โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พ.ศ. 2443

ดัชนี พ.ศ. 2443

ทธศักราช 2443 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1900 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

83 ความสัมพันธ์: ชิอุเนะ ซุงิฮะระบุศย์ ปัทมศรินพ.ศ. 2399พ.ศ. 2405พ.ศ. 2411พ.ศ. 2487พ.ศ. 2492พ.ศ. 2498พ.ศ. 2501พ.ศ. 2502พ.ศ. 2520พ.ศ. 2522พ.ศ. 2526พ.ศ. 2529พ.ศ. 2532พ.ศ. 2538พ.ศ. 2551พ.ศ. 2558พระบรมราชานุญาตพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระมหากษัตริย์ไทยพระที่นั่งวิมานเมฆพริทอเรียมาร์กาเร็ต มิตเชลล์มณฑลพายัพมณฑลอุดรมนตรี ตราโมทรัฐในอารักขารูฮุลลอฮ์ โคมัยนีสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักรสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจาตุรนต์รัศมี กรมพระจักรพรรดิพงษ์สหราชอาณาจักรหลวงทัศนัยนิยมศึก (ทัศนัย มิตรภักดี)อาร์เธอร์ อีแวนส์อ็องตวน เดอ แซ็งแตกซูว์เปรีถัด พรหมมาณพครูบาอภิชัย (ขาวปี)ครีตปฏิทินเกรโกเรียนประเทศออสเตรเลียประเทศอังกฤษประเทศตองงาประเทศแอฟริกาใต้ประเทศเยอรมนีปรีดี พนมยงค์ปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์แบลนช์ คอบบ์แฌร์แมน กอตีโรงเรียนมัธยมวัดเบญจมบพิตร...โรงเรียนปทุมคงคาโจะเซ โทะดะเย็น แก้วมะณีเรดอนเดนนิส กาบอร์1 มกราคม1 ตุลาคม11 พฤษภาคม11 กุมภาพันธ์11 เมษายน12 ตุลาคม16 มีนาคม16 สิงหาคม17 พฤษภาคม17 กุมภาพันธ์17 มิถุนายน18 พฤษภาคม18 กรกฎาคม2 กรกฎาคม21 ตุลาคม22 กันยายน23 มกราคม23 ตุลาคม29 มิถุนายน31 สิงหาคม45 มิถุนายน6 สิงหาคม7 เมษายน8 พฤศจิกายน8 กันยายน9 กรกฎาคม9 เมษายน ขยายดัชนี (33 มากกว่า) »

ชิอุเนะ ซุงิฮะระ

อุเนะ ซุงิฮะระ (1 มกราคม ค.ศ. 1900 - 31 กรกฎาคม ค.ศ. 1986) เป็นนักการทูตชาวญี่ปุ่น ประจำอยู่ที่สถานทูตจักรวรรดิญี่ปุ่นในเมืองเคานัส ประเทศลิทัวเนีย ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 เขาได้ช่วยเหลือชาวยิวนับพันให้หลบหนีออกจากประเทศโดยเขาได้ออกวีซ่าให้ผู้ลี้ภัยชาวยิวให้สามารถเดินทางมายังญี่ปุ่นได้ ส่วนใหญ่ผู้ลี้ภัยมาจากโปแลนด์ในการยึดครองของเยอรมนีหรือผู้อาศัยอยู่ในลิทัวเนีย สึกิฮาระได้ออกวีซ่าช่วยเหลือชาวยิวผู้ลี้ภัยได้มากกว่า 6,000 คนไปยังดินแดนของญี่ปุ่น ซึ่งเสี่ยงต่ออาชีพการงานของเขา รวมถึงครอบครัวของเขาด้วย ในปี 1985 อิสราเอลได้มอบรางวัล Righteous Among the Nations ให้แก่การกระทำของ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2443และชิอุเนะ ซุงิฮะระ · ดูเพิ่มเติม »

บุศย์ ปัทมศริน

มจำเลยผู้ถูกประหารชีวิตในกรณีสวรรคต รัชกาลที่ 8 พ.ศ. 2489 (จากซ้าย) นายชิต สิงหเสนี '''นายบุศย์ ปัทมศริน''' และนายเฉลียว ปทุมรส บุศย์ ปัทมศริน เป็นอดีตมหาดเล็กห้องบรรทมในรัชกาลที่ 8 ผู้ถูกกล่าวหาว่ามีส่วนเกี่ยวข้องในการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล เมื่อ พ.ศ. 2489 ต่อมาได้ตกเป็นผู้ต้องหาในคดีดังกล่าวและได้รับการตัดสินโทษประหารชีวิตในปี พ.ศ. 2498 นายบุศย์ ปัทมศริน เป็นบุตรของขุนวิสูตรเสนีย์กับนางปุก ปัทมศริน เกิดเมื่อ พ.ศ. 2443 จบการศึกษาระดับมัธยมศีกษาปีที่ 5 จากโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย เข้ารับราชการครั้งแรกในกรมปลัดบัญชี ต่อมาเมื่อพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร เสด็จนิวัติพระนครใน พ.ศ. 2488 จึงได้เลื่อนเป็นมหาดเล็กตั้งเครื่อง และมหาดเล็กห้องบรรทมตามลำดับ เมื่อเกิดเหตุการณ์การสวรรคตของรัชกาลที่ 8 นายบุศย์ได้ขึ้นให้การต่อคณะกรรมการสอบสวนพฤตติการณ์ในการที่พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดลเสด็จสวรรคต หรือ "ศาลกลางเมือง" ในฐานะพยานสำคัญ เนื่องจากนายบุศย์เป็น 1 ใน 2 คนที่อยู่ใกล้ชิดกับห้องพระบรรทมของรัชกาลที่ 8 มากที่สุด แต่ภายหลังเหตุการณ์รัฐประหาร พ.ศ. 2490 นายบุศย์พร้อมด้วยบุคคลอื่นอีก 4 คน ได้ถูกจับกุมด้วยข้อหามีส่วนร่วมในการวางแผนลอบปลงพระชนม์รัชกาลที่ 8 ซึ่งต่อมาอัยการได้สั่งฟ้องนายบุศย์พร้อมกับผู้ต้องหาอีก 2 คน คือ นายเฉลียว ปทุมรส และนายชิต สิงหเสนี ในการพิจารณาคดีชั้นศาล ศาลอาญาได้พิพากษาให้ปล่อยตัวนายบุศย์ แต่ในชั้นศาลอุทธรณ์ได้กลับคำพิพากษาให้ประหารชีวิตนายบุศย์พร้อมกับนายชิต ที่สุดแล้วเมื่อมีการพิจารณาในชั้นศาลฎีกา ได้มีการพิพากษาให้ประหารชีวิตจำเลยในคดีนี้ทั้ง 3 คนเมื่อวันที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2497ห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ศาลยุติธรรม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2443และบุศย์ ปัทมศริน · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2399

ทธศักราช 2399 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1856.

ใหม่!!: พ.ศ. 2443และพ.ศ. 2399 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2405

ทธศักราช 2405 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1862.

ใหม่!!: พ.ศ. 2443และพ.ศ. 2405 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2411

ทธศักราช 2411 ตรงกั.

ใหม่!!: พ.ศ. 2443และพ.ศ. 2411 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2487

ทธศักราช 2487 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1944 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2443และพ.ศ. 2487 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2492

ทธศักราช 2492 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1949.

ใหม่!!: พ.ศ. 2443และพ.ศ. 2492 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2498

ทธศักราช 2498 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1955 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2443และพ.ศ. 2498 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2501

ทธศักราช 2501 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1958 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2443และพ.ศ. 2501 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2502

ทธศักราช 2502 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1959 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2443และพ.ศ. 2502 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2520

ทธศักราช 2520 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1977 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2443และพ.ศ. 2520 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2522

ทธศักราช 2522 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1979 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2443และพ.ศ. 2522 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2526

ทธศักราช 2526 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1983 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2443และพ.ศ. 2526 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2529

ทธศักราช 2529 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1986 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2443และพ.ศ. 2529 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2532

ทธศักราช 2532 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1989 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2443และพ.ศ. 2532 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2538

ทธศักราช 2538 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1995 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2443และพ.ศ. 2538 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2551

ทธศักราช 2551 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2008 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2443และพ.ศ. 2551 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2558

ทธศักราช 2558 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2015 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน นับเป็นปีที่ 2015 ตามกำหนดสากลศักร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2443และพ.ศ. 2558 · ดูเพิ่มเติม »

พระบรมราชานุญาต

มเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 6 แห่งแคนาดาพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้เป็นกฎหมายในสภาสูงแห่งแคนาดาเมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม ค.ศ. 1939 การพระราชทาน พระบรมราชานุญาต (Royal assent) เป็นวิธีการที่พระมหากษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญทรงรับรองให้ประกาศใช้พระราชบัญญัติของรัฐสภาอย่างเป็นทางการ สิทธิในการไม่ทรงยอมมอบพระบรมราชานุญาตเป็นสิทธิที่ใช้กันบ่อยในอดีตแต่คริสต์ศตวรรษที่ 18 เป็นต้นมาก็เกือบไม่มีการใช้สิทธินี้แล้ว สิทธิยับยั้งพระบรมราชานุญาตเป็นสิทธิส่วนพระองค์ของพระมหากษัตริย์ซึ่งเป็นสิทธิที่แปลงไปใช้ในระบบการปกครองของสหรัฐอเมริกาที่เรียกว่าการยับยั้งของประธานาธิบดี (Presidential veto) การพระราชทาน “พระบรมราชานุญาต” บางครั้งก็เป็นการกระทำอย่างมีพิธีรีตอง ในสหราชอาณาจักรพระมหากษัตริย์อาจจะทรงแต่งตั้ง “Lords Commissioners” ให้เป็นผู้ประกาศอ่านพระบรมราชานุมัติในพิธีที่ทำที่พระราชวังเวสต์มินสเตอร์ พระราชวังบักกิงแฮม หรือที่ประทับอื่น แต่การพระราชทานพระบรมราชานุญาตสำหรับหนังสือตราตั้งจะเป็นพิธีที่เล็กกว่า ในประเทศอื่น ๆ รวมทั้งประเทศออสเตรเลียและประเทศแคนาดา ผู้สำเร็จราชการอาจจะเป็นผู้ลงนามในร่างพระราชบัญญัติ ในแต่ละกรณีรัฐสภาก็ต้องประกาศการอนุญาต ทั้งสองวิธี “Lords Commissioners” หรือผู้แทนพระองค์ก็อาจจะอ่านประกาศการอนุญาตแก่ทั้งสองสภาของรัฐสภาร่วมกัน หรืออาจจะเป็นการประกาศที่แยกกันในกรณีนั้นผู้อ่านประกาศการอนุญาตก็คือประธาน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2443และพระบรมราชานุญาต · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว  (20 กันยายน พ.ศ. 2396 – 23 ตุลาคม พ.ศ. 2453) เป็นพระมหากษัตริย์สยาม รัชกาลที่ 5 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันอังคาร เดือน 10 แรม 3 ค่ำ ปีฉลู ตรงกับวันที่ 20 กันยายน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2443และพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระมหากษัตริย์ไทย

ระมหากษัตริย์ไทย เป็นประมุขของประเทศไทยตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันตามระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์และประชาธิปไตย ถึงแม้ว่าพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์จะลดลงหลังจากการปฏิวัติเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 และถูกจำกัดโดยรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แต่สถาบันพระมหากษัตริย์ก็ยังคงได้รับความเคารพนับถือจากประชาชนชาวไทยส่วนใหญ่ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม พุทธศักราช 2475 กับทั้งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยทุกฉบับว่า พระมหากษัตริย์ "ทรงดำรงอยู่ในฐานะอันเป็นที่เคารพสักการะ ผู้ใดจะละเมิดมิได้" นอกจากนั้น พระมหากษัตริย์ยังทรงได้รับความคุ้มครองด้วยกฎหมายอาญา ทำให้การวิพากษ์วิจารณ์พระองค์เป็นความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขแห่งรัฐ ทรงใช้อำนาจอธิปไตยผ่านคณะรัฐมนตรี รัฐสภา และศาล ทรงเป็นจอมทัพไทย พุทธมามกะ และอัครศาสนูปถัมภก มีพระราชอำนาจสถาปนาและพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์กับฐานันดรศักดิ์ พระราชทานอภัยโทษ ประกาศสงครามและสงบศึก รวมตลอดถึงพระราชอำนาจอื่น ๆ ซึ่งจะทรงใช้ได้ก็แต่โดยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กฎหมายกำหนดไว้ ยกเว้นพระราชอำนาจบางประการที่ทรงใช้ได้ตามพระราชอัธยาศัย คือ ตั้งและถอดองคมนตรีกับบรรดาข้าราชการในพระองค์ พระมหากษัตริย์ไทยแห่งราชวงศ์จักรี และเป็นประมุขราชวงศ์จักรี มีที่ประทับอย่างเป็นทางการคือพระบรมมหาราชวัง กรุงเทพมหานคร พระมหากษัตริย์องค์ปัจจุบันคือ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร โดยทรงรับตำแหน่งเมื่อวันที่ 1 ธันวาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2443และพระมหากษัตริย์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

พระที่นั่งวิมานเมฆ

ระที่นั่งวิมานเมฆ เป็นพระที่นั่งในพระราชวังดุสิต กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2443และพระที่นั่งวิมานเมฆ · ดูเพิ่มเติม »

พริทอเรีย

กรุงพริทอเรีย (Pretoria) เป็นเมืองหลวงศูนย์กลางการบริหารประเทศแอฟริกาใต้ อยู่ในเขตจังหวัดกาวเต็ง(Gauteng) มีจำนวนประชากรประมาณ 3 ล้านคนเศษ ประเทศแอฟริกาใต้ได้จัดลำดับเมืองหลวงออกเป็นสามเมืองได้แก่ กรุงพริทอเรีย เป็นเมืองศูนย์กลางการบริหารประเทศ และอีกสองเมืองคือ เคปทาวน์และบลูมฟอนเทน กรุงพริทอเรีย นอกจากจะเป็นเมืองหลวงของประเทศแล้ว ยังเป็นเมืองที่ศูนย์กลางธุรกิจการพาณิชย์เมืองหนึ่งของประเทศแอฟริกาใต้ เนื่องจากอยู่ในที่สูงจึงมีพายุฝนรุนแรง และหิมะตกในฤดูหนาว ในปี 2010 สาธารณรัฐแอฟริกาใต้ได้รับเกียรติให้เป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันฟุตบอลโลก สนามกีฬาลอฟตัสเวอร์สเฟลด์ในกรุงพริทอเรีย เป็นหนึ่งในบรรดาสนามแข่งขันฟุตบอลโลกในปี 2010 หมวดหมู่:เมืองหลวง หมวดหมู่:เมืองในประเทศแอฟริกาใต้.

ใหม่!!: พ.ศ. 2443และพริทอเรีย · ดูเพิ่มเติม »

มาร์กาเร็ต มิตเชลล์

มาร์กาเร็ต มิตเชลล์ผู้ประพันธ์นวนิยายเรื่อง "วิมานลอย" (Gone With The Wind) มาร์กาเร็ต มุนเนอร์ลีน มิตเชลล์ (Margaret Munnerlyn Mitchell; 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2443 – 16 สิงหาคม พ.ศ. 2492) นักเขียนนวนิยายชาวอเมริกันผู้ได้รับรางวัลพูลิตเซอร์เมื่อ พ.ศ. 2480 สำหรับนวนิยายเพียงเรื่องเดียวที่เธอเคยเขียนขึ้น คือเรื่อง "วิมานลอย" (Gone With The Wind) ตีพิมพ์เมื่อ พ.ศ. 2479 นวนิยายเรื่องนี้นับเป็นนวนิยายเรื่องเดียวที่ได้รับความนิยมสูงสุดเท่าที่เคยมีมา เป็นหนังสือปกแข็งที่มีจำนวนจำหน่ายรองจากคัมภีร์ไบเบิล แม้ในปัจจุบันก็ยังจำหน่ายได้ประมาณปีละ 200,000 เล่ม นวนิยายเรื่องนี้ได้รับการดัดแปลงเป็นภาพยนตร์ออกฉายเป็นครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2482 และทำรายได้สูงสุดในประวัติศาสตร์ของฮอลลีวูด รวมทั้งการทำลายสถิติการได้รับรางวัลอะแคเดมีมากที.

ใหม่!!: พ.ศ. 2443และมาร์กาเร็ต มิตเชลล์ · ดูเพิ่มเติม »

มณฑลพายัพ

มณฑลพายัพ เป็นมณฑลหนึ่งในการปกครองส่วนภูมิภาคระบบมณฑลเทศาภิบาลของราชอาณาจักรสยาม ครอบคลุมพื้นที่ภาคเหนือตอนบน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2443และมณฑลพายัพ · ดูเพิ่มเติม »

มณฑลอุดร

มณฑลอุดร หรือ มณฑลาวพวน ก่อตั้งเมื่อพ.ศ. 2433 จากหัวเมืองลาวฝ่ายเหนือ ซึ่งตั้งอยู่บริเวณริมฝั่งแม่น้ำโขง (ปัจจุบันคือ จังหวัดหนองคาย) ต่อมาสยามได้เสียดินแดนฝั่งขวาแม่น้ำโขงให้แก่ฝรั่งเศส หัวเมืองลาวฝ่ายเหนือ จึงต้องย้ายที่ตั้งหัวเมืองลงมาจากฝั่งแม่น้ำโขง 50 กิโลเมตร เนื่องจากทางการสยามได้ทำสัญญากับฝรั่งเศส ให้ทั้งสองฝ่ายตั้งกองกำลังห่างจากแนวเขตแดนระยะทาง 50 กิโลเมตร พระเจ้าน้องยาเธอ พลตรี พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นประจักษ์ศิลปาคม จึงย้ายมาตั้งอยู่บริเวณบ้านเดื่อหมากแข้ง ต่อมาไม่นานเปลี่ยนเป็น มณฑลลาวพวน และเปลี่ยนชื่อใหม่เป็น มณฑลอุดร มีที่ตั้งบริเวณบ้านเดื่อหมากแข้ง จังหวัดอุดรธานี ในปัจจุบัน โดยมีพระเจ้าน้องยาเธอ พลตรี พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นประจักษ์ศิลปาคม เป็นข้าหลวงใหญ่มณฑลอุดร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2443และมณฑลอุดร · ดูเพิ่มเติม »

มนตรี ตราโมท

มนตรี ตราโมท นักดนตรีไทย และศิลปินแห่งชาต.

ใหม่!!: พ.ศ. 2443และมนตรี ตราโมท · ดูเพิ่มเติม »

รัฐในอารักขา

ตามกฎหมายระหว่างประเทศ รัฐในอารักขา (protectorate; protected state) หมายถึงรัฐกึ่งเอกราชซึ่งมีอิสรภาพในการปกครองตนเอง มีผู้ปกครองเป็นคนในท้องที่ แต่ยอมอยู่ภายใต้การคุ้มครองของประเทศอื่นซึ่งเข้มแข็งกว่า (มีอำนาจปกครอง แต่ไม่มีอำนาจสั่งทหาร) ทั้งนี้ก็เพื่อเป็นการป้องกันภัยจากประเทศที่สาม รัฐในอารักขามักจะมอบสิทธิพิเศษทางการค้าและอนุญาตให้ผู้คุ้มครองเข้าใช้ดินแดนบางส่วนในรัฐของตนเพื่อเป็นการตอบแทนความคุ้มครอง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2443และรัฐในอารักขา · ดูเพิ่มเติม »

รูฮุลลอฮ์ โคมัยนี

อายะตุลลอฮ์ รูฮุลลอฮ์ โคมัยนี (เปอร์เซีย:; อังกฤษ: Ruhollah Khomeini) (24 กันยายน ค.ศ. 1902 - 3 มิถุนายน ค.ศ. 1989) อดีตผู้นำสูงสุดแห่งอิหร่าน ผู้ทำการล้มล้างอำนาจของพระเจ้าชาร์มูฮัมหมัด เรซา ปาฮ์เลวี ของอิหร่านซึ่งได้รับการสนับสนุนจากประเทศสหรัฐอเมริกา ในปี พ.ศ. 2523 ประกาศการปฏิวัติอิสลาม และประกาศสงครามอิหร่าน-อิรัก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2443และรูฮุลลอฮ์ โคมัยนี · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร

มเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย พระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักรในช่วงระหว่าง 20 มิถุนายน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2443และสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี

ลเอกหญิง พลเรือเอกหญิง พลอากาศเอกหญิง พลตำรวจเอกหญิง สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี (พระนามเดิม: สังวาลย์ ตะละภัฏ; พระราชสมภพ: 21 ตุลาคม พ.ศ. 2443 ณ จังหวัดนนทบุรี — สวรรคต: 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2538 ณ กรุงเทพมหานคร) เป็นพระชายาในสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก เป็นพระราชชนนีในสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์, พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร และพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และเป็นพระอัยยิกาในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร พระองค์มีพระนามที่นิยมเรียกกันว่า สมเด็จย่า ทั้งนี้พระองค์ยังได้ประกอบพระราชกรณียกิจเยี่ยมราษฎรชาวไทยภูเขาที่อาศัยในถิ่นทุรกันดาร และได้พระราชทานความช่วยเหลือผ่านทางเฮลิคอปเตอร์พระที่นั่ง เปรียบเสมือนพระองค์เสด็จมาจากฟากฟ้าช่วยให้พวกเขามีวิถีชีวิตที่ดีขึ้น ชาวไทยภูเขาจึงถวายพระสมัญญานามว่า "แม่ฟ้าหลวง"มูลนิธิแม่ฟ้าหลวง ในพระบรมราชูปถัม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2443และสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจาตุรนต์รัศมี กรมพระจักรพรรดิพงษ์

มเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจาตุรนค์รัศมี กรมพระจักรพรรดิพงษ์ มีพระนามเดิมว่า สมเด็จเจ้าฟ้าจาตุรนต์รัศมี เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่ 28 ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และพระองค์ที่ 3 ใน สมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี เป็นพระราชอนุชาร่วมพระครรโภทรในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวตรัสเรียกว่า "ท่านกลาง".

ใหม่!!: พ.ศ. 2443และสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจาตุรนต์รัศมี กรมพระจักรพรรดิพงษ์ · ดูเพิ่มเติม »

สหราชอาณาจักร

หราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ หรือโดยทั่วไปรู้จักกันว่า สหราชอาณาจักร และ บริเตน (Britain) เป็นรัฐเอกราชตั้งอยู่นอกชายฝั่งตะวันตกเฉียงเหนือของยุโรปภาคพื้นทวีป ประเทศนี้ประกอบด้วยเกาะบริเตนใหญ่ ส่วนตะวันออกเฉียงเหนือของเกาะไอร์แลนด์ และเกาะที่เล็กกว่าจำนวนมาก ไอร์แลนด์เหนือเป็นเพียงส่วนเดียวของสหราชอาณาจักรที่มีพรมแดนทางบกติดต่อกับรัฐอื่น คือ ประเทศไอร์แลนด์ นอกเหนือจากนี้แล้ว สหราชอาณาจักรล้อมรอบด้วยมหาสมุทรแอตแลนติกทางทิศตะวันตกและเหนือ ทะเลเหนือทางทิศตะวันออก ช่องแคบอังกฤษทางทิศใต้ และทะเลไอร์แลนด์ทางทิศตะวันตก รูปแบบการปกครองเป็นแบบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยมีระบบรัฐสภา เมืองหลวง คือ กรุงลอนดอน ประกอบด้วยสี่ประเทศ คือ ประเทศอังกฤษ สกอตแลนด์ เวลส์ และไอร์แลนด์เหนือ สามประเทศหลังนี้ได้รับการถ่ายโอนการบริหาร โดยมีอำนาจแตกต่างกัน ตั้งอยู่ในเมืองหลวงของประเทศนั้น ๆ คือ เอดินบะระ คาร์ดิฟฟ์ และเบลฟัสต์ตามลำดับ ส่วนเกิร์นซีย์ เจอร์ซีย์ และเกาะแมนเป็นบริติชคราวน์ดีเพนเดนซี และมิใช่ส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักร สหราชอาณาจักรมีดินแดนโพ้นทะเล 14 แห่ง ซึ่งเป็นสิ่งที่เหลืออยู่ของจักรวรรดิอังกฤษ ซึ่งขณะที่รุ่งเรืองที่สุดในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 นั้น ครอบคลุมพื้นดินของโลกเกือบหนึ่งในสี่ และเป็นจักรวรรดิใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ อิทธิพลของอังกฤษยังสามารถพบเห็นได้จากความแพร่หลายของภาษา วัฒนธรรมและระบบกฎหมายในอดีตอาณานิคมหลายแห่ง สหราชอาณาจักรเป็นประเทศพัฒนาแล้ว และมีเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 7 ของโลก ตามค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ ณ ราคาตลาด และเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 8 ของโลก ตามความเท่าเทียมของอำนาจซื้อ สหราชอาณาจักรเป็นประเทศอุตสาหกรรมประเทศแรกในโลก และเป็นมหาอำนาจอันดับหนึ่งของโลกระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 สหราชอาณาจักรยังถูกกล่าวขานว่าเป็นมหาอำนาจและยังมีอิทธิพลทางเศรษฐกิจ วัฒนธรรม ทหาร วิทยาศาสตร์และการเมืองระหว่างประเทศค่อนข้างมากอยู่ สหราชอาณาจักรได้รับรองว่าเป็นรัฐอาวุธนิวเคลียร์และมีรายจ่ายทางทหารมากเป็นอันดับที่ 4 ของโลก สหราชอาณาจักรเป็นสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาตินับแต่สมัยประชุมแรกใน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2443และสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

หลวงทัศนัยนิยมศึก (ทัศนัย มิตรภักดี)

ณะราษฎรสายทหารบก ที่สนามหญ้าหน้าวังปารุสกวันในวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 (หลวงทัศนัยนิยมศึก - ทัศนัย มิตรภักดี คือ คนที่ 2 จากซ้ายแถวกลาง) พันตรี หลวงทัศนัยนิยมศึก มีชื่อตัวว่า ทัศนัย มิตรภักดี (22 กันยายน พ.ศ. 2443–10 พฤษภาคม พ.ศ. 2476) อดีตนายทหารม้าชาวไทย และผู้ร่วมก่อตั้งคณะราษฎรชุดแรก (7 คนแรก) ณ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส และทำการปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475.

ใหม่!!: พ.ศ. 2443และหลวงทัศนัยนิยมศึก (ทัศนัย มิตรภักดี) · ดูเพิ่มเติม »

อาร์เธอร์ อีแวนส์

รูปปั้นบรอนซ์ของเซอร์อาเธอร์ อีแวนส์ที่วังนอสซัส เซอร์อาเธอร์ จอห์น อีแวนส์ อังกฤษ: Sir Arthur John Evans (8 กรกฎาคม พ.ศ. 2394 - 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2484 นักโบราณคดีผู้มีชื่อเสียงของอังกฤษผู้ขุดค้นวังนอสซัสบนเกาะครีต ประเทศกรีก อีแวนส์เกิดที่เมืองแนชมิลลส์ ประเทศอังกฤษ เข้าศึกษาขั้นต้นที่โรงเรียนแฮโรว์ และเข้าศึกษาระดับมหาวิทยาลัยที่วิทยาลัยบราเซโนส มหาวิทยาลัยออกซ์ฟอร์ด และมหาวิทยาลัยกอตติงเก็น ประเทศเยอรมนี ก่อนที่อีแวนส์จะเริ่มงานที่เกาะครีต นักโบราณคดีชื่อ มิโนส คาโลไคไนโนส ได้เปิดหลุมขุดค้นข้องเก็บของที่วังนอสซัสแล้วสองห้องเมื่อ พ.ศ. 2347 แต่รัฐบาลตุรกีได้ยับยั้งการขุดค้นนี้ไว้ก่อนงานขุดค้นจะแล้วเสร็จ อีแวนส์ได้ถอดรหัสที่จารึกบนตราที่ทำด้วยหินบนเกาะครีตในปีเดียวกันและเมื่อครีตได้ประกาศเอกราชเมื่อ พ.ศ. 2443 อีแวนส์ได้ซื้อบริเวณซากวังนอสซัสและเริ่มงานขุดค้น เซอร์อาเธอร์ อีแวนส์ได้ค้นพบ แผ่นดินเผาจากการขุดค้นมากถึง 3,000 แผ่นและเริ่มงานคัดลอกและถอดระหัส และจากการคัดลอกและถ่ายทอดนี้เป็นที่ชัดเจนว่าข้อความบนแผ่นดินเผาเป็นบทเขียนที่มากกว่าหนึ่งบท จากหลักฐานของเซรามิกและและวิชาการลำดับชั้นหิน (stratigraphy) อีแวนส์สรุปว่าอารยธรรมบนเกาะครีตมีมาก่อนอารยธรรมที่เป็นที่รับรู้เมื่อเร็วนี้โดยนักโบราณคดี-นักผจญภัยชื่อไฮน์ริช ชรีมานน์เป็นผู้เปิดเผย คืออารยธรรมไมซีนี (Mycenae) และไทรีนส์ (Tiryns) ซากโบราณที่วังนอสซัสแผ่กว้างเป็นเนื้อที่มากถึง 12.5 ไร่ และมีลักษณะความวกวนที่ทำให้อีแวนศนึกถึงเขาวงกตที่มีกล่าวไว้ในเรื่องปรัมปราของกรีกที่สร้างโดยกษัตริย์ไมโนสเพื่อซ่อนพระโอรสประหลาด (monstrous child - คนศีรษะวัว) ดังนั้น อีแวนส์จึงตั้งชื่ออารยธรรมที่เคยมีอยู่ที่พระราชวังยิ่งใหญ่นี้ว่า "อารธรรมมิโนน (Minoan Civilization) เมื่อถึง พ.ศ. 2446 งานขุดค้นวังนอสซัสแล้วเสร็จลงเกือบทั้งหมด เผยให้เห็นความก้าวหน้าของเมืองที่เต็มไปด้วยงานศิลปะและตัวอย่างงานเขียนจำนวนมาก ภาพที่เขียนบนผนังมีภาพวัวเป็นจำนวนมากทำให้อีแวนส์สรุปว่าชาวมิโนนบูชาวัวอย่างแน่นอน อีแวนส์ได้รับบรรดาศักดิ์เมื่อ พ.ศ. 2454 จากผลงานด้านโบราณคดีและได้มีการจัดสร้างอนุสาวรีย์ของเขาทั้งที่นอสซัสและที่พิพิธภัณฑ์แอชโมลีน ในปี พ.ศ. 2456 เซอร์อีแวนส์ได้ใช้เงินส่วนตัวจำนวน 100 ปอนด์เพื่อเพิ่มทุนการศึกษาที่ร่วมกันตั้งโดยมหาวิทยาลัยลอนดอนและสมาคมโบราณคดีให้เพิ่มเป็นสองเท่าเพื่อเป็นอนุสรณ์แก่ออกัสตัส โวลลาสตัน แฟรงค์ ผู้ได้ทุนในปีนั้นได้แก่มอร์ติเมอร์ วีลเลอร์ เซอร์อาเธอร์ อีแวนส์สมควรที่จะได้รับการจดจำจากความดื้อดึงในการยึดครีตเป็นศูนย์กลางที่นำไปสู่การโต้เถียงที่ไม่มีความเป็นมิตรระหว่างอีแวนส์กับนักโบราณคดีบนแผ่นดินใหญ่ คือคาร์ล เบลเจน และอลัน วาซ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2443และอาร์เธอร์ อีแวนส์ · ดูเพิ่มเติม »

อ็องตวน เดอ แซ็งแตกซูว์เปรี

อ็องตวน เดอ แซ็งแตกซูว์เปรี (Antoine de Saint-Exupéry) เป็นนักเขียนและนักบินชาวฝรั่งเศส เกิดเมื่อวันที่ 29 มิถุนายน ค.ศ. 1900 มีงานเขียนเป็นจำนวนมากในภาษาฝรั่งเศส ผลงานที่มีชื่อเสียงที่สุดคือเจ้าชายน้อย อ็องตวน เดอ แซ็งแตกซูว์เปรีหายสาบสูญขณะบินลาดตระเวนอยู่เหนือน่านฟ้าแอฟริกาเหนือเมื่อวันที่ 31 กรกฎาคม ค.ศ. 1944 ในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2443และอ็องตวน เดอ แซ็งแตกซูว์เปรี · ดูเพิ่มเติม »

ถัด พรหมมาณพ

นายถัด พรหมมาณพ (พ.ศ. 2443 - 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2502) อดีตรัฐมนตรีไม่ประจำกระทรวง และ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพัทลุง 4 สมั.

ใหม่!!: พ.ศ. 2443และถัด พรหมมาณพ · ดูเพิ่มเติม »

ครูบาอภิชัย (ขาวปี)

รูบาเจ้าอภิชัย (ขาวปี) เดิมชื่อ "จำปี" เกิดเมื่อวันที่ 17 เมษายน พ.ศ. 2443 เป็นบุตรของพ่อเม่า และแม่จันตา ท่านกำพร้าบิดาตั้งแต่อายุ 8 ขวบ ต่อมาเมื่ออายุได้ 16 ปี มารดาได้นำไปฝากให้เป็นศิษย์ของครูบาเจ้าศรีวิชัย ณ วัดบ้านปาง ท่านจึงได้เริ่มเรียนหนังสือ โดยท่านเป็นผู้มีนิสัยขยัน เล่าเรียนอย่างจริงจัง อ่อนโยน ว่านอนสอนง่าย นอบน้อม ท่านครูบาเจ้าศรีวิชัยจึงมักใช้เวลาที่ท่านรับใช้ใกล้ชิดอบรมกล่อมเกลา ถ่ายทอดความรู้ให้ด้วยความเมตตา จนท่านครูบาอภิชัยมีความรู้เป็นลำดับ สามารถอ่านออกเขียนได้ และมีทักษะในการสวดมนต์ได้ดี นอกจากนี้ในงานก่อสร้าง ท่านก็มิได้นิ่งดูดาย ได้หมั่นสังเกตพิจารณาในการช่างและเข้าไปช่วยทำงานนั้นๆ อย่างตั้งอกตั้งใจ จนมีความรู้ ความชำนาญในการช่าง เมื่อถึงเวลาอันสมควร ท่านจึงได้บรรพชาเป็นสามเณร และได้อุปสมบทเป็นพระภิกษุเมื่ออายุได้ 22 ปี ได้รับฉายาว่า “อภิชัยขาวปี”.

ใหม่!!: พ.ศ. 2443และครูบาอภิชัย (ขาวปี) · ดูเพิ่มเติม »

ครีต

รีต (Crete) หรือ ครีตี (Κρήτη: Krētē, Kriti) เป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดในหมู่เกาะกรีกและเป็นเกาะที่ใหญ่เป็นลำดับห้าในบรรดาเกาะในทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ที่มีเนื้อที่ 8,336 ตารางกิโลเมตร ครีตเป็นศูนย์กลางของอารยธรรมมิโนอัน (Minoan civilization) ที่เป็นอารยธรรมที่เก่าแก่ที่สุดในบรรดาอารยธรรมกรีกที่รุ่งเรืองระหว่างราว 2600 ถึง 1400 ปีก่อนคริสต์ศักราช ในปัจจุบันครีตเป็นหนึ่งในสิบสามเขตการปกครองของกรีซ (Peripheries of Greece) และมีความสำคัญทางเศรษฐกิจและวัฒนธรรมต่อกรีซ เดิมเกาะครีตรู้จักกันในชื่อภาษาอิตาลีว่า “คันเดีย” (Candia) จากชื่อเมืองหลวงในยุคกลางเฮราคลิออน (Heraklion) “Chandax” (ภาษากรีก: Χάνδαξ หรือ Χάνδακας, "คู", ตุรกี: Kandiye) ในภาษาละตินเรียกว่า “เครตา” (Creta) และในภาษาตุรกีเรียกว่า “กิริต” (Girit) ที่ตั้งของครีตมีความสำคัญทางประวัติศาสตร์ที่ในปัจจุบันเป็นสถานที่ที่เป็นที่นิยมของนักท่องเที่ยว ครีตเป็นที่ตั้งของ สถาที่สำคัญของอารยธรรมมิโนอันที่รวมทั้งคนอสซอส และ ไฟทอส (Phaistos), กอร์ทิส (Gortys), เมืองท่าคาเนีย (Chania) ของเวนิส, ปราสาทเวนิสที่เรธิมโน (Rethymno) และ ซอกเขาซามาเรีย (Samaria Gorge) ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สองเกาะครีตเป็นฐานทัพเรือของอิตาลี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2443และครีต · ดูเพิ่มเติม »

ปฏิทินเกรโกเรียน

ปฏิทินเกรโกเรียน (Gregorian Calendar) เป็นปฏิทินที่ดัดแปลงมาจากปฏิทินจูเลียน ใช้กันแพร่หลายในประเทศตะวันตก ประกาศใช้ครั้งแรกโดยสมเด็จพระสันตะปาปาเกรโกรีที่ 13 เมื่อ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2125 (ค.ศ. 1582) เหตุที่มีการคิดค้นปฏิทินเกรกอเรียนขึ้นใช้แทน เนื่องจากปีในปฏิทินจูเลียน ซึ่งยาวนาน 365.25 วันนั้น มีนานกว่าปีฤดูกาลจริง (365.2425 วัน) อยู่เล็กน้อย ทำให้วันวสันตวิษุวัตของแต่ละปี ขยับเร็วขึ้นทีละน้อย เพื่อที่จะให้วันอีสเตอร์ตรงกับวันที่ 21 มีนาคม (วันวสันตวิษุวัต) จึงจำเป็นต้องปฏิรูปปฏิทิน เนื่องจากสมเด็จพระสันตะปาปาทรงปรับปรุงปฏิทินโดยมีผลย้อนหลัง กำหนดให้ถัดจากวันที่ 4 ตุลาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2443และปฏิทินเกรโกเรียน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศออสเตรเลีย

ออสเตรเลีย (Australia) หรือชื่อทางการคือ เครือรัฐออสเตรเลีย เป็นประเทศซึ่งประกอบด้วยแผ่นดินหลักของทวีปออสเตรเลีย, เกาะแทสเมเนีย และเกาะอื่น ๆ ในมหาสมุทรอินเดีย แปซิฟิก และมหาสมุทรใต้ มันเป็นประเทศที่ใหญ่เป็นอันดับหกของโลกเมื่อนับพื้นที่ทั้งหมด ประเทศเพื่อนบ้านของออสเตรเลียประกอบด้วย อินโดนีเซีย ปาปัวนิวกินีและติมอร์-เลสเตทางเหนือ หมู่เกาะโซโลมอน วานูอาตู และนิวแคลิโดเนียทางตะวันออกเฉียงเหนือ และนิวซีแลนด์ทางตะวันออกเฉียงใต้ เป็นเวลาอย่างน้อย 40,000 ปี ก่อนที่จะตั้งถิ่นฐานครั้งแรกของอังกฤษในศตวรรษที่ 18,Davison, Hirst and Macintyre, pp.

ใหม่!!: พ.ศ. 2443และประเทศออสเตรเลีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอังกฤษ

อังกฤษ (England อิง(ก)ลันด์) หรือในอดีตเรียกว่า แคว้นอังกฤษ เป็นประเทศอันเป็นส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักร มีพรมแดนทางบกติดต่อกับสกอตแลนด์ทางเหนือ และเวลส์ทางตะวันตก ทะเลไอร์แลนด์ทางตะวันตกเฉียงเหนือ ทะเลเคลติกทางตะวันตกเฉียงใต้ ทะเลเหนือทางตะวันออก และช่องแคบอังกฤษซึ่งคั่นระหว่างอังกฤษกับยุโรปแผ่นดินใหญ่ พื้นที่ประเทศอังกฤษส่วนใหญ่ตั้งอยู่ทางตอนกลางและตอนใต้ของเกาะบริเตนใหญ่ในมหาสมุทรแอตแลนติกเหนือ ประเทศอังกฤษยังรวมถึงเกาะที่เล็กกว่าอีกกว่า 100 เกาะ เช่น หมู่เกาะซิลลีและเกาะไวต์ ภูมิประเทศของอังกฤษส่วนมากประกอบด้วยเขาเตี้ยๆ และที่ราบ โดยเฉพาะทางตอนกลางและตอนใต้ของอังกฤษ อย่างไรก็ตาม ทางเหนือและทางตะวันตกเฉียงใต้เป็นที่สูง วินเชสเตอร์เป็นเมืองหลวงเก่าของอังกฤษกระทั่งเปลี่ยนมาเป็นลอนดอนใน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2443และประเทศอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศตองงา

ตองงา (อังกฤษและTonga) มีชื่อทางการคือ ราชอาณาจักรตองงา (Kingdom of Tonga; Puleʻanga Fakatuʻi ʻo Tonga ปูเลอางา ฟากาตูอีโอโตงา) เป็นประเทศหมู่เกาะในภูมิภาคพอลินีเชีย ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิก ระหว่างประเทศนิวซีแลนด์กับรัฐฮาวายของสหรัฐอเมริกา โดยทะเลอาณาเขตทางตะวันตกติดกับประเทศฟิจิ ส่วนทางตะวันออกติดกับหมู่เกาะคุก นีวเว และอเมริกันซามัว ในขณะที่ทางทิศเหนือติดกับหมู่เกาะวาลิสและฟูตูนา ประเทศซามัว และอเมริกันซามัว ชื่อประเทศในภาษาตองงาแปลว่าทิศใต้ นอกจากนี้ประเทศนี้ได้รับฉายาว่า หมู่เกาะมิตรภาพ จากกัปตันเจมส์ คุก ประเทศตองงาเป็นประเทศขนาดเล็กมีเนื้อที่เพียง 747 ตารางกิโลเมตร นับเป็นอันดับที่ 189 ของโลก หมู่เกาะตองงาประกอบไปด้วยเกาะน้อยใหญ่ประมาณ 169 เกาะ โดยมีเพียง 36 เกาะเท่านั้นที่มีผู้อยู่อาศัย เกาะที่ใหญ่ที่สุดคือเกาะโตงาตาปู ซึ่งเป็นที่ตั้งศูนย์กลางการปกครองคือนูกูอาโลฟา เกาะส่วนใหญ่ของตองงาเป็นเกาะที่เกิดจากการทับถมของปะการัง ประชากรของตองงามีทั้งสิ้น 103,036 คน นับเป็นอันดับที่ 192 ของโลก สันนิษฐานว่ามนุษย์เข้ามาอยู่อาศัยในตองงาครั้งแรกเมื่อ 826 ± 8 ปีก่อนคริสตกาล ตองงาเริ่มก่อตั้งอาณาจักรเป็นของตนเองในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2443และประเทศตองงา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศแอฟริกาใต้

รณรัฐแอฟริกาใต้ (Republic of South Africa) หรืออาจเรียกสั้น ๆ ว่า แอฟริกาใต้ (ต่างจาก "แอฟริกาตอนใต้" ซึ่งเป็นภูมิภาคประกอบไปด้วยหลายประเทศ รวมถึงประเทศแอฟริกาใต้ด้วย) เป็นประเทศอิสระที่อยู่ตอนปลายทางใต้สุดของทวีปแอฟริกา มีพรมแดนติดกับประเทศนามิเบีย บอตสวานา ซิมบับเว โมซัมบิก และสวาซิแลนด์ นอกจากนี้ยังมีเลโซโทซึ่งเป็นประเทศที่ถูกล้อมรอบทุกด้านด้วยอาณาเขตของประเทศแอฟริกาใต้ รวมทั้งยังเป็นประเทศส่งออกเพชร, ทองคำ และไวน์ที่ชาวฝรั่งเศสนำเข้ามาอีกด้ว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2443และประเทศแอฟริกาใต้ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเยอรมนี

ประเทศเยอรมนี (Germany; Deutschland ดอยฺชลันฺท) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี (Federal Republic of Germany; Bundesrepublik Deutschland) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐแบบรัฐสภาในยุโรปกลาง มีรัฐองค์ประกอบ 16 รัฐ มีพื้นที่ 357,021 ตารางกิโลเมตร และมีภูมิอากาศตามฤดูกาลแบบอบอุ่นเป็นส่วนใหญ่ มีประชากรประมาณ 82 ล้านคน ซึ่งเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดในสหภาพยุโรป ประเทศเยอรมนีเป็นจุดหมายการเข้าเมืองยอดนิยมอันดับสองในโลกรองจากสหรัฐ เมืองหลวงและมหานครใหญ่สุดของประเทศคือ กรุงเบอร์ลิน ขณะที่เขตเมืองขยายใหญ่สุด คือ รูร์ โดยมีศูนย์กลางหลักดอร์ทมุนด์และเอสเซิน นครหลักอื่นของประเทศ ได้แก่ ฮัมบวร์ค มิวนิก โคโลญ แฟรงก์เฟิร์ต ชตุทท์การ์ท ดึสเซิลดอร์ฟ ไลพ์ซิจ เบรเมิน เดรสเดิน ฮันโนเฟอร์และเนือร์นแบร์ก ประเทศนี้มีระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยเชิงเสรีภาพและรัฐสวัสดิการ พรมแดนทางทิศเหนือติดทะเลเหนือ เดนมาร์ก และทะเลบอลติก ทิศตะวันออกติดโปแลนด์และเช็กเกีย ทิศใต้ติดออสเตรีย และสวิตเซอร์แลนด์ ทิศตะวันตกติดฝรั่งเศส ลักเซมเบิร์ก เบลเยียม และเนเธอร์แลนด์ มีเมืองหลวงและเมืองใหญ่ของประเทศคือเบอร์ลิน เยอรมนีมีประชากรประมาณ 80 ล้านคนและเป็นประเทศที่มีความหนาแน่นประชากรสูงสุดแห่งหนึ่ง อีกทั้งยังเป็นประเทศที่มีคนย้ายถิ่นมากที่สุดเป็นอันดับสามของโลก หลังจากที่สหรัฐอเมริกาเยอรมนีเป็นปลายทางการย้ายถิ่นที่สองได้รับความนิยมมากที่สุดในโลก เยอรมนีเป็นหนึ่งในสมาชิกผู้ก่อตั้งสหภาพยุโรปและยังก่อตั้งสหภาพการเงินกับสมาชิกในสหภาพยุโรปอีก 17 ประเทศ โดยใช้ชื่อว่ายูโรโซน เยอรมนีเป็นสมาชิกของกลุ่ม UNO, OECD, NATO, G7 และ G20 เยอรมนีเป็นประเทศที่มีอิทธิพลต่อประเทศอื่นๆในยุโรปและเป็นประเทศที่มีความสามารถที่จะแข่งขันในระดับโลก หากวัดจากผลผลิตมวลรวมภายในประเทศแบบปกติแล้ว เยอรมนีเป็นเศรษฐกิจที่ใหญ่ที่สุดในยุโรปและใหญ่เป็นอันดับสี่ของโลก ในปี 2012 เป็นประเทศที่มีการนำเข้าส่งออกมากที่สุดเป็นอันดับสาม ดัชนีการพัฒนามนุษย์ถือว่าสูงมาก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2443และประเทศเยอรมนี · ดูเพิ่มเติม »

ปรีดี พนมยงค์

ตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ หรือ อำมาตย์ตรี หลวงประดิษฐ์มนูธรรม (11 พฤษภาคม พ.ศ. 2443 – 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2526) เป็นรัฐบุรุษอาวุโส ผู้นำคณะราษฎรสายพลเรือน ผู้ก่อการเปลี่ยนแปลงการปกครองของสยามจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2443และปรีดี พนมยงค์ · ดูเพิ่มเติม »

ปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์

ปฏิทินสำหรับปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ (เช่น พ.ศ. 2561 2550 2544 2533 2522 2516) หมวดหมู่:ปฏิทิน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2443และปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ · ดูเพิ่มเติม »

แบลนช์ คอบบ์

แบลนช์ อาร์ริงตัน คอบบ์ (Blanche Arrington Cobb; 8 กันยายน พ.ศ. 2443 – 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2558) เป็นชาวอเมริกันที่มีอายุมากกว่า 110 ปี ในตอนที่เธอเสียชีวิต เธอเป็นบุคคลที่มีอายุมากที่สุดในโลกเป็นอันดับ 7 และเป็นบุคคลที่มีอายุมากที่สุดตลอดกาลอันดับที่ 50http://jacksonville.com/news/metro/2015-05-04/story/seventh-oldest-person-died-friday-jacksonville เธอเสียชีวิตเมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2443และแบลนช์ คอบบ์ · ดูเพิ่มเติม »

แฌร์แมน กอตี

แฌร์แมน กอตี (Germaine Coty; เกิด 9 เมษายน พ.ศ. 2429 ที่เลออาฟวร์ จังหวัดแซน-มารีตีม แคว้นโอต-นอร์ม็องดี ประเทศฝรั่งเศส เสียชีวิต 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2498) เป็นภริยาของเรอเน กอตีประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศสคนที่ 17 ถือเป็นสุภาพสตรีหมายเลขหนึ่งของประเทศฝรั่งเศสคนที่ 16 ตั้งแต่ 16 มกราคม พ.ศ. 2497 – 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2498 แฌร์แมน กอตี หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2443.

ใหม่!!: พ.ศ. 2443และแฌร์แมน กอตี · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนมัธยมวัดเบญจมบพิตร

ก่าอาคารพระพุทธเจ้าหลวง ปัจจุบันได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นโบราณสถาน ภาพหน้าบันอาคารพระพุทธเจ้าหลวง โรงเรียนมัธยมวัดเบญจมบพิตร (Mathayom Wat Benchamabophit School) ตั้งอยู่ในบริเวณวัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร ในเนื้อที่ประมาณ 5 ไร่ 42 ตารางวา อยู่ในเขตพระราชฐาน เป็นโรงเรียนในเขตกรุงเทพมหานครที่เปิดสอนเฉพาะนักเรียนชาย (โรงเรียนชายล้วน) ตามพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชกำเนิดเมื่อ ร..119 (พ.ศ. 2443) พระองค์ทรงกำหนดหลักสูตรแนวการสอนด้วยพระองค์เอง และเปิดสอนตั้งแต่วันที่ 5 พฤษภาคม 2444 มีนักเรียน 40 คน เป็นโรงเรียนในพระบรมราชูปถัมภ์โดยตรงไม่ขึ้นตรงต่อกระทรวงธรรมการสมัยนั้น หลังจากนั้นทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้พระบรมวงศานุวงศ์ ชั้นผู้ใหญ่และเสนาบดีกระทรวงธรรมการ ร่วมกันวางแผนปรับปรุงโรงเรียนมัธยมวัดเบญจมบพิตร ที่สำคัญยิ่งก็คือ พระองค์ได้พระราชทานทุนทรัพย์ส่วนพระองค์สร้างอาคารถาวรเป็นตึกทรงยุโรปสถาปัตยกรรมแบบ Neo-Classic และทรงห่วงใยในเรื่องการก่อสร้างเป็นอย่างยิ่ง แม้ในสิ่งเล็กๆ น้อยๆ ก็ต้องได้รับพระราชทาน บรมราชานุญาตทุกอย่าง โรงเรียนมัธยมวัดเบญจมบพิตรปัจจุบันเปิดสอนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น และชั้นมัธยมศึกษาตอนปล.

ใหม่!!: พ.ศ. 2443และโรงเรียนมัธยมวัดเบญจมบพิตร · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนปทุมคงคา

รงเรียนปทุมคงคา (Patumkongka School) เป็นโรงเรียนชายล้วนระดับมัธยมศึกษา สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่เลขที่ 920 ถนนสุขุมวิท แขวงพระโขนง เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2443และโรงเรียนปทุมคงคา · ดูเพิ่มเติม »

โจะเซ โทะดะ

ซ โทะดะ เกิดเมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธ์ ปี พ.ศ. 2443 ใน จังหวัดอิชิกะวะเป็นนายกสมาคมโซกา งัคไค ท่านที่ 2 เป็นอาจารย์ของไดซาขุ อิเคดะ ท่านได้ยืนหยัดต่อสู้เพื่อสมาคม และเป็นหัวเรี่ยวหัวแรงในการบูรณะ วัดใหญ่ไทเซขิจิ ร่วมกับลูกศิษย์ คือ ดร.ไดซาจุ อิเคดะ และสมาชิกสมาคมสร้างคุณค่า ให้มีสภาพที่ดีขึ้นหลังจากตกต่ำในช่วงสงครามโลกครั้งที่2 จนถึงแก่มรณกรรมวันที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2501.

ใหม่!!: พ.ศ. 2443และโจะเซ โทะดะ · ดูเพิ่มเติม »

เย็น แก้วมะณี

"ปู่เย็น" (เย็น แก้วมะณี) เฒ่าทระนงแห่งลุ่มน้ำเพชรบุรี นายเย็น แก้วมะณี หรือ "ปู่เย็น" (พ.ศ. 2443 - 12 ตุลาคม พ.ศ. 2551) เจ้าของสมญานาม "เฒ่าทระนง" แห่งลุ่มน้ำเพชรบุรี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2443และเย็น แก้วมะณี · ดูเพิ่มเติม »

เรดอน

รดอน (อังกฤษ: Radon) คือธาตุเคมีที่มีหมายเลขอะตอม 86 และสัญลักษณ์คือ Rn เรดอนเป็นธาตุกัมมันตรังสีที่เป็นก๊าซเฉื่อย (radioactive noble gas) ได้จากการแยกสลายธาตุเรเดียม เรดอนเป็นก๊าซที่หนักที่สุดและเป็นอันตรายต่อสุขภาพ ไอโซโทปของเรดอนคือ Rn-222 ใช้ในงานรักษาผู้ป่วยแบบเรดิโอเธอราปี (radiotherapy) ก๊าซเรดอนที่สะสมในบ้านเป็นสาเหตุของโรคมะเร็งปอดและทำให้ผู้ป่วยในสหภาพยุโรปเสียชีวิตปีละ 20,000 คน เรดอนถูกสร้างขึ้นโดยผ่านกระบวนการอีกขั้นหนึ่งของการย่อยสลายธาตุกัมมันตรังสีทั่วไป โดยที่ธอเรียมและยูเรเนียมซึ่งเป็นธาตุกัมมันตภาพดึกดำบรรพ์ที่มีอยู่ตั้งแต่ครั้งที่โลกเริ่มก่อตัวขึ้น ได้เกิดการสลายตัวของธาตุและให้ผลเป็นธาตุเรเดียม และการสลายตัวของเรเดียมจึงทำให้เกิดธาตุเรดอน ซึ่งเมื่อเรดอนสลายตัว ก็ทำให้เกิดธาตุ radon  daughter อันเป็นชื่อเรียกของธาตุกัมมันตรังสีใหม่ที่ได้มา ซึ่งต่างจากเรดอนที่มีสถานะเป็นแก๊ซตรงที่มีสถานะเป็นของแข็งและเกาะติดกับพื้นผิว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2443และเรดอน · ดูเพิ่มเติม »

เดนนิส กาบอร์

นนิส กาบอร์ ซีบีอี, เอฟอาร์เอส (Dennis Gabor CBE, FRS; 5 มิถุนายน ค.ศ. 1900 - 9 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1979) นักประดิษฐ์และวิศวกรไฟฟ้าชาวอังกฤษเชื้อสายยิว-ฮังการี Arthur T. Hubbard (1995) CRC Press, 1995.

ใหม่!!: พ.ศ. 2443และเดนนิส กาบอร์ · ดูเพิ่มเติม »

1 มกราคม

วันที่ 1 มกราคม เป็นวันแรกของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 364 วันในปีนั้น (365 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2443และ1 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

1 ตุลาคม

วันที่ 1 ตุลาคม เป็นวันที่ 274 ของปี (วันที่ 275 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 91 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2443และ1 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

11 พฤษภาคม

วันที่ 11 พฤษภาคม เป็นวันที่ 131 ของปี (วันที่ 132 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 234 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2443และ11 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

11 กุมภาพันธ์

วันที่ 11 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 42 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 323 วันในปีนั้น (324 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2443และ11 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

11 เมษายน

วันที่ 11 เมษายน เป็นวันที่ 101 ของปี (วันที่ 102 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 264 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2443และ11 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

12 ตุลาคม

วันที่ 12 ตุลาคม เป็นวันที่ 285 ของ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2443และ12 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

16 มีนาคม

วันที่ 16 มีนาคม เป็นวันที่ 75 ของปี (วันที่ 76 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 290 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2443และ16 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

16 สิงหาคม

วันที่ 16 สิงหาคม เป็นวันที่ 228 ของปี (วันที่ 229 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 137 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2443และ16 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

17 พฤษภาคม

วันที่ 17 พฤษภาคม เป็นวันที่ 137 ของปี (วันที่ 138 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 228 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2443และ17 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

17 กุมภาพันธ์

วันที่ 17 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 48 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 317 วันในปีนั้น (318 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2443และ17 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

17 มิถุนายน

วันที่ 17 มิถุนายน เป็นวันที่ 168 ของปี (วันที่ 169 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 197 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2443และ17 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

18 พฤษภาคม

วันที่ 18 พฤษภาคม เป็นวันที่ 138 ของปี (วันที่ 139 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 227 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2443และ18 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

18 กรกฎาคม

วันที่ 18 กรกฎาคม เป็นวันที่ 199 ของปี (วันที่ 200 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 166 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2443และ18 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

2 กรกฎาคม

วันที่ 2 กรกฎาคม เป็นวันที่ 183 ของปี (วันที่ 184 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 182 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2443และ2 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

21 ตุลาคม

วันที่ 21 ตุลาคม เป็นวันที่ 294 ของปี (วันที่ 295 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 71 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2443และ21 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

22 กันยายน

วันที่ 22 กันยายน เป็นวันที่ 265 ของปี (วันที่ป 266 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 100 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2443และ22 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

23 มกราคม

วันที่ 23 มกราคม เป็นวันที่ 23 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 342 วันในปีนั้น (343 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2443และ23 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

23 ตุลาคม

วันที่ 23 ตุลาคม เป็นวันที่ 296 ของปี (วันที่ 297 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 69 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2443และ23 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

29 มิถุนายน

วันที่ 29 มิถุนายน เป็นวันที่ 180 ของปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ (วันที่ 181 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 185 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2443และ29 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

31 สิงหาคม

วันที่ 31 สิงหาคม เป็นวันที่ 243 ของปี (วันที่ 244 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 122 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2443และ31 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

4

4 (สี่) เป็นจำนวน ตัวเลข และเป็นชื่อของสัญลักษณ์ภาพ เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 3 (สาม) และอยู่ก่อนหน้า 5 (ห้า).

ใหม่!!: พ.ศ. 2443และ4 · ดูเพิ่มเติม »

5 มิถุนายน

วันที่ 5 มิถุนายน เป็นวันที่ 156 ของปี (วันที่ 157 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 209 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2443และ5 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

6 สิงหาคม

วันที่ 6 สิงหาคม เป็นวันที่ 218 ของปี (วันที่ 219 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 147 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2443และ6 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

7 เมษายน

วันที่ 7 เมษายน เป็นวันที่ 97 ของปี (วันที่ 98 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 268 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2443และ7 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

8 พฤศจิกายน

วันที่ 8 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 312 ของปี (วันที่ 313 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 53 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2443และ8 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

8 กันยายน

วันที่ 8 กันยายน เป็นวันที่ 251 ของปี (วันที่ 252 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 114 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2443และ8 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

9 กรกฎาคม

วันที่ 9 กรกฎาคม เป็นวันที่ 190 ของปี (วันที่ 191 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 175 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2443และ9 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

9 เมษายน

วันที่ 9 เมษายน เป็นวันที่ 99 ของปี (วันที่ 100 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 266 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2443และ9 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

ร.ศ. 119ค.ศ. 1900

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »