวลานั้น เอินสท์ เธโอดอร์ อมาดิอุส ฮอฟมันน์ (Ernst Theodor Amadeus Hoffmann) ได้บรรยายเอาไว้ว่า "นับเป็นหนึ่งในผลงานชิ้นสำคัญที่สุดแห่งยุค" บทเพลงนี้ขึ้นต้นด้วยตัวโน้ตหลักเพียง 4 พยางค์ เนื่องจากโน้ตหลัก 4 ตัวของเพลงคล้ายกับ(คือ จุด จุด จุด ขีด) ที่ตรงกับอักษรโรมัน V โน้ตหลักนี้จึงใช้เป็นเครื่องหมายของคำว่า "victory" (ชัยชนะ) ในพิธีเปิดการออกอากาศสถานีวิทยุบีบีซี (BBC) ของอังกฤษในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 อันเป็นความคิดของวิลเลียม สตีเฟนสัน (William Stephenson).

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและซิมโฟนีหมายเลข 5 (เบโทเฟน) · ดูเพิ่มเติม »

ซีซันส์เชนจ์ เพราะอากาศเปลี่ยนแปลงบ่อย

ซีซันส์เชนจ์ เพราะอากาศเปลี่ยนแปลงบ่อย (Seasons Change เพราะอากาศเปลี่ยนแปลงบ่อย) เป็นภาพยนตร์ไทย เรื่องราวเกี่ยวกับความสัมพันธ์ของเด็กวัยรุ่น 3 คน ในช่วงระยะเวลาหนึ่งปี ที่ วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล โดยเปรียบเทียบกับฤดูกาลที่เปลี่ยนไป ภาพยนตร์เรื่องนี้ กำกับโดย นิธิวัฒน์ ธราธร และเข้าฉาย เมื่อวันที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2549.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและซีซันส์เชนจ์ เพราะอากาศเปลี่ยนแปลงบ่อย · ดูเพิ่มเติม »

ประทักษ์ ประทีปะเสน

ประทักษ์ ประทีปะเสน นักไวโอลิน และวาทยากรที่มีชื่อเสียง เป็นผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านดนตรีสากล สังกัดกองการสังคีต กรมศิลปากร และเป็นผู้อำนวยเพลง วงดุริยางค์เครื่องลม แห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ประทักษ์ ประทีปะเสน จบการศึกษาจากวชิราวุธวิทยาลัย แล้วไปศึกษาต่อด้านดนตรีที่ประเทศอังกฤษ และได้รับทุนรัฐบาลไทยไปศึกษาต่อที่สหรัฐอเมริกา ด้านไวโอลินและการอำนวยเพลง จนสำเร็จปริญญาเอกที่มหาวิทยาลัยโคลัมเบีย ได้รับเชิญให้เป็นสมาชิกกิตติมศักดิ์ A.R.A.M. (Associate of the Royal Academy of Music) ในปี..

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและประทักษ์ ประทีปะเสน · ดูเพิ่มเติม »

ประโคมเพลง ประเลงถวาย

ประโคมเพลง ประเลงถวาย เป็นอัลบัมเพลงคลาสสิกโดย สถานีวิทยุแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เพื่อแสดงความสำนึกในพระกรุณาธิคุณ และอาลัยแด่สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ อัลบัมนี้รวมรวมนักดนตรีคลาสสิก 7 คน เพื่อถ่ายทอดบทเพลงอันเป็นการรำลึกและร่วมส่งเสด็จสมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ สู่สวรรคาลั.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและประโคมเพลง ประเลงถวาย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศญี่ปุ่น

ประเทศญี่ปุ่น (ชื่ออย่างเป็นทางการ) เป็นรัฐเอกราชหมู่เกาะในเอเชียตะวันออก ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกนอกฝั่งตะวันออกของแผ่นดินใหญ่เอเชีย ทางตะวันตกติดกับคาบสมุทรเกาหลีและประเทศจีน โดยมีทะเลญี่ปุ่นกั้น ส่วนทางทิศเหนือติดกับประเทศรัสเซีย มีทะเลโอค็อตสค์เป็นเส้นแบ่งแดน ตัวอักษรคันจิของชื่อญี่ปุ่นแปลว่า "ถิ่นกำเนิดของดวงอาทิตย์" จึงทำให้มักได้ชื่อว่า "ดินแดนแห่งอาทิตย์อุทัย" ประเทศญี่ปุ่นเป็นกลุ่มเกาะกรวยภูเขาไฟสลับชั้นซึ่งมีเกาะประมาณ 6,852 เกาะ เกาะใหญ่สุดคือ เกาะฮนชู ฮกไกโด คีวชู และชิโกกุ ซึ่งคิดเป็นพื้นที่แผ่นดินประมาณร้อยละ 97 ของประเทศญี่ปุ่น และมักเรียกว่าเป็นหมู่เกาะเหย้า (home islands) ประเทศแบ่งเป็น 47 จังหวัดใน 8 ภูมิภาค โดยมีฮกไกโดเป็นจังหวัดเหนือสุด และโอกินาวะเป็นจังหวัดใต้สุด ประเทศญี่ปุ่นมีประชากร 127 ล้านคน เป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับ 10 ของโลก ชาวญี่ปุ่นเป็นร้อยละ 98.5 ของประชากรทั้งหมดของประเทศญี่ปุ่น ประมาณ 9.1 ล้านคนอาศัยอยู่ในกรุงโตเกียว เมืองหลวงของประเทศ การวิจัยทางโบราณคดีระบุว่ามีมนุษย์อาศัยในญี่ปุ่นปัจจุบันครั้งแรกตั้งแต่ยุคหินเก่า การกล่าวถึงญี่ปุ่นเป็นลายลักษณ์อักษรครั้งแรกปรากฏในบันทึกของราชสำนักจีนตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 1 ญี่ปุ่นได้รับอิทธิพลจากจีนในหลายด้าน เช่นภาษา การปกครองและวัฒนธรรม แต่ขณะเดียวกันก็มีการปรับเปลี่ยนให้เป็นเอกลักษณ์ของตนเอง จึงทำให้ญี่ปุ่นมีวัฒนธรรมที่โดดเด่นมาจนปัจจุบัน อีกหลายศตวรรษต่อมา ญี่ปุ่นก็รับเอาเทคโนโลยีตะวันตกและนำมาพัฒนาประเทศจนกลายเป็นประเทศที่ก้าวหน้าและมีอิทธิพลมากที่สุดในเอเชียตะวันออก หลังจากแพ้สงครามโลกครั้งที่สอง ญี่ปุ่นก็มีการเปลี่ยนแปลงทางการปกครองโดยการใช้รัฐธรรมนูญใหม่ใน..

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและประเทศญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

ปิยะพันธ์ สนิทวงศ์ ณ อยุธยา

นาวาตรี ปิยะพันธ์ สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ร.น. (13 มิถุนายน พ.ศ. 2477 - 22 ธันวาคม พ.ศ. 2549) นักดนตรีสากล ได้รับการเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง ประจำปี..

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและปิยะพันธ์ สนิทวงศ์ ณ อยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

ปีเยิร์ก

ปีเยิร์ก กืดมึนด์สตอตตีร์ เกิดเมื่อวันที่ 21 พฤศจิกายน ค.ศ. 1965 รู้จักกันในนาม ปีเยิร์ก เป็นนักร้องชาวไอซ์แลนด์, นักแต่งเพลง, นักดนตรี, โปรดิวเซอร์ และบางครั้งก็เป็นนักแสดง เธอเป็นที่รู้จักจากการเป็นนักร้องนำวงแนว ออลเทอร์นาทิฟ เดอะชูการ์คิวส์, หลังปล่อยซิงเกิ้ล Birthday ในปี 1987 ซึ่งติดชาร์จเพลงอินดี้ในสหรัฐอเมริกาและสหราชอาณาจักร และเป็นที่ชื่นชอบในหมู่นักวิจารณ์เพลง ปีเยิร์กเริ่มผลงานเดี่ยวในปี 1993, อัลบั้มเดี่ยว Debut เป็นผลงานแนวเพลง ดนตรีอิเล็คทรอนิกส์, เฮาส์ (แนวดนตรี), แจ๊ส, ทริปฮอป และเป็นหนึ่งในอัลบั้มแรกที่ที่ทำให้แนวเพลงอิเล็คทรอนิกส์อยู่ในกระแสหลัก ในการครบรอบสามสิบปีที่ในวงการดนตรีของเธอ, ปีเยิร์กได้พัฒนารูปแบบดนตรีโดยเอาลักษณะของการเต้น, ร็อค, ทริปฮอป, แจ๊ส, ดนตรีคลาสสิก, ดนตรีทดลอง และ อาว็อง-การ์ด ปีเยิร์กมี 30 ซิงเกิ้ลที่ได้ท็อป 40 ในป็อปชาร์จทั่วโลก ซิงเกิ้ลเพลงของปีเยริ์คติดลำดับ 22 ท็อปใน 40 ฮิตในสหราชอาณาจักร อย่างชาร์จซิงเกิ้ลในสหราชอาณาจักรโดยติดเป็นเวลา 10 สัปดาห์ "It's Oh So Quiet", "Army of Me", และ "Hyperballad" ยิ่งไปกว่านั้น, "Big Time Sensuality", "Hyperballad" และ "I Miss You" ยังติดอันดับในชาร์จเพลงแดนซ์ในอเมริกา ค่ายเพลงปีเยิร์ก One Little Indian รายงานว่าเธอขายไปได้มากกว่า 15 ล้านแผ่นในปี 2003 ปัจจุบันยอดขายของปีเยิร์กอยู่ในระหว่าง 20 ถึง 40 ล้านแผ่น ปีเยิร์กได้รางวัล บริตอะวอดส์ สี่ครั้ง, เอ็มทีวี วิดิโอ มิวสิคอะวอดส์สี่ครั้ง, โมโจ อวอร์ดส์หนึ่งครั้ง, ยูเคมิวสิควิดิโออวอร์ดส สามครั้ง, ไอซแลนด์ มิวสิค อวอร์ดส 21 ครั้ง และในปี 2010, เดอะ โพลาร์ มิวสิค ไพรซ์ จาก รอยัลสวีเดนอาคเดมีออฟซอง บอกลักษณะแนวเพลงของปีเยิร์กว่า เป็นแนวเพลงที่แหวกแนว และการจัดการที่ละเอียด พร้อมโดยเสียงอันเป็นเอกลักษณ์ของเธอ เธอยังได้รับเสนอชื่อแกรมมี่อะวอร์ดสถึง 13 ครั้ง นอกจากนี้ยังเสนอชื่อรางวัลออสการ์ 1 ครั้ง และเสนอชื่อสองครั้งใน รางวัลลูกโลกทองคำ เธอเข้าชิงรางวัลนักแสดงหญิงยอดเยี่ยมในเทศกาลภาพยนตร์ 2000 Cannes Flim Festival จากการแสดงของเธอใน จังหวะชีวิต ลิขิตด้วยเพลง (Dancer in the Dark) อัลบั้มของเธอในปี 2011 Biophilia เป็นอัลบั้มชุดแรกที่มีการปล่อยลงในแอปพลิเคชันแบบสัมผัสได้และในปี 2014 แอพดังกล่าวยังเป็นแอพแรกๆที่ถูกนำเข้าใน พิพิธภัณฑ์ศิลปะสมัยใหม.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและปีเยิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

นาตาลี เกลโบวา

นาตาลี เกลโบวา (Natalie Glebova; Наталья Владимировна Глебова) นางงามจักรวาลในปี พ.ศ. 2548 ที่จัดขึ้นในกรุงเทพมหานคร นาตาลี เกลโบวา เป็นผู้เข้าประกวดคนที่สองจากประเทศแคนาดาที่ได้รับเลือกเป็นนางงามจักรวาล และยังเป็นทูตรักษาภาพลักษณ์ของ สิงห์ คอร์เปอเรชั่น หอแว่น และ เครื่องสำอาง บีเอสซี.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและนาตาลี เกลโบวา · ดูเพิ่มเติม »

นิวเอจ

นตรีนิวเอจ หากแปลตามตัวก็หมายถึง ดนตรียุคใหม่ เป็นแนวดนตรีชนิดหนึ่งมีจุดเริ่มต้นจากงานความหลากหลายของนักดนตรียุโรปและอเมริกันในทศวรรษที่ 60 ที่ทำเพลงอีเลกโทรนิกและอคูสติก โดยทั่วไปมีลักษณะการใช้เครื่องดนตรีพื้นฐานและความซ้ำของเมโลดี้ในธรรมชาติ การบันทึกเสียงจากธรรมชาติก็มีการนำมาใช้ในเพลง ดนตรีนิวเอจมีดนตรีที่ให้ความผ่อนคลาย แรงบันดาลใจ และมักใช้กับกิจกรรมต่างๆ อย่างเช่น โยคะ การนวด การทำสมาธิ การอ่านหนังสือ และการบริหารความเครียด ที่จะสร้างบรรยากาศไม่ว่าจะที่บ้านหรือสถานที่ต่าง ๆ ลักษณะของดนตรีนิวเอจมักผสมระหว่างเสียงเอฟเฟกหรือเสียงจากธรรมชาติ รวมกับเพลงอีเลกโทรนิกและเครื่องดนตรี อาศัยโครงของดนตรีหนุนไว้ อย่างเช่น ฟลุต เปียโน อคูสติกกีตาร์ และอาจรวมถึงเครื่องดนตรีตะวันออก ซึ่งในบางเพลงอาจมีการร้องลำนำในภาษาสันสกฤต ทิเบต หรือการสวดของคนพื้นถิ่นในทวีปอเมริกาเหนือ เป็นต้น หรือในบางคร้งก็มีการเขียนเนื้อร้องที่อิงมาจากเทพนิยายอย่างตำนานเคลติก เป็นต้น สำหรับเพลงที่มีความยาวมากกว่า 20 นาทีในเพลงประเภทนี้ไม่ใช่สิ่งที่แปลกอะไร และในบางครั้งลักษณะของเพลงแบบนี้ก็มีการเปรียบได้ว่าดนตรีแอมเบียนต์ (ambient music) ในช่วงทศวรรษที่ 80 ดนตรีนิวเอจได้รับความนิยมทางสถานีวิทยุทั่วไป.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและนิวเอจ · ดูเพิ่มเติม »

แฟนเทเชีย (ภาพยนตร์)

แฟนเทเชีย (Fantasia) เป็นภาพยนตร์แอนนิเมชันเรื่องยาวเรื่องที่สามของดิสนีย์ ต่อจากเรื่องสโนว์ไวท์กับคนแคระทั้งเจ็ด (1937) และพินอคคิโอ (1940) ออกฉายครั้งแรกเมื่อปี..

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและแฟนเทเชีย (ภาพยนตร์) · ดูเพิ่มเติม »

แฟนเทเชีย 2000

แฟนเทเชีย 2000 (Fantasia 2000) เป็นภาพยนตร์แอนิเมชันเรื่องยาวเรื่องที่ 38 ของดิสนีย์ สร้างขึ้นออกฉายในโอกาสเฉลิมฉลองครบรอบ 60 ปีของ แฟนเทเชีย โดยใช้ดนตรีคลาสสิกที่บรรเลงโดยวงชิคาโกซิมโฟนีออร์เคสตรา อำนวยเพลงและเรียบเรียงโดยเจมส์ เลไวน์ ยกเว้นตอน The Sorcerer's Apprentice ที่ใช้ฟุตเตจเก่าของลีโอโปลด์ สโตคอฟสกี ที่ถ่ายทำตั้งแต่ปี 1940 ภาพยนตร์ใช้นักแสดงและบุคคลที่มีชื่อเสียงในปัจจุบันหลายคน เป็นผู้แนะนำบทเพลงในตอนต่างๆ ได้แก่ สตีฟ มาร์ติน นักแสดง, ยิตซัก เพิร์ลแมน นักไวโอลินมีชื่อ, ควินซี โจนส์ นักแต่งเพลง, เบตต์ มิดเลอร์ นักร้อง-นักแสดง, เจมส์ เอิร์ล โจนส์ นักแสดงและนักพากย์, คู่หูนักแสดงตลกเพ็นน์ และ เทลเลอร์ และแองเจลา แลนสบิวรี นักแสดงอาวุโสชาวอังกฤษ โครงการสร้างภาพยนตร์ภาคต่อของแฟนเทเชีย มีมาตั้งแต่ปี 1990 โดย รอย เอ็ดเวิร์ด ดิสนีย์ หลานชายของวอลต์ ดิสนีย์ เดิมมีกำหนดฉายช่วงกลางทศวรรษ 1990 โดยใช้ชื่อว่า "Fantasia Continued" ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็น "Fantasia 1999" ตามกำหนดฉายในปี 1999 แต่เมื่อดิสนีย์ได้เลื่อนวันฉายเป็นวันที่ 1 มกราคม ปี 2000 จึงเปลี่ยนชื่อภาพยนตร์เป็น "Fantasia 2000" ภาพยนตร์ออกฉายในโรงภาพยนตร์ IMAX โดยใช้ระบบเสียงแบบใหม่ที่ติดตั้งเป็นการเฉพาะ โดยเฉพาะในตอน Noah's Ark ในฉากที่มิกกี เมาส์วิ่งตามหาโดนัลด์ ดั๊ก ทำให้ผู้ชมรู้สึกเหมือนกับว่ามิกกี เมาส์วิ่งอยู่ในโรงภาพยนตร์ ด้านหลังเก้าอี้นั่งชม.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและแฟนเทเชีย 2000 · ดูเพิ่มเติม »

แมนเดอร์เลย์

แมนเดอร์เลย์ (Manderlay) เป็นภาพยนตร์ภาคต่อของเรื่อง ด็อกวิลล์ ของลาร์ส ฟอน เทรียร์ เป็นภาพยนตร์เรื่องที่สองในไตรภาคชุด "สหรัฐอเมริกา ดินแดนแห่งโอกาส" (USA - Land of Opportunities) ภาพยนตร์ถ่ายทำด้วยทีมงานชุดเดียวกับเรื่องด็อกวิลล์ ทั้งผู้กำกับ ผู้อำนวยการสร้าง ผู้กำกับภาพ และตัดต่อ โดยใช้เทคนิคแบบเดียวกัน คือใช้กล้องวิดีโอดิจิตอล ใช้ฉากเรียบง่ายคล้ายละครเวที อุปกรณ์ประกอบฉากอยู่ในโรงถ่ายโล่ง โดยตีเส้นที่พื้นและมีตัวหนังสือกำกับ เช่นเดียวกับในภาคแรก ภาพยนตร์ยังแบ่งเป็นหลายๆ องก์ ตามแนวทางส่วนตัวของฟอน เทรียร์ เช่นเดิม ดนตรีประกอบภาพยนตร์ใช้ดนตรีคลาสสิกจากการประพันธ์ของอันโตนีโอ วีวัลดี โทมาโซ อัลบิโนนี จอร์จ เฟรดริก ฮันเดล จิโอวานนี บัททิสตา เปอร์โกเลซี และเดวิด โบวี ฟอน เทรียร์ใช้เสียงบรรยายของจอห์น เฮิร์ต เช่นเดิม แต่เปลี่ยนตัวนักแสดงนำในบทเกรซ จากนิโคล คิดแมน เป็นไบรซ์ ดัลลัส ฮาเวิร์ด และบทตัวพ่อ จากเจมส์ คาน เป็นวิลเลม เดโฟ ส่วนนักแสดงอื่น ได้แก่ลอเรน เบคอล โคลเอ เซวิกนี ฌอง-มาร์ก บาร์ และอูโด เคียร์ กลับมารับบทอีกครั้ง แต่เปลี่ยนตัวละครที่เล่นไปจากในภาคก่อน เนื้อเรื่องในภาพยนตร์ต่อเนื่องจากภาคแรก ในทศวรรษ 1930 หลังจากเมืองด็อกวิลล์ถูกเผาทำลายไป เกรซและพ่อเดินทางไปยังแอละบามา และได้พบกับเมืองเกษตรกรรมเล็กๆ ชื่อ "แมนเดอร์เลย์" เมืองชนบทที่ยังคงมีการใช้แรงงานทาส ถึงแม้จะเป็นเวลากว่า 70 ปีหลังสงครามกลางเมืองอเมริกาแล้วก็ตาม ในการถ่ายทำภาพยนตร์ ถูกวิพากษ์วิจารณ์ถึงการทารุณกรรมสัตว์ โดยมีการฆ่าและชำแหละลาจริงๆ เพื่อความสมจริง ผลจากฉากนี้ ทำให้นักแสดงคนหนึ่ง คือ จอห์น ซี. รีลลีย์ ขอถอนตัวออกจากภาพยนตร์เรื่องนี้ แต่ในที่สุด ฉากนี้ก็ถูกตัดออกจากการฉายจริง.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและแมนเดอร์เลย์ · ดูเพิ่มเติม »

แรพโซดีอินบลู

แรพโซดีอินบลู (Rhapsody in Blue) เป็นผลงานประพันธ์ของจอร์จ เกิร์ชวินสำหรับบรรเลงเดี่ยวเปียโนร่วมกับวงดนตรีแจ๊ส เกิร์ชวินแต่งเพลงนี้ในปี..

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและแรพโซดีอินบลู · ดูเพิ่มเติม »

แวนเจลิส

อีแวนเจลอส โอดิซซีซ์ พาพาธานาซโซ (Evangelos Odysseas Papathanassiou กรีก: Ευάγγελος Οδυσσέας Παπαθανασίου) (เกิด 29 มีนาคม ค.ศ. 1943 -) นักดนตรีและนักแต่งเพลงชาวกรีก มีผลงานในแนวดนตรีอีเลกโทรนิก นิวเอจ โพรเกรสซีฟร็อก แอมเบียนต์ โดยใช้ชื่อในการแสดงว่า แวนเจลิส (Vangelis กร่อนมาจากชื่อ Evangelos; อ่านว่า /vænˈgɛlɨs/) ผลงานของแวนเจลิสที่มีชื่อเสียง คือดนตรีประกอบภาพยนตร์เรื่อง Chariots of Fire (ชื่อไทย: เกียรติยศแห่งชัยชนะ) ในปี..

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและแวนเจลิส · ดูเพิ่มเติม »

แนวเพลง

แนวดนตรี เป็นการจำแนกเพลงที่มีลักษณะพื้นฐานต่าง ๆ ร่วมกัน โดยอาจไม่ได้คำนึงถึงเกี่ยวกับด้านเพลงอย่างเดียว (เช่น ที่มาของเพลง และ เนื้อหาของเพลง เป็นต้น) อาจพูดได้ว่า แนวเพลงนั้นพิจารณาจาก เทคนิค รูปแบบ บริบท ที่มา และเนื้อหาของเพลง เป็นต้น.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและแนวเพลง · ดูเพิ่มเติม »

โชติศรี ท่าราบ

แพทย์หญิง โชติศรี ท่าราบ (6 ตุลาคม พ.ศ. 2462 - 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559) เป็นนักเขียนเรื่องสั้น นักวิจารณ์ดนตรีคลาสสิก นักวิจารณ์ภาพยนตร์ และละครโทรทัศน์ มีผลงานเขียนวิจารณ์ดนตรีในนิตยสาร "ชาวกรุง" ติดต่อกัน 14 ปี ได้รับการเชิดชูเกียรติ รางวัลนราธิป ประจำปี..

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและโชติศรี ท่าราบ · ดูเพิ่มเติม »

โพรคัล ฮารัม

รคัล ฮารัม (Procol Harum) เป็นกลุ่มดนตรีร็อกสัญชาติอังกฤษ ก่อตั้งในปี ค.ศ. 1967 สร้างงานดนตรีในแนวโปรเกรสซีฟร็อก และซิมโฟนิกร็อก โดยได้อิทธิพลมาจากดนตรีคลาสสิก และดนตรีบาโรก ผลงานที่มีชื่อเสียงของวงเป็นซิงเกิลจากอัลบัมแรก ชื่อ A Whiter Shade of Pale ในปี 1967 สมาชิกวงรุ่นแรกประกอบด้วย แกรี บรุคเคอร์ นักร้องนำ, โรบิน ทราวเวอร์ นักกีตาร์, คีธ รีด นักแต่งเพลง, แมททิว ฟิชเชอร์ นักออร์แกน, เรย์ รอยเออร์ นักกีตาร์ และเดวิด ไนทส์ นักกีตาร์เบส ชื่อวงตั้งขึ้นโดย กาย สตีเวนส์ ผู้จัดการวง ตามชื่อแมวเบอร์มีสของเพื่อน โดยเข้าใจว่าเป็นภาษาละตินมีความหมายว่า "beyond these things" ที่ถูกต้องแล้ว Procol Harum มีความหมายว่า "of these far off things" (โดยที่คำว่า "Procol" นั้นสะกดผิด ที่ถูกต้องเป็น "Procul") แต่หากต้องการให้มีความหมายว่า "beyond these things" ตามที่ตั้งใจไว้ วงจะต้องใช้ชื่อ Procul His นอกจากนี้แล้ว คนทั่วไปมักสะกดผิดชื่อวงผิดเป็น Procol Harem วงมีผลงานอัลบัมทั้งสิ้น 9 ชุด ก่อนจะยุบวงในปี..

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและโพรคัล ฮารัม · ดูเพิ่มเติม »

โพรเกรสซิฟร็อก

รเกรสซิฟร็อก (Progressive rock หรือเขียนสั้น ๆ ว่า prog หรือ prog rock) เป็นดนตรีร็อกประเภทหนึ่งที่เกิดขึ้นในช่วงปลายทศวรรษ 1960 และต้นทศวรรษ 1970 เป็นส่วนหนึ่งของ "ความพยายามในการยกฐานะเพลงร็อกอังกฤษสู่ระดับใหม่ ด้านความเชื่อถือด้านศิลปะดนตรี" คำว่า "อาร์ตร็อก" มักจะใช้ในความหมายเช่นเดียวกับ "โพรเกรสซิฟร็อก" แต่ขณะที่ทั้งสองแนวเพลงก็ข้ามกันไปข้ามกันมา แต่ทั้งสองแนวเพลงก็ไม่ใช่อย่างเดียวกัน วงดนตรีโพรเกรสซิฟร็อก ได้ผลักดัน ด้านเทคนิกและขอบเขตการจัดวาง โดยทำให้เหนือมาตรฐานร็อกทั่วไป หรือเพลงนิยมที่มีท่อนร้อง-คอรัส เป็นหลักโครงสร้าง นอกจากนี้ การเรียบเรียงมักจะรวมองค์ประกอบของดนตรีคลาสสิก แจ๊ส และเวิลด์มิวสิก เข้าไป ใช้เครื่องดนตรีทั่วไป แต่เพลงและเนื้อเพลง ในบางครั้งจะเป็นนามธรรม แนวความคิด หรือแฟนตาซี ในบางครั้งวงโพรเกรสซิฟร็อกจะใช้คำว่า "คอนเซปต์อัลบั้ม เพื่ออธิบายถ้อยแถลง มักใช้การอธิบายเรื่องราวแบบมหากาพย์ หรือความยิ่งใหญ่" ดนตรีโพรเกรสซิฟร็อกพัฒนามาตั้งแต่ปลายยุคไซเคเดลิกร็อก ทศวรรษ 1960 ที่เพลงร็อกได้รับความนิยม วงดนตรีแนวนี้ที่เป็นที่นิยมอย่างเช่น เดอะไนซ์, มูดี้บลูส์, คิงคริมสัน, เยส, เจเนซิส, เจโทรทัล และอีเมอร์สัน, เลค แอนด์ พาร์เมอร์ เพลงโพรเกรสซิฟร็อกได้รับความนิยมกว้างขวางราวกลางทศวรรษ 1970 ขณะที่ได้รับความนิยมสุงสุดในทศวรรษ 1970 และต้นทศวรรษ 1980.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและโพรเกรสซิฟร็อก · ดูเพิ่มเติม »

โวล์ฟกัง อะมาเดอุส โมซาร์ท

วล์ฟกัง อะมาเดอุส โมซาร์ท (Wolfgang Amadeus Mozart) 27 มกราคม พ.ศ. 2299 - 5 ธันวาคม พ.ศ. 2334 (ค.ศ. 1756 - 1791) เป็นนักประพันธ์ดนตรีคลาสสิกชาวออสเตรียที่มีชื่อเสียงก้องโลก โมซาร์ทเกิดที่เมืองซาลซ์บูร์ก เขามีงานประพันธ์เพลง 700 ชิ้นรวมทั้งอุปรากร (ดนตรีซึ่งมีเนื้อเรื่อง) ชื่อ ดอน โจวันนี (Don Giovanni) และ ขลุ่ยวิเศษ (Die Zauberflöte) ปัจจุบันผลงานต่าง ๆ ของเขาได้ถูกนำมาจัดจำหน่ายเป็นสื่อต่าง ๆ มากม.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและโวล์ฟกัง อะมาเดอุส โมซาร์ท · ดูเพิ่มเติม »

ไมค์ โอลด์ฟิลด์

มค์ โอลด์ฟิลด์ (Michael Gordon Oldfield) (15 พฤษภาคม พ.ศ. 2496 -) นักดนตรี และนักแต่งเพลงชาวอังกฤษ มีผลงานทั้งประเภทโพรเกรสซีฟร็อก, ร็อก, โฟล์ก, คลาสสิก, เวิร์ลด, นิวเอจ และชำนาญการเล่นเครื่องดนตรีได้หลากหลายชนิด ผลงานที่มีชื่อเสียงที่สุด คืองานชุด Tubular Bells บันทึกเสียงปี..

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและไมค์ โอลด์ฟิลด์ · ดูเพิ่มเติม »

ไวโอลิน

วโอลิน เป็นเครื่องดนตรีที่ทำให้เกิดเสียงระดับเสียงสูงในกลุ่มเครื่องดนตรีคลาสสิกประเภทเครื่องสาย (String instruments) ซึ่งมีต้นกำเนิดมาจากโลกตะวันตก เป็นเครื่องดนตรีตระกูลไวโอลินที่เล็กที่สุด อันประกอบไปด้วย ไวโอลิน วิโอลา เชลโล และ ดับเบิลเบส เมื่อนำทั้งหมดมาเล่นร่วมกันแล้วจะเรียกว่า วงเครื่องสาย(string) ซึ่งเป็นตระกูลเครื่องดนตรีหลักของ วงออร์เคสตร.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและไวโอลิน · ดูเพิ่มเติม »

ไซเคเดลิกแทรนซ์

ซเคเดลิกแทรนซ์ (Psychedelic trance) บางครั้งเรียก ไซแทรนซ์ (Psytrance) เป็นแนวเพลงย่อยของแทรนซ์ ได้รับอิทธิพลจากเพลงดนตรี กัวแทรนซ์ ในช่วงกลางยุคทศวรรษ 1990 เป็น ดนตรีอิเล็กทรอนิกส์แดนซ์ และ ดนตรีคลาสสิกของอินเดีย เพลงไซเคเดลิกแทรนซ์ส่วนใหญ่ถูกแต่งขึ้นมาโดยคอมพิวเตอร์ และเครื่องสังเคราะห์เสียง และ เครื่องดนตรี Nord Lead, Access Virus, Korg MS-2000, Roland JP-8000.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและไซเคเดลิกแทรนซ์ · ดูเพิ่มเติม »

ไนท์อินไวท์ซาติน

นท์อินไวท์ซาติน (Nights in White Satin) เป็นเพลงจากอัลบั้ม Days of Future Passed อัลบั้มที่สามของวงเดอะมูดีบลูส์ แต่งโดย จัสติน เฮย์เวิร์ด มือกีตาร์และนักร้องนำของวง วางจำหน่ายซิงเกิลเมื่อเดือนพฤศจิกายน..

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและไนท์อินไวท์ซาติน · ดูเพิ่มเติม »

เฟลิกซ์ เมนเดิลส์โซห์น

ยาค็อบ ลุดวิก เฟลิกซ์ เมนเดลโซห์น-บาร์โธลดี (Jakob Ludwig Felix Mendelssohn-Bartholdy) เป็นที่รู้จักกันในชื่อ เฟลิกซ์ เมนเดลโซห์น (3 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1809 - 4 พฤศจิกายน ค.ศ. 1847) เป็นนักเปียโน คีตกวี และผู้อำนวยเพลงชาวเยอรมัน อยู่ในยุคโรแมนติกตอนต้น มีผลงานประพันธ์ทั้งซิมโฟนี คอนแชร์โต ออราทอริโอ และ1847 หมวดหมู่:คีตกวีชาวเยอรมัน หมวดหมู่:นักดนตรีคลาสสิก หมวดหมู่:วาทยกร หมวดหมู่:นักเปียโน หมวดหมู่:คีตกวีและนักแต่งเพลงชาวยิว หมวดหมู่:คีตกวีอุปรากร หมวดหมู่:บุคคลจากฮัมบูร์ก หมวดหมู่:ชาวเยอรมันเชื้อสายยิว โครงดนตรี.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและเฟลิกซ์ เมนเดิลส์โซห์น · ดูเพิ่มเติม »

เยฟกีนี คีซีน

ฟกีนี อีโกเรวิช คีซีน (Евге́ний И́горевич Ки́син, Evgeny Kissin) เป็นนักเปียโนคลาสสิคของรัสเซีย คีซินเป็นอัจฉริยะด้านเปียโนและมีชื่อเสียงในระดับโลกตั้งแต่ยังเด็ก เขาได้รับสัญชาติอังกฤษในปี 2002 และอิสราเอล ในปี 2013 คีซีนเกิดในกรุงมอสโก ในครอบครัวที่มีเชื้อสายยิว เขาได้รับการยอมรับว่าเป็นอัจฉริยะด้านเปียโนตั้งแต่ 6 ขวบ โดยเขาศึกษาเปียโนที่วิทยาลัยดนตรีรัฐจีเนซีน ในฐานะนักเรียนผู้มีพรวสรรค์พิเศษ ต่อมา เมื่อเขาอายุได้ 10 ปี เขาก็ได้บรรเลงร่วมกับวงออร์เคสตราเป็นครั้งแรก โดยเขาได้บรรเลง Piano Concerto No.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและเยฟกีนี คีซีน · ดูเพิ่มเติม »

เยส

(Yes) เป็นวงดนตรีร็อกจากอังกฤษ ก่อตั้งมาตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและเยส · ดูเพิ่มเติม »

เอ็ดเวิด กริก

อ็ดเวิด ฮากรัป กริก (ออกเสียงนอร์เวย์: ɛdʋɑɖ ˈhɑːɡərʉp ˈɡrɪɡ, ออกเสียงอังกฤษ: Edvard Hagerup Grieg เอ็ดวาร์ด ฮากรัป กรีก) เป็นคีตกวี และนักเปียโน ชาวนอร์เวย์ เขาเป็นบุคลากรทางดนตรีที่ทรงอิทธิพลในยุคโรแมนติก หลายบทเพลงคลาสสิกของเขาล้วนเคยผ่านหูสาธารณชนทั่วโลกมาแล้ว เขาสามารถทำให้ดนตรีโฟล์กของนอร์เวย์ ก้าวขึ้นมาอยู่ในดนตรีระดับแถวหน้าของโลก บทเพลงที่โด่งดังที่สุดของเขาคือ In the Hall of the Mountain King ซึ่งล้วนเคยผ่านหูผู้คนทั่วโลกมาแล้ว.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและเอ็ดเวิด กริก · ดูเพิ่มเติม »

เอ็นเอชเค

มาคมแพร่ภาพกระจายเสียงแห่งประเทศญี่ปุ่น หรือ NHK เป็นองค์กรแพร่ภาพกระจายเสียงสาธารณะของของรัฐบาลญี่ปุ่น มีสถานะเป็นรัฐวิสาหกิจที่อาศัยรายได้จากค่าธรรมเนียมใบอนุญาตรับชมโทรทัศน์จากผู้ชม เอ็นเอชเคมีบริการโทรทัศน์ภาคพื้นดินสองช่อง (ช่องทั่วไปและช่องเพื่อการศึกษา), โทรทัศน์ดาวเทียมอีกสองช่อง (ช่อง BS-1 และ BS Premium) และเครือข่ายวิทยุกระจายเสียงอีก 3 สถานีในญี่ปุ่น นอกจากนี้ เอ็นเอ็ชเคยังมีโทรทัศน์ช่องสากลที่มีชื่อว่า NHK World ประกอบด้วย บริการโทรทัศน์จำนวน 2 ช่องรายการ และบริการวิทยุคลื่นสั้น 1 สถานี นอกจากนี้ ยังมีเว็บไซต์เอ็นเอชเค ที่ให้บริการข้อมูลข่าวสาร และรายการต่างๆ ซึ่งเป็นอีกบริการหนึ่งเช่นกัน.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและเอ็นเอชเค · ดูเพิ่มเติม »

เจมี ฟ็อกซ์

มี่ ฟ็อกซ์ (Jamie Foxx) เกิดเมื่อวันที่ 13 ธันวาคม ค.ศ. 1967 เป็นนักแสดงเจ้าของรางวัลออสการ์ในปี 2004 รับบทเป็นนักดนตรีผู้เป็นตำนาน เรย์ ชาร์ลส์ เรื่อง Ray และจากบทนี้ก็ยังได้รับรางวัลลูกโลกทองคำ, รางวัลจากสมาคมนักแสดง, รางวัลบาฟต้า และรางวัล NAACP Image นอกจากเป็นนักแสดงแล้ว ยังเป็นนักร้อง เป็นตลกเจ้าของรายการ The Jamie Foxx Show.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและเจมี ฟ็อกซ์ · ดูเพิ่มเติม »

เจสส์ กลินน์

ซิกา แฮนนาห์ กลินน์ (เกิด 20 ตุลาคม ค.ศ. 1989) หรือชื่อในการแสดงว่า เจสส์ กลินน์ เป็นนักร้อง และนักแต่งเพลงชาวอังกฤษเชื้อสายยิว เธอเริ่มต้นทำงานดนตรีจากการทำงานในบริษัทบริหารจัดการศิลปิน และได้เซ็นสัญญาเป็นศิลปินกับสังกัดแบล็กบัตเตอร์เรเคิดส์และแอตแลนติกเรเคิดส์ กลินน์มีชื่อเสียงหลังจากเป็นศิลปินรับเชิญในเพลง "แรเทอร์บี" ของคลีนแบนดิต เพลง "มายเลิฟ" ของรูต 94 และเพลง "นอตเลตทิงโก" ของไทนี เทมพาห์ ซึ่งทั้งสามเพลงขึ้นอับดับ 1 บนชาร์ตซิงเกิลแห่งสหราชอาณาจักร เช่นเดียวกับเพลงในอัลบั้มชุดแรกของเธอในปี..

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและเจสส์ กลินน์ · ดูเพิ่มเติม »

เจป็อป

มะโมะอิโระโคลเวอร์ Z เจป็อป (J-pop; Japanese Pop) หมายถึงแนวดนตรีของประเทศญี่ปุ่น ที่มีลักษณะดนตรีผสมผสานจากทางตะวันตก ซึ่งรวมถึงดนตรีในลักษณะ ป็อป ร็อก แดนซ์ ฮิปฮอป และ โซล เจป็อป เป็นหนึ่งใน 4 แนวดนตรีที่มีการจำแนกในประเทศญี่ปุ่น ซึ่งได้แก่ เจป็อป, เอ็งกะ (ลักษณะคล้ายบัลลาด), ดนตรีคลาสสิก และ ดนตรีต่างประเท.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและเจป็อป · ดูเพิ่มเติม »

เจโทร ทัล

ทร ทัล (Jethro Tull) เป็นวงดนตรีร็อกจากประเทศอังกฤษ ที่ก่อตั้งขึ้นราว..

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและเจโทร ทัล · ดูเพิ่มเติม »

เทมโป

200x200px ในอภิธานศัพท์ดนตรี เทมโป (tempo แปลว่า time) หรือ ลีลา หมายถึงความเร็วในการเล่นเครื่องดนตรี เป็นองค์ประกอบสำคัญของการประพันธ์งานดนตรี ซึ่งมีผลต่ออารมณ์ และความยากง่ายในการเล่นผลงานชิ้นนั้นๆ งานประพันธ์ดนตรีแต่ละชิ้น จะระบุเทมโปไว้ที่ตอนต้น ในปัจจุบันจะระบุเป็นค่า ครั้งต่อนาที (beats per minute ใช้ตัวย่อ BPM) หมายความว่าโน้ตแต่ละตัว จะต้องถูกเล่นด้วยเป็นจำนวนกี่ครั้งต่อนาที หากงานประพันธ์ชิ้นใดมีค่าเทมโปสูง โน้ตตัวนั้นก็จะต้องเล่นด้วยความเร็วสูงขึ้น ด้วยจำนวนครั้งมากขึ้นในหนึ่งนาที ในช่วงต้นศตวรรษที่ 19 ดีทริช นีโกลาส วิงเกล (1780 - 1826) นักประดิษฐ์ชาวดัตช์ได้สร้างเครื่องจับจังหวะ (metronome) ขึ้นในปี..

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและเทมโป · ดูเพิ่มเติม »

เดอะบีเทิลส์

อะบีเทิลส์ (The Beatles) เป็นวงร็อกแอนด์โรลจากเมืองลิเวอร์พูล ประเทศอังกฤษ ในปี 1960 ประกอบด้วยสมาชิก ร้องนำและมือกีตาร์ จอห์น เลนนอน ร้องนำและมือเบสพอล แม็กคาร์ตนีย์ มือกีตาร์ จอร์จ แฮร์ริสัน และมือกลอง ริงโก สตาร์ บีเทิลส์ได้รับการยกย่องอย่างกว้างขวางให้เป็นวงร็อกที่มีอิทธิพลที่สุดแห่งยุคและเป็นหนึ่งในวงที่ประสบความสำเร็จมากที่สุด ในตอนเริ่มต้นแนวดนตรีของพวกเขาจะเป็นแบบสกิฟเฟิลและร็อกแอนด์โรล แต่ในเวลาต่อมาบีเทิลส์ก็ได้สรรค์สร้างแนวเพลงอีกหลากหลาย นับแต่ไปจนถึงไซเคเดลิก บางครั้งก็ผสมแนวดนตรีคลาสสิกหรือเครื่องดนตรีแบบอื่นๆ ด้วยกระแสนิยมของบีเทิลส์อย่างสูง จนถึงกลับเรียกกระแสเหล่านี้ว่า "บีเทิลมาเนีย" (Beatlemania) โดยเฉพาะในช่วงยุค 60 - 70 เดอะบีเทิลส์เริ่มสร้างชื่อเสียงจากเล่นคอนเสิร์ตในคลับที่ลิวเวอร์พูลและฮัมบูร์กในช่วง 3 ปีของ 1960 โดยมีเพลงฮิตที่ประสบความสำเร็จครั้งแรกอย่าง "เลิฟมีดู" (Love Me Do) ในช่วงปลายปี 1962 พวกเขาได้ฉายา "เดอะแฟปโฟร์" (the Fab Four) ในขณะที่กระแสบีเทิลมาเนียก็เริ่มเกิดขึ้นมาพปีต่อมา และในช่วงก่อนปี 1964 พวกเขาก็ได้กลายมาเป็นไไแห่งวงการดนตรีนานาชาติ ไกลไปจนถึงตลาดเพลงป๊อปของสหรัฐอเมริกา ในปี 1965 เดอะบีเทิลส์ได้สร้างงานดนตรีที่ได้รับการยกย่องว่าเป็น ชิ้นชเอกทั้งหของนวัตกรรมดนตรีและอิทธิพลทางดนตรีสมัยใหม่ เช่น Rubber Soul (1965), Revolver (1966), Sgt.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและเดอะบีเทิลส์ · ดูเพิ่มเติม »

เดอะมูดีบลูส์

อะมูดีบลูส์ (The Moody Blues) เป็นกลุ่มดนตรีร็อกสัญชาติอังกฤษ เล่นดนตรีในแนวโปรเกรสซีฟร็อกโดยมีพื้นฐานมาจากดนตรีคลาสสิก วงก่อตั้งที่เมืองเบอร์มิงแฮม ในปี ค.ศ. 1964 ประกอบด้วยสมาชิก 5 คน คือ เรย์ โทมัส (ฟลูท-ร้องนำ), จอห์น ลอดจ์ (เบส), ไมเคิล พินเดอร์ (เปียโน-กีตาร์), เดนนี เลน (กีตาร์), คลินต์ วอร์ริค (เบส) และ แกรม เอดจ์ (ผู้จัดการวง ซึ่งต่อมากลายเป็นมือกลองของวง) ชื่อวงมาจากชื่อ "The M B's" และ "The M B Five" เป็นชื่อบริษัทขายเบียร์ มิตเชลแอนด์บัตเลอร์ (M&B) ที่ทางวงคาดหวังจะให้เป็นผู้สนับสนุนในช่วงตั้งวง ต่อมาได้แผลงเป็น "The Moody Blues" ตามชื่อเพลง "Mood Indigo" ของดุค เอลลิงตัน; Classicbands.com เดอะมูดีบลูส์มีชื่อเสียงจากผลงานอัลบัมที่สอง Days of Future Passed ในปี..

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและเดอะมูดีบลูส์ · ดูเพิ่มเติม »

เดอะลอร์ดออฟเดอะริงส์

อะลอร์ดออฟเดอะริงส์ (The Lord of the Rings) เป็นนิยายแฟนตาซีขนาดยาว ประพันธ์โดยศาสตราจารย์ชาวอังกฤษ เจ. อาร์. อาร์. โทลคีน เป็นนิยายที่ต่อเนื่องกับนิยายชุดก่อนหน้านี้ของโทลคีน คือ เรื่อง There and Back Again หรือที่รู้จักกันดีอีกชื่อหนึ่งว่า เดอะฮอบบิท แต่ได้ขยายโครงเรื่องซับซ้อนไปกว่า เดอะฮอบบิท มาก โทลคีนแต่งเรื่องนี้ขึ้นในช่วงปี..

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและเดอะลอร์ดออฟเดอะริงส์ · ดูเพิ่มเติม »

เด่น อยู่ประเสริฐ

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เด่น อยู่ประเสริฐ (23 มีนาคม พ.ศ. 2512 -, กรุงเทพมหานคร) นักเปียโนแจ๊ส นักวิชาการ นักแต่งเพลง และวาทยกร เป็นผู้ได้รับรางวัลศิลปาธร สาขาดนตรี จัดโดยสำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ประจำปี..

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและเด่น อยู่ประเสริฐ · ดูเพิ่มเติม »

เซว เหว่ย

ซว เหว่ย นักไวโอลินชาวจีนที่มีชื่อเสียงในระดับโลก เกิดเมื่อ..

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและเซว เหว่ย · ดูเพิ่มเติม »

เซียร์เกย์ รัคมานีนอฟ

ซียร์เกย์ วาซีเลวิช รัคมานีนอฟ (Сергей Васильевич Рахманинов) เป็นคีตกวี, นักเปียโน และ วาทยากร ชาวรัสเซีย เขาถูกจัดให้เป็นนักเปียโนที่มีชั้นเชิงและมีอิทธิพลมากที่สุดในยุคของเขา และเป็นผู้นำดนตรีคลาสสิกแบบโรแมนติกในยุโรป บทเพลงของเซียร์เกย์นั้นมีแรงขับมหาศาล และต้องอาศัยเทคนิคชั้นสูงในการบรรเลง โดยเฉพาะ Piano Concerto No.2, Op.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและเซียร์เกย์ รัคมานีนอฟ · ดูเพิ่มเติม »

เซดด์

อันทอน ซาสลัฟสกี (Anton Zaslavski) หรือรู้จักในชื่อ เซดด์ (Zedd) เกิดวันที่ 2 กันยายน..

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและเซดด์ · ดูเพิ่มเติม »

เปียโน

ปียโน (ย่อมาจาก เปียโนฟอร์เต) เป็นเครื่องดนตรีที่บรรเลงโดยการกดลิ่มนิ้ว (คีย์บอร์ด) มักใช้นิยมบรรเลงเพลงแนว คลาสสิก และ แจ๊ส แม้ว่าเปียโนจะมีขนาดใหญ่และหนักทำให้ไม่สามารถพกพาได้ และมีราคาค่อนข้างแพง แต่เปียโนก็เป็นเครื่องดนตรีที่ได้เปรียบเครื่องดนตรีมากมาย เสียงของเปียโนสามารถเข้ากับเครื่องดนตรีเกือบทุกชนิด ดังนั้นเปียโนจึงสามารถเล่นได้ทั้งแบบบรรเลงเดี่ยว, แชมเบอร์, คลอเสียง หรือแม้กระทั่งร่วมกับวง ออร์เคสตรา ฝาครอบและแผ่นครอบของเปียโนอะคูสติกจะทำมาจากไม้ ในขณะที่กระดานเสียง (soundboard) จะถูกทำจากเหล็กกล้า และขึงด้วยสายโลหะ ลิ่มนิ้วของเปียโนมาตรฐานมีอยู่ทั้งหมด 88 คีย์ (คีย์ขาว 52, คีย์ดำ 36) ช่วงคีย์ปกติจะมีสายโลหะอยู่ 3 เส้นในหนึ่งคีย์ และคีย์เบสจะมีสายโลหะเส้นใหญ่อยู่ 1–2 เส้นในหนึ่งคีย์ เมื่อกดคีย์ จะเกิดเป็นเสียงโน้ตดนตรีที่มีความถี่การสั่นพ้องแตกต่างกันออกไป และเมื่อปล่อยคีย์ เสียงก็จะถูกตัด หากต้องการให้เสียงกังวานและลากยาวก็สามารถทำให้ โดยการเหยียบเพดัลขวา (คันเหยียบ) ที่อยู่บริเวณด้านล่างของเปียโนค้างไว้ กลไกการเกิดเสียงในเปียโนอะคูสติกนั้น เริ่มจากแรงจากการกดคีย์จะถูกส่งผ่านโดยกลไกที่ซับซ้อนไปยังหัวค้อน และหัวค้อนจะตีกระทบกับสายโลหะที่ขึงอยู่บนกระดานเสียงเกิดเป็นเสียงดนตรี ในระหว่างที่คีย์ถูกกดอยู่นั้น กลไกที่เรียกว่า แดมเปอร์ (damper) ของแต่ละคีย์ ซึ่งเดิมจะคอยดันสายโลหะไว้จะถูกยกออก ทำให้สายโลหะเกิดการสั่นพ้องได้ เมื่อใดก็ตามที่ปล่อยคีย์ แดมเปอร์จะกลับมาดันสายโลหะ ทำให้เสียงถูกตัดไป ดังนั้นการเหยียบเพดัลขวา จะเป็นการยกเพดัลของทุกคีย์ออก ทำให้สายโลหะเกิดการสั่นพ้องและกังวานมากขึ้นซึ่งทำให้เพลงมีความไพเราะ อย่างไรก็ตาม การเหยียบเพดัลขวาแช่ไว้ จะทำให้เสียงโน้ตดนตรีกังวานจนตีกับโน้ตดนตรีที่ตามมาทีหลัง ดังนั้นผู้บรรเลงจึงต้องทำการยกเท้าจากเพดัลเป็นจังหวะ ๆ เพื่อเป็นการตัดโน้ตดนตรีไม่ให้ข้ามห้องหรือตีกัน คำว่า เปียโน นั้น เป็นคำย่อจากคำว่า เปียโนฟอร์เต, ซึ่งเป็นภาษาอิตาลี ซึ่งเป็นการประสมคำระหว่างคำว่า เปียโน ที่แปลว่า "นุ่มนวล" กับ ฟอร์เต ที่แปลว่า "แข็งแกร่ง" ซึ่งมีที่มาจากการที่เป็ยโนนั้นมีคุณภาพเสียงที่หลากหลาย คีย์เบสที่ให้เสียงกังวานและทรงพลัง คีย์ปกติที่ให้เสียงนุ่มนวล และคีย์สูงที่ให้เสียงเล็กแหลม.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและเปียโน · ดูเพิ่มเติม »

Pictures at an Exhibition

รูปถ่ายของโมเดสต์ มูสซอร์กสกี เมื่อปีค.ศ. 1876 ห้องที่ 3 และ 4 ในท่อนเปิดบทเพลง "Promenade" โดยใช้บทเพลงสำนวนพื้นเมืองของชาวรัสเซียแฝงอยู่มาก Pictures at an Exhibition หรือ งานนิทรรศการภาพวาด เป็นบทเพลงชุดผลงานเดี่ยวเปียโนที่ประพันธ์โดย โมเดสต์ มูสซอร์กสกีขึ้นในปีค.ศ. 1874 ซึ่งเป็นผลงานที่ทั่วโลกยอมรับว่า เป็นบทเพลงเดี่ยวเปียโนที่มีชื่อเสียงที่สุดในแวดวงเพลงคลาสสิก และเป็นผลงานสำหรับยอดนักเปียโนที่ความสามารถสูง มูสซอร์กสกีได้ประพันธ์เพลงนี้โดยอาศัยเพลงพื้นเมืองของชาวรัสเซียแฝงไว้มาก ซึ่งเป็นสิ่งที่ต้องเรียนรู้อีกมากมายในบทเพลง และต่อมา มีคีตกวีแห่งยุคศตวรรษที่ 20 ในนามว่า มัวริส ราเวล คีตกวีชาวฝรั่งเศส ในยุคอิมเพรสชั่นนิสม์ (Impressionism) ได้นำเพลงของมูสซอร์กสกีมาเรียบเรียงตามแนวฉบับอิมเพรสชั่นนิสม์ ราเวลได้ประพันธ์เพลงนี้โดยคงรูปแบบเพลงของมูสซอร์กสกีไว้ให้วงออเคสตร้าบรรเลง จึงได้มีการบันทึกเสียงการแสดงสด ๆ อีกด้วย จึงทำให้ชื่อมูสซอร์กสกีเป็นที่นิยมของทั่วโลกว่า เพลงของเขา ไม่ตกจริง.

ใหม่!!: ดนตรีคลาสสิกและPictures at an Exhibition · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Classical Musicดนตรีคลาสสิค

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »