โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

เทพพิทักษ์จอมยุ่ง เนียลโกะ

ดัชนี เทพพิทักษ์จอมยุ่ง เนียลโกะ

ทพพิทักษ์จอมยุ่ง เนียลโกะ เป็นนิยายไลท์โนเวล จากประเทศญี่ปุ่น เนื้อเรื่องโดย มันตะ ไอโซระ วาดภาพประกอบโดย โคอิน ตีพิมพ์โดยGAบุงโกะ ปัจจุบันมีการเผยแพร่แล้วทั้งหมด 8 เล่ม ลิขสิทธิ์ในประเทศไทยเป็นของรักพิมพ์ พับลิชชิ่ง เทพพิทักษ์จอมยุ่ง เนียลโกะ เป็นเรื่องที่ได้รางวัล GAบุงโกะไทโช ครั้งที่1 และGAแม็กกาซีนก็ได้เริ่มตีพิมพ์เรื่องนี้ตั้งแต่ฉบับที่2 เนื้อหาของเรื่องนั้นเป็นแนวตลกแบบตลกเจ็บตัว(slapstick)ผสมกับเลิฟคอมมีดี โดยหลักๆแล้วจะล้อเลียนงานประพันธ์ชุดตำนานคธูลู แต่ก็มีผสมส่วนที่ล้อเลียนอะนิเมะหรือมังงะอย่างโจโจ้ ล่าข้ามศตวรรษและโทคุซัทสึโดยเฉพาะมาสค์ไรเดอร์เดนโอและมาสค์ไรเดอร์ดีเคดเพื่อให้เป็นเอกลักษณ์มากขึ้น โดยในประเทศไทย ฉบับอะนิเมะทั้ง 2 ภาค TIGA เป็นผู้ถือลิขสิท.

69 ความสัมพันธ์: ชาวไซย่าพ.ศ. 2552พ.ศ. 2553พ.ศ. 2554พ.ศ. 2555พ.ศ. 2556กระรอกกันดั้มการ์ตูนสี่ช่องกิโมโนมหาเผ่าพันธุ์แห่งยิธมังงะมาสค์ไรเดอร์ดับเบิลมาสค์ไรเดอร์ดีเคดมาสค์ไรเดอร์เดนโอยะโอะอิยุริ (แนว)ระเบิดมือริเอะ คุงิมิยะวิดีโอเกมสาวน้อยเวทมนตร์สิ่งมีชีวิตนอกโลกสึนเดะเระส้อมหมึก (สัตว์)อะยะ ฮิซะกะวะอะนิเมะฮัสเทอร์จักรยานยนต์ทะเกะชิ คุซะโอะทีไอจีเอดราก้อนบอล GTคอสเพลย์คิกุโกะ อิโนะอุเอะคธูลูตลกตำนานคธูลูซะโตะมิ อะระอิซาดิสม์และมาโซคิสม์ซีเบกประเทศญี่ปุ่นนอเดนส์แชนแทคแมงมุมแคร์รอตโฟมัลฮอตโอะตะกุโจโจ้ ล่าข้ามศตวรรษโทกูซัตสึโทะโมะกะซุ เซะกิ...โดจินชิโซนี่อินเตอร์แอ็กทีฟเอ็นเตอร์เทนเมนต์ไลต์โนเวลไทกาไนอาลาโธเทปไนท์กอนท์เกมออนไลน์เอะโระเกเดอะคิงอินเยลโล10 ธันวาคม15 มีนาคม23 ตุลาคม24 ธันวาคม25 พฤษภาคม25 กุมภาพันธ์25 มิถุนายน30 มิถุนายน8 เมษายน9 เมษายน ขยายดัชนี (19 มากกว่า) »

ชาวไซย่า

วไซย่า คือ สิ่งมีชีวิตสายพันธุ์หนึ่งที่มีลักษณะคล้ายมนุษย์ แต่จะมีหางและแข็งแกร่ง มีพลังเหนือมนุษย์ ชาวไซย่าจักรวาลที่7จักรวาลของโกคู มีดาวเคราะห์บ้านเกิดคือดาวเคราะห์เบจิต้า ซึ่งดาวเคราะห์ที่ชาวไซย่าจักรวาลที่7อาศัยและตั้งอาณานิคมนั้นเคยมีชื่อว่าดาวเคราะห์พืช และมีแรงโน้มถ่วงที่มากกว่าโลก แต่ภายหลังได้เปลี่ยนชื่อเป็นดาวเคราะห์เบจิต้า แต่ได้ถูกทำลายโดยฟรีเซอร์ แต่ก็ยังมีผู้ที่เหลือรอดอยู่แค่ 5 คน คือ คาคาล็อต,ราดิซ,เบจิต้า,ทาร์เบิ้ล และนัปปะ ส่วนชาวไซย่าจักรวาลที่6 มีดาวบ้านเกิดคือดาวเคราะห์ซาลาดะ ชาวไซย่าจักรวาลที่6จะมีนิสัยไม่เบียดเบียนดาวเคราะห์อื่นๆเหมือนจักรวาลที่7 และจะต่อสู้เพื่อปกป้องพวกพ้องและดวงดาวของตัวเอง.

ใหม่!!: เทพพิทักษ์จอมยุ่ง เนียลโกะและชาวไซย่า · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2552

ทธศักราช 2552 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2009 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีสุดท้ายในคริสต์ทศวรรษ 2000.

ใหม่!!: เทพพิทักษ์จอมยุ่ง เนียลโกะและพ.ศ. 2552 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2553

ทธศักราช 2553 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2010 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีแรกในคริสต์ทศวรรษที่ 2010.

ใหม่!!: เทพพิทักษ์จอมยุ่ง เนียลโกะและพ.ศ. 2553 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2554

ทธศักราช 2554 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2011 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: เทพพิทักษ์จอมยุ่ง เนียลโกะและพ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2555

ทธศักราช 2555 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2012 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีมะโรง จัตวาศก จุลศักราช 1374 (วันที่ 15 เมษายน เป็นวันเถลิงศก) สมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติประกาศให้..

ใหม่!!: เทพพิทักษ์จอมยุ่ง เนียลโกะและพ.ศ. 2555 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2556

ทธศักราช 2556 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2013 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: เทพพิทักษ์จอมยุ่ง เนียลโกะและพ.ศ. 2556 · ดูเพิ่มเติม »

กระรอก

กระรอก(Squirrel, ภาษาไทยถิ่นเหนือ: ฮอก) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม มีขนาดลำตัวเล็ก ขนปุยปกคลุมทั่วทั้งร่างกาย นัยน์ตากลมดำ หางเป็นพวงฟู จัดอยู่ในประเภทสัตว์ฟันแทะ ในวงศ์ Sciuridae.

ใหม่!!: เทพพิทักษ์จอมยุ่ง เนียลโกะและกระรอก · ดูเพิ่มเติม »

กันดั้ม

กันดั้ม (Gundam) เป็นซีรีส์แอนิเมชั่นญี่ปุ่นเกี่ยวกับหุ่นยนต์ต่อสู้ขนาดยักษ์ สร้างโดยบริษัทซันไรส์ Sunrise (company) กันดั้มนับเป็นอะนิเมะซีรีส์แรกซึ่งจัดอยู่ในกลุ่มการ์ตูนหุ่นยนต์แนวเรียลโรบ็อท มีการสร้างภาคต่อและภาคใหม่มาจนถึงปัจจุบัน และในบางตอนของกันดั้มหลายๆซีรีส์ ซันไรส์ได้สร้างใหม่หรือสร้างเพิ่มเติมแบบขยายความจากเนื้อเรื่องเดิมในรูปแบบ คอมพิวเตอร์กราฟิกส์ โดยรวมกันในชื่อ Gundam Evolve ออกมา สำหรับคำว่า กันดั้ม เป็นคำเรียกรวม ๆ ของซีรีส์สองกลุ่มคือ กลุ่มที่ใช้ระบบปฏิทินแบบ Universal Century เช่น โมบิลสูทกันดั้ม และกลุ่มจักรวาลคู่ขนานอื่นๆ เช่น กันดั้มวิง กันดั้มเอกซ์ หรือ กันดั้มซี้ด นอกจากนั้นยังมีเรื่องชุดเอสดีกันดั้ม SD Gundam ซึ่งเอสดีเป็นตัวย่อมาจากคำว่าซูเปอร์ดีฟอร์ม ภาคแรกๆของเอสดีกันดั้มนี้มีเนื้อหาที่เป็นแนวตลกขบขันและล้อเลียนเนื้อหาของภาคหลัก ผู้กำกับและเขียนบทกันดั้มภาคแรกๆ คือ โทะมิโนะ โยะชิยุกิ ผู้ออกแบบตัวละครคือ ยะซุฮิโกะ โยะชิกะซุ หรือ YAS เนื้อเรื่องของกันดั้มยังมีการเผยแพร่ในรูปแบบของหนังสือการ์ตูนและนิยาย ซึ่งมีทั้งเนื้อเรื่องซึ่งเป็นการดัดแปลง ตัดทอน หรือขยายความจากเนื้อเรื่องในอะนิเมะซีรีส์ กับเรื่องที่เป็นภาคประกอบของเรื่องหลัก ปัจจุบันหนังสือการ์ตูนมีตีพิมพ์ในประเทศไทยโดยสำนักพิมพ์หลายแห่ง เช่น บงกช พับลิชชิ่ง และสยามอินเตอร์คอมิก.

ใหม่!!: เทพพิทักษ์จอมยุ่ง เนียลโกะและกันดั้ม · ดูเพิ่มเติม »

การ์ตูนสี่ช่อง

การ์ตูนสี่ช่อง เป็นประเภทหนึ่งของการ์ตูนช่องของการ์ตูนญี่ปุ่นซึ่งมีการดำเนินเนื้อเรื่องต่อเนื่องกัน แต่ในแต่ละตอนจะเป็นตอนสั้นๆ ซึ่งมักอยู่ในนิตยสารการ์ตูน หรือหนังสือการ์ตูนรายสัปดาห์มากม.

ใหม่!!: เทพพิทักษ์จอมยุ่ง เนียลโกะและการ์ตูนสี่ช่อง · ดูเพิ่มเติม »

กิโมโน

วาดกิโมโน กิโมโน เป็นชุดแต่งกายโบราณของประเทศญี่ปุ่น.

ใหม่!!: เทพพิทักษ์จอมยุ่ง เนียลโกะและกิโมโน · ดูเพิ่มเติม »

มหาเผ่าพันธุ์แห่งยิธ

มหาเผ่าพันธุ์แห่งยิธ (Great Race of Yith) หรือ ยิธเธียน เป็นมนุษย์ต่างดาวซึ่งมีบทบาทในเรื่องชุดตำนานคธูลู ยิธเธียนปรากฏตัวครั้งแรกในเรื่องสั้น The Shadow Out of Time ของเอช. พี. เลิฟคราฟท์ซึ่งเผยแพร่ในปีพ.ศ. 2482 ยิธเธียนได้รับการเรียกว่า มหาเผ่าพันธุ์ เนื่องจากเป็นเผ่าพันธุ์ที่มีความชำนาญในการเดินทางข้ามกาลเวล.

ใหม่!!: เทพพิทักษ์จอมยุ่ง เนียลโกะและมหาเผ่าพันธุ์แห่งยิธ · ดูเพิ่มเติม »

มังงะ

หน้าหนึ่งจากหนังสือการ์ตูนเรื่องมาร์มาเลดบอย ฉบับภาษาญี่ปุ่น เล่ม 1 มังงะ เป็นคำภาษาญี่ปุ่นสำหรับเรียกการ์ตูนช่อง สำหรับภายนอกประเทศญี่ปุ่น คำนี้ถูกใช้เรียกการ์ตูนช่องที่มาจากญี่ปุ่น มังงะพัฒนามาจากอุคิโยเอะและจิตรกรรมตะวันตก และเริ่มคงรูปแบบที่เป็นอยู่ในปัจจุบันตั้งแต่หลังสงครามโลกครั้งที่สอง มังงะที่ได้รับความนิยมสูงมักถูกนำไปสร้างเป็นอะนิเมะ เนื้อหาของมังงะเหล่านั้นมักถูกดัดแปลงเพื่อให้เหมาะสมต่อการแพร่ภาพทางโทรทัศน์และเพื่อให้ถูกรสนิยมของผู้ชมทั่วไปมากขึ้น.

ใหม่!!: เทพพิทักษ์จอมยุ่ง เนียลโกะและมังงะ · ดูเพิ่มเติม »

มาสค์ไรเดอร์ดับเบิล

มาสค์ไรเดอร์ ดับเบิล เป็นชื่อของ ภาพยนตร์ญี่ปุ่น แนว โทคุซัทสึ ในซีรีส์ มาสค์ไรเดอร์ ประจำปี 2009 (ลำดับที่ 2) เป็นลำดับที่ 20 โดย โตเอะ คัมปะนี และ อิชิโนะโมะริ โปรดักชั่นส์ โดยออกอากาศต่อจากตอนสุดท้ายของ "มาสค์ไรเดอร์ดีเคด" ในวันที่ 6 กันยายน ค.ศ. 2009 จนถึงวันที่ 29 สิงหาคม ค.ศ. 2010 ทางทีวีอาซาฮี ในช่วง ซูเปอร์ฮีโร่ ไทม์ โดยเป็นมาสค์ไรเดอร์ซีรีส์เรื่องแรกที่ทางโตเอะ คัมปะนี และ อิชิโนะโมะริ โปรดักชั่นส์ ได้มีแนวคิดในการออกอากาศมาสค์ไรเดอร์ถึง 2 เรื่องติดต่อกันโดยไม่มีการระงับการสร้างภาพยนตร์แต่อย่างใด อักษรย่อของมาสค์ไรเดอร์ดับเบิลคือ W ซึ่งเป็นคำย่อมาจากมาคำว่า Double โดยเป็นคำเฉพาะที่ใช้ในประเทศญี่ปุ่น จำนวนตอนของมาสค์ไรเดอร์ดับเบิล มีทั้ง 49 ตอน, ตอนพิเศษทางโรงภาพยนตร์ อีก 4 ตอน ได้แก่ มาสค์ไรเดอร์ดีเคด ออลไรเดอร์ส ปะทะ ไดซ็อกเกอร์ (仮面ライダーディケイド オールライダー対大ショッカー),มาสค์ไรเดอร์ x มาสค์ไรเดอร์ W & ดีเคด MOVIE ไทเซน 2010 (仮面ライダー×仮面ライダー W(ダブル)&ディケイド MOVIE大戦2010), มาสค์ไรเดอร์ดับเบิล FOREVER AtoZ / ไกอาเมมโมรี่แห่งชะตากรรม (仮面ライダーW(ダブル) FOREVER AtoZ/運命のガイアメモリ), มาสค์ไรเดอร์ x มาสค์ไรเดอร์ โอซ์ & ดับเบิล FEAT.สคัล MOVIE ไทเซน CORE (仮面ライダー×仮面ライダーオーズ&ダブル feat.スカル MOVIE大戦CORE), ตอนพิเศษทางดีวีดี อีก 2 ตอน ได้แก่ มาสค์ไรเดอร์ดับเบิลRETURNS: มาสค์ไรเดอร์เอเทอร์นัล และ มาสค์ไรเดอร์ดับเบิลRETURNS: มาสค์ไรเดอร์แอ็กเซล ลิขสิทธิ์ในประเทศไทยของมาสค์ไรเดอร์ดับเบิล ทั้งหมดเป็นลิขสิทธิ์ของ DEX ยกเว้น W x Decade มูฟวี่ไทเซน เท่านั้นที่เป็นลิขสิทธิ์ของ Dream Vision ในประเทศไทยได้ออกอากาศที่ช่อง โมเดิร์นไนน์ทีวี เวลา 7.30-8.00น.ในปี..

ใหม่!!: เทพพิทักษ์จอมยุ่ง เนียลโกะและมาสค์ไรเดอร์ดับเบิล · ดูเพิ่มเติม »

มาสค์ไรเดอร์ดีเคด

มาสค์ไรเดอร์ดีเคด เป็นชื่อของ ภาพยนตร์ญี่ปุ่น แนว โทคุซัทสึ ในซีรีส์ มาสค์ไรเดอร์ ประจำปี 2009 เป็นลำดับที่ 19 และเป็นเรื่องที่ 3 ที่ใช้การ์ดเป็นหลัก โดย โตเอะ คัมปะนี และ อิชิโนะโมะริ โปรดักชั่นส์ เริ่มออกอากาศเดือน 25 มกราคม ค.ศ. 2009 จนถึงวันที่ 30 สิงหาคมค.ศ. 2009 โดยออกอากาศทางทีวีอาซาฮี ในช่วง ซูเปอร์ฮีโร่ ไทม์ โดยเป็นการฉลองครบรอบ 10 ปีของการฉายมาสค์ไรเดอร์ยุค 2000 (ยุคเฮย์เซย์) นับตั้งแต่การออกอากาศครั้งแรกของมาสค์ไรเดอร์คูกะจนถึงมาสค์ไรเดอร์คิบะ และกลับมาออกอากาศอีกครั้งเมื่อวันที่ 4 ตุลาคม ค.ศ. 2009 ออกอากาศทุกวันอาทิตย์เวลา 6.30 น. และสิ้นสุดออกอากาศเมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม ค.ศ. 2010 ออกอากาศทั้งหมด 31 ตอน และ ตอนพิเศษที่ฉายทางโรงภาพยนตร์ทั้งหมด 3 ตอนด้วยกัน ประกอบไปด้วย โชว มาสค์ไรเดอร์เดนโอ & มาสค์ไรเดอร์ดีเคด NEO เจเนเรชั่น ศึกเรือยักษ์โอนิงาชิมะ (劇場版 超・仮面ライダー電王&ディケイド NEO ジェネレーションズ 鬼ヶ島の戦艦) มาสค์ไรเดอร์ดีเคด ออลไรเดอร์ ปะทะ ไดช็อกเกอร์ (劇場版 仮面ライダーディケイド オールライダー対大ショッカー), มาสค์ไรเดอร์ X มาสค์ไรเดอร์ W & ดีเคด MOVIE ไทเซ็น 2010 (仮面ライダーX 仮面ライダー W&ディケイド MOVIE大戦2010) ชื่อของมาสค์ไรเดอร์ดีเคด มีอีกชื่อหนึ่งคือ MASKED RIDER DCD ในประเทศไทยจัดจำหน่ายในรูปแบบ VCD และ DVD โดย ภาคภาพยนตร์พิเศษตอน โชว มาสค์ไรเดอร์เดนโอ & มาสค์ไรเดอร์ดีเคด NEO เจเนเรชั่น ศึกเรือยักษ์โอนิงาชิมะ เป็นลิขสิทธิ์ของ DEX, มาสค์ไรเดอร์ดีเคด ออลไรเดอร์ ปะทะ ไดช็อกเกอร์ เป็นลิขสิทธิ์ของ Rose และ มาสค์ไรเดอร์ X มาสค์ไรเดอร์ W & ดีเคด MOVIE ไทเซ็น 2010 เป็นลิขสิทธิ์ของ ดรีมวิชั่น ในประเทศไทยออกอากาศทางช่อง โมเดิร์นไนน์ทีวี ในปี..

ใหม่!!: เทพพิทักษ์จอมยุ่ง เนียลโกะและมาสค์ไรเดอร์ดีเคด · ดูเพิ่มเติม »

มาสค์ไรเดอร์เดนโอ

มาสค์ไรเดอร์เดนโอ เป็นภาพยนตร์ชุดทางโทรทัศน์ลำดับที่ 17 ในซีรีส์มาสค์ไรเดอร์หรือไอ้มดแดง ซึ่งเกิดจากการร่วมงานระหว่างอิชิโนะโมะริโปรดักชันกับ โทเอ คาบูชิกิ ไคชา เริ่มออกอากาศตอนแรกในประเทศญี่ปุ่นเมื่อวันที่ 28 มกราคม ค.ศ. 2007 ถึงวันที่ 20 มกราคม ค.ศ. 2008 ทางสถานีโทรทัศน์อาซาฮี ออกอากาศทั้งหมด 49 ตอน และมีภาพยนตร์ตอนพิเศษอีก 9 ตอนด้วยกัน ประกอบไปด้ว.

ใหม่!!: เทพพิทักษ์จอมยุ่ง เนียลโกะและมาสค์ไรเดอร์เดนโอ · ดูเพิ่มเติม »

ยะโอะอิ

ตัวอย่างงานศิลปะของ shōnen-ai ตีพิมพ์ครั้งแรกที่ Animexx ยะโอะอิ เป็นคำศัพท์ที่มีต้นกำเนิดมาจากญี่ปุ่น ใช้ในวงการนิยายและการ์ตูน เริ่มแรกเดิมทีคำนี้ หมายถึง ประเภทหนึ่งของงานโดจินชิซึ่งเป็นผลงานล้อเลียนมังงะหรืออะนิเมะที่กำลังเป็นที่นิยมในขณะนั้น แต่ปัจจุบันความหมายได้เปลี่ยนไป กลายเป็นลักษณะความสัมพันธ์แบบรักร่วมเพศเชิงอีโรติกหรือโรแมนติกระหว่างชายกับชาย ซึ่งอยู่ในรูปแบบของมังงะ อะนิเมะ เกม นิยาย และ โดจินชิ ต่อมาในญี่ปุ่นได้เกิดคำศัพท์ใหม่แทนที่ยะโอะอิ คือคำว่า บอยส์เลิฟ (Boy's Love) แม้ชื่อจะบอกว่าเป็นความรักของเด็กหนุ่ม แต่ในความเป็นจริงแล้วสามารถใช้ได้กว้างตั้งแต่เรื่องราวระหว่างวัยรุ่นไปจนถึงคนสูงวัย แต่มีศัพท์เฉพาะ คือ ความสัมพันธ์กับชายวัยเยาว์ เรียก โชะตะคอน ถ้าเป็นชายสูงอายุเรียก โอจิคอน.

ใหม่!!: เทพพิทักษ์จอมยุ่ง เนียลโกะและยะโอะอิ · ดูเพิ่มเติม »

ยุริ (แนว)

ทโมโยะ ไดโดจิ และซากุระ คิโนโมโตะ คู่ยุริจากเรื่อง ''ซากุระ มือปราบไพ่ทาโรต์'' ยุริ เป็นคำศัพท์ญี่ปุ่น ใช้เรียกมังงะ อะนิเมะ หรือสิ่งพิมพ์ที่มีเนื้อหาความสัมพันธ์แบบรักเพศเดียวกันระหว่างผู้หญิงกับผู้หญิง.

ใหม่!!: เทพพิทักษ์จอมยุ่ง เนียลโกะและยุริ (แนว) · ดูเพิ่มเติม »

ระเบิดมือ

ระเบิดเอฟ 1 ที่นิยมใช้ในสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง ระเบิดเอฟ 1 ที่นิยมใช้ในสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง ระเบิดเอฟ 1 ที่นิยมใช้ในสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง ระเบิดมือ เป็นวัตถุระเบิดที่มีขนาดพอเหมาะกับฝ่ามือ ใช้โดยการจุดชนวนและขว้างไปยังเป้าหมาย เพื่อให้เป้าหมายได้รับแรง, การติดเพลิง, หรือสะเก็ดจากการระเบิด เกิดเป็นความเสียหายของเป้าหมาย เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ระเบิดขว้าง ระเบิดมือบางรุ่นสามารถใช้ติดกับปากกระบอกปืนเล็กยาวเพื่อการยิงได้ หรือใช้กับเครื่องยิงระเบิดมือที่สร้างขึ้นมาเป็นพิเศษก็ได้ ตัวอย่างเช่น ระเบิดก๊าซน้ำตา ที่ใช้ควบคุมจลาจล และเครื่องยิงระเบิดมือแบบ เอ็ม 203 (M203) ที่ติดไว้ใต้ปืนเล็กยาวรุ่นใหม.

ใหม่!!: เทพพิทักษ์จอมยุ่ง เนียลโกะและระเบิดมือ · ดูเพิ่มเติม »

ริเอะ คุงิมิยะ

ริเอะ คุงิมิยะ เป็นนักพากย์หญิงชาวญี่ปุ่น เกิดที่โอซาก้า เมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2522 จากนั้นก็ย้ายมาอยู่จังหวัดคุมะโมะโตะ ประเทศญี่ปุ่น สังกัดค่าย I'm Enterprise ได้รับฉายาว่า "เจ้าแม่เสียงซึน" (ツンデレの女王) เนื่องจากตัวละครที่เธอได้พากย์ หลายตัวจะมีนิสัยแบบซึนเดะเระแทบทั้งสิ้น ในการประกวด Seiyu Awards ครั้งที่ 1 นั้นเธอถูกคัดเลือก ให้อยู่ในสาขา นักพากย์ตัวละครหลักหญิงยอดเยื่ยม (Best Actress in leading role) จากการพากย์ หลุยส์ จากเรื่อง อสูรรับใช้ของยาย 0 สนิท หลังจากนั้นเธอก็ได้รับรางวัล Seiyu Awards ครั้งที่ 2 ในสาขานักพากย์สมทบหญิงยอดเยี่ยม ร่วมกับ มิตสึกิ ไซงะ และรางวัล Seiyu Awards ครั้งที่ 3 เธอก็ชนะการประกวดในสาขา นักพากย์ตัวละครหลักหญิงยอดเยื่ยม ในบทของ ไอซากะ ไทกะ ในเรื่อง โทระโดระ!.

ใหม่!!: เทพพิทักษ์จอมยุ่ง เนียลโกะและริเอะ คุงิมิยะ · ดูเพิ่มเติม »

วิดีโอเกม

กม ''ป็อง'' ถือได้ว่าเป็นวิดีโอเกมส์ชนิดแรกที่เกิดขึ้น เกม ''Space Invaders'' เป็นอีกหนึ่งเกมดังในยุคกำลังพัฒนาของวิดีโอเกม เกม ''Pac-Man'' เป็นเกมที่โด่งดังที่สุดในขณะวิดีโอเกมกำลังพัฒนา วิดีโอเกม (Video game) คือ เครื่องเกมอิเล็กทรอนิกส์ที่มนุษย์ใช้ส่วนต่อประสานกับผู้ใช้ (user interface) ส่งผลการกระทำ (input) กลับเข้าไปยังหน่วยประมวลผลกลาง (Central Processor Unit) ในตัวเครื่อง ให้คิดคำนวณแล้วแสดงผลโต้ตอบกลับมาด้วย แสง-เสียง-การสั่น-หรือภาพบนจอภาพ วิดีโอ คำว่า วิดีโอ ในวิดีโอเกม แต่เดิมหมายถึงอุปกรณ์แสดงภาพแบบแรสเตอร์ แต่ปัจจุบันสามารถใช้เรียกอุปกรณ์แสดงภาพใด ๆ ก็ได้ที่สร้างภาพสองมิติหรือสามมิติขึ้นมา ตัวอย่างเช่นคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล และเครื่องเล่นวิดีโอเกม อุปกรณ์เหล่านี้เป็นไปได้ตั้งแต่เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ ไปจนถึงอุปกรณ์มือถือขนาดเล็ก วิดีโอเกมแบบเฉพาะอย่างเช่น เกมตู้ เคยมีแพร่หลายในอดีต แต่ปัจจุบันค่อย ๆ มีใช้น้อยลง วิดีโอเกมได้พัฒนาไปจนกลายเป็นอุตสาหกรรมและงานศิลปะ อุปกรณ์นำข้อมูลเข้าเป็นที่ใช้กันในการบังคับวิดีโอเกมเรียกว่า อุปกรณ์ควบคุมเกม (game controller) และแตกต่างกันไปในเครื่องเล่นแบบต่าง ๆ ตัวอย่างเช่น อุปกรณ์ควบคุมอาจประกอบด้วยเพียงแค่ปุ่มกดและก้านควบคุม (joystick) หรืออาจมีปุ่มกดถึงสิบปุ่ม และอาจจะมีมากกว่าหนึ่งก้านควบคุมก็ได้ เกมคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลยุคแรกจำเป็นต้องใช้คีย์บอร์ดในการเล่นเกม หรือต้องการให้ผู้ใช้ซื้อก้านควบคุมที่มีปุ่มกดอย่างน้อยหนึ่งปุ่มด้วย เกมคอมพิวเตอร์สมัยใหม่จำนวนมากให้ผู้เล่นหรือต้องการให้ผู้เล่นใช้คีย์บอร์ดควบคู่ไปกับเมาส์ อุปกรณ์ควบคุมเกมที่พบได้บ่อยกันคือ เกมแพด เมาส์ คีย์บอร์ด และก้านควบคุม ในหลายปีที่ผ่านมานี้ มีวิธีการนำข้อมูลเข้าเพิ่มเติมเช่น การให้ผู้เล่นสังเกตการณ์ในเครื่องเล่นที่ใช้กล้อง และระบบจอสัมผัสบนโทรศัพท์มือถือ วิดีโอเกมโดยทั่วไปใช้วิธีการเพิ่มเติมมากมายเพื่อสร้างปฏิสัมพันธ์และสารสนเทศให้กับผู้เล่น เสียงออดิโอในวิดีเกมนั้นเกือบจะเป็นสากล คือใช้อุปกรณ์ผลิตเสียง อย่างเช่น ลำโพง และหูฟัง ผลป้อนกลับอาจมาจากอุปกรณ์ต่อพ่วงสัมผัส (haptic peripheral) เช่นระบบการสั่น หรือผลป้อนกลับโดยใช้กำลัง (force feedback) บางครั้งการสั่นใช้กระตุ้นผลป้อนกลับแบบใช้กำลัง ผู้เล่นบางส่วนเชื่อว่าวิดีโอเกมสามารถพัฒนาทักษะทางจิตใจได้.

ใหม่!!: เทพพิทักษ์จอมยุ่ง เนียลโกะและวิดีโอเกม · ดูเพิ่มเติม »

สาวน้อยเวทมนตร์

วน้อยเวทมนตร์ (ญี่ปุ่น: 魔法少女, โรมะจิ: mahō shōjo) เป็นตัวละครประเภทหนึ่งในการ์ตูนญี่ปุ่น โดยหมายความถึงเด็กผู้หญิงที่มีพลังวิเศษบางอย่าง ยกตัวอย่างเช่น แซลลี่ ตัวละครเอกของเรื่องแม่มดน้อยแซลลี่, และ อั๊กโกะ ตัวละครเอกของเรื่อง ฮิมิตสึ โนะ อั๊กโกะจัง คำภาษาญี่ปุ่นอีกคำหนึ่งที่มีความหมายเดียวกันคือ "มะจกโกะ" (魔女っ子) คำว่าสาวน้อยเวทมนตร์ยังเป็นคำเรียกการ์ตูนญี่ปุ่นที่มีตัวละครเอกเป็นสาวน้อยเวทมนตร์อีกด้วย อะนิเมะแนวสาวน้อยเวทมนตร์มีต้นกำเนิดมาจากเรื่องแม่มดน้อยแซลลี่ ซึ่งได้รับอิทธิพลจากความโด่งดังของรายการโทรทัศน์แนวตลกของอเมริกาเรื่อง Bewitched ซึ่งฉายในญี่ปุ่นในช่วงพ.ศ. 2507.

ใหม่!!: เทพพิทักษ์จอมยุ่ง เนียลโกะและสาวน้อยเวทมนตร์ · ดูเพิ่มเติม »

สิ่งมีชีวิตนอกโลก

นหุ่นยนต์รถสำรวจคิวริออซิตี้โรเวอร์) มนุษย์ต่างดาวในจินตนาการของคนส่วนใหญ่ มนุษย์ต่างดาว (alien) เป็นสิ่งที่เชื่อว่าอาจมีอยู่จริงแต่ยังไม่มีข้อพิสูจน์ ลักษณะเป็นสิ่งมีชีวิตที่อยู่นอกโลก ซึ่งในความคิดของคนส่วนใหญ่ มักจะวาดภาพ มนุษย์ต่างดาว ลักษณะคล้ายคนแต่ ตัวเขียว หัวโต ตาโต เคยมาเยือนโลกโดยมากับ จานบิน สิ่งมีชีวิตนอกโลก (extraterrestrial life) (จากคำภาษาละติน: extra และ terrestris) ถูกกำหนดให้เป็นชีวิตที่ไม่ได้เกิดจากโลก มันมักจะหมายถึง สิ่งมีชีวิตนอกโลก หรือเรียกเพียงว่า มนุษย์ต่างดาว (หรือมนุษย์ต่างดาวในอวกาศเพื่อให้แตกต่างจากคำจำกัดความอื่น ๆ ของมนุษย์ต่างภิภพหรือมนุษย์ต่างดาว) รูปแบบชีวิตเหล่านี้ตามสมมติฐานของชีวิตช่วงระยะเริ่มจากสิ่งมีชีวิตจำพวกแบคทีเรียขั้นพื้นฐานเหมือนสิ่งมีชีวิตที่เรียบง่ายไปไกลจนถึงขั้นที่มีความซับซ้อนมากขึ้นเกินกว่าสิ่งมีชีวิตที่เรียกว่า มนุษย์ ความเป็นไปได้ว่ายังอาจจะมีไวรัส (viruses) ที่มีการดำรงชีวิตอยู่แบบสิ่งมีชีวิตนอกโลก (extraterrestrially) ได้รับการเสนอขึ้น การพัฒนาและการทดสอบสมมติฐานเกี่ยวกับชีวิตต่างดาวที่เป็นที่รู้จักกันในนามของวิชาที่เรียกว่า "ชีววิทยานอกโลก" หรือ "ชีวดาราศาสตร์" ("exobiology" or "astrobiology") แม้ว่าวิชาชีวดาราศาสตร์จะยังคงพิจารณาถึงชีวิตที่เกิดขึ้นที่เป็นขั้นพื้นฐานบนโลกที่ใช้ในบริบททางดาราศาสตร์อยู่ก็ตาม นักวิทยาศาสตร์หลายคนคิดว่าชีวิตนอกโลกเป็นสิ่งที่มีความเป็นไปได้ แต่ก็ยังไม่มีหลักฐานโดยตรงในการดำรงอยู่ของมัน นับตั้งแต่กลางศตวรรษที่ 20 ได้มีการค้นหาอย่างต่อเนื่องสำหรับสัญญาณของชีวิตนอกโลก, จากวิทยุที่ใช้ในการตรวจจับสัญญาณต่างดาวที่มีความเป็นไปได้, ไปจนถึงกล้องโทรทรรศน์ที่ใช้ในการค้นหาดาวเคราะห์นอกระบบที่มีศักยภาพเพียงพอสำหรับเป็นสถานที่เอื้ออาศัยสำหรับสภาพชีวิตที่อาจสามารถทำให้เกิดขึ้นได้ นอกจากนี้มันก็ยังมีบทบาทที่สำคัญต่องานเขียนทางด้านเกี่ยวกับนิยายวิทยาศาสตร์ (science fiction) อีกด้วย ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา, ผลงานทางด้านนิยายวิทยาศาสตร์, โดยเฉพาะอย่างยิ่งการมีส่วนร่วมของฮอลลีวู้ด, ได้ช่วยเพิ่มทวีความสนใจให้มากขึ้นของประชาชนในความเป็นไปได้เกี่ยวกับชีวิตนอกโลก บางส่วนสนับสนุนให้ใช้วิธีการเชิงรุกสำหรับในความพยายามและได้รับการติดต่อกับสิ่งมีชีวิตจากห้วงอวกาศ, ในขณะที่อีกบางส่วน ยืนยันว่ามันก็อาจจะเป็นอันตรายต่อมนุษย์เราชาวโลกเราได้สำหรับในการที่จะกระตือรือร้นเรียกร้องความสนใจจากมนุษย์ต่างดาว ในอดีตที่ผ่านมา, ความขัดแย้งกันระหว่างวัฒนธรรมที่เจริญและคนพื้นเมืองนั้นก็ยังไม่ได้เป็นไปด้วยดี.

ใหม่!!: เทพพิทักษ์จอมยุ่ง เนียลโกะและสิ่งมีชีวิตนอกโลก · ดูเพิ่มเติม »

สึนเดะเระ

thumb สึนเดะเระ เป็นคำภาษาญี่ปุ่น ใช้เรียกบุคลิกที่แรกเริ่มเดิมทีดูประหนึ่งไม่เป็นมิตร, ดู, เย็นชา หรือฉุนเฉียวง่าย แต่มาภายหลังหรือลึก ๆ แล้วอ่อนไหวหรืออ่อนหวาน คำนี้ประสมจากคำ "สึงสึง" อันแปลว่า ร้ายกาจดังคมหนาม, โมโหร้าย หรืออารมณ์ร้อน กับคำ "เดะเระเดะเระ" ที่หมายความว่า อ่อนหวาน หรือชดช้อย จำเดิม คำนี้พบได้ในเกมประเภทบิโชโจะ แต่หลังจากได้รับความนิยมเมื่อนำไปใช้ในนิยายเสมือนจริงเรื่อง คิมิกะโนะโซะมุเอเอ็ง (Kimi ga Nozomu Eien) แล้ว คำนี้ก็กลายเป็นปรากฏการณ์อย่างหนึ่งของบุคลิกแบบโมะเอะ (moe) ซึ่งเป็นที่ต้องตาต้องใจของบรรดาโอะตะกุ (otaku) ตลอดจนพบได้ในสื่อนานาประเภท ทั้งอะนิเมะ, มังงะ, นวนิยาย และสื่อมวลชนเอง.

ใหม่!!: เทพพิทักษ์จอมยุ่ง เนียลโกะและสึนเดะเระ · ดูเพิ่มเติม »

ส้อม

้อมประเภทต่างๆ จากซ้ายไปขวา: ส้อมของหวาน, ส้อมเล็ก, ส้อมสลัด, ส้อมทานข้าว, ส้อมจิ้มเนื้อ, ส้อมตักเนื้อ, ส้อมแล่เนื้อ. ส้อม เป็นเครื่องครัว ที่ประกอบไปด้วยด้ามจับและปลายแหลมหรือเงี่ยงหลายซี่ที่อีกด้าน โดนปกติมีประมาณ 2-4 ซี.

ใหม่!!: เทพพิทักษ์จอมยุ่ง เนียลโกะและส้อม · ดูเพิ่มเติม »

หมึก (สัตว์)

หมึก หรือที่นิยมเรียกกันว่า ปลาหมึก เป็นสัตว์ทะเลที่ไม่มีกระดูกสันหลัง ที่มีขนาดใหญ่ เคลื่อนที่ได้รวดเร็ว และว่องไว มีหนวดรอบปาก 4-5 คู่ บนหนวดมีปุ่มดูดเรียงเป็นแถว มีหน้าที่จับเหยื่อป้อนเข้าปาก เป็นสัตว์ที่มีอยู่ในไฟลัมมอลลัสกา ชั้นเซฟาโลพอดซึ่งเป็นชั้นของสัตว์ที่มีลำตัวอ่อนนิ่ม ชั้นย่อย Coleoidea ต่างจากกลุ่มสัตว์ที่ใกล้เคียงกันคือ Nautiloidea ซึ่งมีเปลือกแข็งห่อหุ้มภายนอกร่างกาย แต่หมึกส่วนใหญ่กลับมีกระดูกหรือเปลือกอยู่ภายในเพื่อใช้ประโยชน์ในการเป็นทุ่นหรือพยุงร่างกาย ซึ่งเรียกว่า ลิ้นทะเล ยังมีบางชนิดที่ไม่มีกระดูก แต่มีกระดูกอ่อนทดแทนเพื่อใช้ในการพยุงโครงสร้างร่างกาย คำว่า Cephalopoda ซึ่งเป็นชื่อชั้นที่ใช้เรียกหมึก มาจากภาษากรีกแปลรวมกันว่า "สัตว์หัว-เท้า" (head-footed animals) เนื่องจากหมึกเป็นสัตว์ที่ไม่มีแขนขา เพียงแต่มีระยางค์ยื่นออกจากจากรอบ ๆ บริเวณปากเรียกว่า หนวด เท่านั้นเอง หมึกวิวัฒนาการมาจากมอลลัสกา ในปลายยุคแคมเบรียน หรือราว 500 ล้านปีก่อน แต่กระนั้นหมึกและหอยในยุคปัจจุบันนี้ ก็ยังมีระบบทางร่างกายหลายอย่างเหมือนกัน กล่าวคือ ระบบทางเดินอาหาร, ปาก, ฟัน และกล้ามเนื้อแบบแมนเทิล ปัจจุบัน ได้มีการค้นพบหมึกแล้วว่า 1,000 ชนิด ชนิดที่ใหญ่ที่สุด คือ หมึกมหึมา (Mesonychoteuthis hamiltoni) ซึ่งเป็นหมึกในอันดับหมึกกล้วย อาศัยอยู่ในห้วงน้ำลึกของมหาสมุทรแอตแลนติก อาจยาวได้ถึง 14 เมตร นับเป็นสัตว์ที่ไม่มีกระดูกสันหลังที่ใหญ่ที่สุดในโลกอีกด้วย และเล็กที่สุดมีขนาดไม่เกิน 1 เซนติเมตรด้วยซ้ำ เช่น หมึกในวงศ์ Idiosepiidae เป็นต้น หมึกมีความสำคัญต่อมนุษย์ในแง่ของการใช้เป็นอาหารมาช้านาน ในแทบทุกวัฒนธรรม หมึกถือเป็นสัตว์ทะเลที่ใช้ปรุงเป็นอาหาร ซึ่งสามารถปรุงสุดได้ทั้งสดและตากแห้ง เช่น ในอาหารไทย เช่น หมึกผัดกะเพรา หรือ หมึกย่าง เป็นต้น นอกจากนี้แล้วยังใช้ทำเป็นอาหารสัตว์ โดยเฉพาะลิ้นทะเล ซึ่งมีแคลเซียมเป็นจำนวนมาก จึงนิยมให้นกหรือสัตว์ปีกกินเพื่อเพิ่มแคลเซียมในร่างกาย นอกจากนี้แล้ว หมึกยังมักถูกอ้างอิงถึงในวรรณกรรมประเภทต่าง ๆ โดยเฉพาะหมึกยักษ์หรือหมึกที่มีขนาดใหญ่ เช่น โจมตีใส่เรือดำน้ำนอติลุสของกัปตันนีโม ในนวนิยายวิทยาศาสตร์เรื่อง Twenty Thousand Leagues Under the Sea เป็นต้น สำหรับหมึกที่พบในน่านน้ำไทย ได้แก่ หมึกกระดองลายเสือ (Sepia pharaonis), หมึกกล้วย (Photololigo duvauceli), หมึกหอม (Sepioteuthis lessoniana), หมึกสายราชา (Octopus rex) เป็นต้น เลือดปลาหมึกมีสีน้ำเงิน.

ใหม่!!: เทพพิทักษ์จอมยุ่ง เนียลโกะและหมึก (สัตว์) · ดูเพิ่มเติม »

อะยะ ฮิซะกะวะ

อะยะ ฮิซะกะวะ เกิดวันที่ 12 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: เทพพิทักษ์จอมยุ่ง เนียลโกะและอะยะ ฮิซะกะวะ · ดูเพิ่มเติม »

อะนิเมะ

รูปแบบอะนิเมะในปัจจุบัน อะนิเมะ (「アニメ」 anime) เป็นคำภาษาญี่ปุ่นที่มาจากภาษาอังกฤษว่า แอนิเมชั่น (animation) ซึ่งมาจาก ภาษาฝรั่งเศส อานีเม่ (animé) และจากภาษาละติน แปลว่าเคลื่อนไหว หรือภาพเคลื่อนไหว แต่ความหมายกลายจนเป็นคำเฉพาะของภาษาญี่ปุ่นแปลว่า ภาพยนตร์การ์ตูน ภายนอกประเทศญี่ปุ่น อะนิเมะหมายถึงภาพยนตร์การ์ตูนสัญชาติญี่ปุ่น ซึ่งส่วนใหญ่มีลักษณะทางศิลปะแตกต่างกับภาพยนตร์การ์ตูนจากแหล่งอื่น อะนิเมะส่วนใหญ่จะวาดขึ้นด้วยมือ แต่ปัจจุบันมีการนำคอมพิวเตอร์มาช่วยสร้างอะนิเมะอย่างแพร่หลาย อะนิเมะส่วนใหญ่สร้างขึ้นเพื่อให้ความบันเทิงเหมือนภาพยนตร์ โดยมีแนวเรื่องหลากหลายและครอบคลุมแนววรรณกรรมเกือบทุกแนว อะนิเมะส่วนใหญ่ถูกสร้างขึ้นเป็นตอน ๆ เพื่อฉายทางโทรทัศน์ ส่วนหนึ่งถูกสร้างเป็นภาพยนตร์การ์ตูนเรื่องยาวเพื่อฉายในโรงภาพยนตร์ และอีกส่วนหนึ่งถูกสร้างเป็นตอน ๆ เพื่อขายตรงในรูปแบบดีวีดี วีซีดี หรือวีดิโอ ดูมีการทำตอนเฉพาะที่เรียกว่า โอวีเอ อะนิเมะหลายเรื่องถูกดัดแปลงมาจากมังงะ นอกจากนี้ยังมีอะนิเมะที่ถูกนำไปดัดแปลงเป็นละครโทรทัศน์อีกด้ว.

ใหม่!!: เทพพิทักษ์จอมยุ่ง เนียลโกะและอะนิเมะ · ดูเพิ่มเติม »

ฮัสเทอร์

ัสเทอร์ (Hastur) หรือฮัสทูลหรือฮัสโทล เป็นหนึ่งในสิ่งที่เรียกว่า เกรทโอลด์วัน ในเรื่องชุดตำนานคธูลู มีฉายาว่า ผู้มิอาจเอ่ยนาม (the Unspeakable และ Him Who Is Not to be Named) ฮัสเทอร์ปรากฏตัวครั้งแรกในเรื่องสั้น ไฮตา คนเลี้ยงแกะ (Haïta the Shepherd) ของแอมโบรส เบียร์ซซึ่งตีพิมพ์ในปีพ.ศ. 2436 โดยเป็นเทพของคนเลี้ยงแกะ ต่อมา โรเบิร์ต ดับเบิลยู. แคมเบอร์ได้นำฮัสเทอร์มาใช้ในงานประพันธ์ของตนเองโดยเป็นทั้งชื่อของบุคคลและสถานที่ซึ่งเชื่อมโยงกับดวงดาวต่างๆ รวมถึงดาวอัลดิบาแรน.

ใหม่!!: เทพพิทักษ์จอมยุ่ง เนียลโกะและฮัสเทอร์ · ดูเพิ่มเติม »

จักรยานยนต์

Crocker ปี 1941 จักรยานยนต์ยามาฮ่า จักรยานยนต์ หรือ มอเตอร์ไซค์ (motorcycle หรือ motorbike) คือยานพาหนะสองล้อที่ใช้เครื่องยนต์หรือมอเตอร์ในการขับเคลื่อน ประเภทของจักรยานยนต์ขึ้นอยู่กับลักษณะการออกแบบใช้งาน เช่น ระยะทาง สภาพจราจร การท่องเที่ยว กีฬา และ การแข่งขัน เป็นต้น.

ใหม่!!: เทพพิทักษ์จอมยุ่ง เนียลโกะและจักรยานยนต์ · ดูเพิ่มเติม »

ทะเกะชิ คุซะโอะ

ทะเกะชิ คุซะโอะ เป็นนักพากย์ชายชาวญี่ปุ่น เกิดเมื่อวันที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2508 ที่จังหวัดไซตะมะ ประเทศญี่ปุ่น ปัจจุบัน เขาทำงานอยู่สังกัดอาโอนิโปรดักชัน.

ใหม่!!: เทพพิทักษ์จอมยุ่ง เนียลโกะและทะเกะชิ คุซะโอะ · ดูเพิ่มเติม »

ทีไอจีเอ

ริษัททีไอจีเอ จำกัด (TIGA Co., Ltd.) หรือเรียกโดยย่อว่า ไทก้า เป็นบริษัทตัวแทนลิขสิทธิ์ในประเทศไทย จดทะเบียนเป็นนิติบุคคลเอกชนเมื่อวันที่ 26 มีนาคม 2540http://www.tigatime.com/PageAboutUs.php เกี่ยวกับบริษัท ทีไอจีเอ ปัจจุบันมีตัวแทนจำหน่าย คือ บริษัทเอสไอเอส ดิสทริบิวชั่น จำกัด (มหาชน).

ใหม่!!: เทพพิทักษ์จอมยุ่ง เนียลโกะและทีไอจีเอ · ดูเพิ่มเติม »

ดราก้อนบอล GT

ราก้อนบอลจีที (Dragon Ball GT) เป็นการ์ตูนภาคเสริมที่ทำขึ้นมาเฉพาะฉบับอะนิเมะโดยเรื่องราวต่อจาก ดราก้อนบอล Z ในภาคนี้ อากิระ โทริยาม่า มีส่วนร่วมเพียงแค่ช่วยตั้งชื่อภาค ออกแบบโลโก้ และออกแบบตัวละครเพียงเล็กน้อย ในส่วนของเนื้อเรื่องใน Dragon Ball GT นั้นไม่ได้มีส่วนร่วมในเนื้อเรื่องแต่อย่างใด ครั้งหนึ่ง อากิระ โทริยาม่า ได้กล่าวว่า Dragon Ball GT นั้นเป็นเพียง Side-Story ไม่นับอยู่ในจักรวาลหลักแต่อย่างใด และภายหลังก็ได้สร้าง ดราก้อนบอล ซูเปอร์ เพื่อเป็นภาคต่อของจักรวาลหลักอย่างเป็นทางการ เคยนำมาฉายที่ช่อง 9 อ..ม.ท. ใช้ทีมพากย์ของน้าต๋อย เซมเบ้.

ใหม่!!: เทพพิทักษ์จอมยุ่ง เนียลโกะและดราก้อนบอล GT · ดูเพิ่มเติม »

คอสเพลย์

วิกิพีตัง คอสเพลย์ (cosplay) โดยทั่วไปหมายถึงการแต่งกายเลียนแบบตัวละครจากในเกมหรือการ์ตูน โดยอาจมีการแสดงท่าทางหรือบุคลิกตามตัวละครนั้น ๆ ด้วย เดิมทีการแต่งกายในลักษณะนี้ยังไม่มีคำระบุเรียกอย่างชัดเจน คำว่าคอสเพลย์นี้ถูกใช้เป็นครั้งแรกในประเทศญี่ปุ่น เพื่อใช้การเขียนคอลัมน์ในนิตยสาร My Anime เมื่อปี พ.ศ. 2525 โดยโนบุยุกิ ทากาฮาชิ ซึ่งมาจากการนำคำ 2 คำมาผสมกัน คือคำว่า Costume และ Play.

ใหม่!!: เทพพิทักษ์จอมยุ่ง เนียลโกะและคอสเพลย์ · ดูเพิ่มเติม »

คิกุโกะ อิโนะอุเอะ

กุโกะ อิโนะอุเอะ เป็นนักพากย์หญิงชาวญี่ปุ่น เริ่มเข้าสู่วงการนักพากย์ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2531 โดยผลงานเรื่องแรกเป็นบทตัวประกอบเล็กๆในเรื่อง ฮาย อักโกะเดสึ ต่อมาก็ได้แจ้งเกิดจากบทของ เท็นโด้ คาซึมิ พี่สาวที่แสนอ่อนโยนในเรื่อง รันม่า ½ และจากบทนี้นี่เองที่ทำให้เธอมีชื่อเล่นในวงการว่า "โอเน่จัง" (พี่สาว) จากนั้นในปี พ.ศ. 2536 อิโนอุเอะก็ได้รับบทเป็น เบลดันดี้ ในเรื่อง โอ้! เทพธิดา ส่งผลให้ชื่อเสียงของเธอเป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวาง แต่ถึงแม้อิโนอุเอะจะได้พากย์แต่บทสาวหวานๆ สไตล์อ่อนโยนเสียมาก แต่บางครั้งก็ได้พากย์เสียงสาวสไตล์โหดดิบ เช่น แพนเธอร์ ใน เซเบอร์มาริโอเน็ต J และ โลเบเลีย ใน ซากุระไทเซ็น 3 ด้วยเช่นกัน สัญลักษณ์ประจำตัวของเธอคือ ปลาพระอาทิตย์สีแดง.

ใหม่!!: เทพพิทักษ์จอมยุ่ง เนียลโกะและคิกุโกะ อิโนะอุเอะ · ดูเพิ่มเติม »

คธูลู

ูลูในนครรุลูเยห์ คธูลู (Cthulhu), คธุลฮู, คุลลูหรือธูลู (ชื่อจริงของคธูลูนั้นเป็นภาษาที่มนุษย์ไม่สามารถออกเสียงได้ถูกต้อง) เป็นหนึ่งในสิ่งที่เรียกว่า เกรทโอลด์วัน ในงานประพันธ์ของเอช. พี. เลิฟคราฟท์ คธูลูปรากฏตัวครั้งแรกในเรื่องสั้น "เสียงเรียกของคธูลู" (The Call of Cthulhu) ซึ่งตีพิมพ์ในปี พ.ศ. 2471 และมีบทบาทเล็กๆในงานเขียนเรื่องอื่นๆของเลิฟคราฟท์ ออกัสต์ เดอเลธใช้ศัพท์คำว่า ตำนานคธูลู (Cthulhu Mythos) เพื่อจำแนกงานเขียนของเลิฟคราฟท์และตัวเขาเองที่มีเนื้อหาเกี่ยวข้องกัน ซึ่งในเวลาต่อมาได้รวมถึงงานประพันธ์ของคนอื่นๆซึ่งใช้ตัวละครและเนื้อหาแบบเดียวกันทั้งหมด (เรียกได้อีกอย่างว่าเรื่องสยองขวัญแนวเลิฟคราฟท์ (Lovecraftian horror) ชื่อของคธูลูมักใช้เปรียบเทียบในความหมายของสิ่งที่น่าสะพรึงกลัว.

ใหม่!!: เทพพิทักษ์จอมยุ่ง เนียลโกะและคธูลู · ดูเพิ่มเติม »

ตลก

ตลก อาจหมายถึง.

ใหม่!!: เทพพิทักษ์จอมยุ่ง เนียลโกะและตลก · ดูเพิ่มเติม »

ตำนานคธูลู

ตำนานคธูลู (Cthulhu Mythos) เป็นตำนานสมมุติ ซึ่งถูกสร้างขึ้นเพื่อใช้เป็นจักรวาลร่วมของงานประพันธ์ซึ่งริเริ่มโดย เอช. พี. เลิฟคราฟท์ นักประพันธ์ ออกัสต์ เดอเลธ เป็นผู้เริ่มใช้ศัพท์นี้โดยตั้งตามคธูลู ตำนานคธูลูไม่ใช่ซีรีส์เดียว แต่รวมถึงงานประพันธ์ทุกรูปแบบที่ใช้รูปแบบ ตัวละคร ฉาก และ เนื้อหาซึ่งมีรูปแบบเดียวกัน ซึ่งงานประพันธ์เหล่านี้ ได้สร้างตำนานซึ่งนักประพันธ์ในแนวเลิฟคราฟท์ใช้ประกอบงานเขียนจนถึงปัจจุบัน และขยายจักรวาลสมมุตินี้ออกไปจนพ้นแนวคิดเดิมของเลิฟคราฟท.

ใหม่!!: เทพพิทักษ์จอมยุ่ง เนียลโกะและตำนานคธูลู · ดูเพิ่มเติม »

ซะโตะมิ อะระอิ

ซะโตะมิ อะระอิ (新井 里美, Arai Satomi?) เกิดวันที่ 4 กรกฎาคม..1980 จากจังหวัด ไซตามะ เป็นนักภาคที่มีชื่อเสียงในประเทศญี่ปุ่น เธอสร้างผลงานมามากม.

ใหม่!!: เทพพิทักษ์จอมยุ่ง เนียลโกะและซะโตะมิ อะระอิ · ดูเพิ่มเติม »

ซาดิสม์และมาโซคิสม์

ลื่อยฉลุไฟฟ้าดิลโด ซาดิสม์ (sadism) และ มาโซคิสม์ (masochism) คือความสุขหรือความพึงพอใจในความเจ็บปวดและความทุกข์ของผู้อื่น คำนี้มีที่มาจากชื่อของมาร์กีส์ เดอ ซาด (Marquis de Sade) นักเขียนและนักปรัชญาชาวฝรั่งเศสที่ขึ้นชื่อในการเขียนนิยายแนวนี้ สิ่งที่ตรงกันข้ามกับซาดิสม์คือ มาโซคิสม์ ซึ่งหมายถึงความสุขหรือความพึงพอใจทางเพศเมื่อได้รับความเจ็บปวดกับตัวเอง โดยมักจะเกี่ยวข้องกับจินตนาการทางเพศหรือการถูกตบตี การถูกเหยียดหยาม การถูกผูกมัด หรือถูกทรมาน เพื่อเป็นการเพิ่มหรือทดแทนความสุขทางเพศ ชื่อนี้มาจากชื่อของนักเขียนสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 19 ลีโอโพลด์ วอน ซาเชอร์มาโซค (Leopold von Sacher-Masoch) ที่เป็นที่รู้จักจากนิยายชื่อ "Vinus in Furs" ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องราวในทางมาโซคิสม์ พฤติกรรมซาดิสม์และมาโซคิสม์มักเกิดร่วมกัน (ฝ่ายหนึ่งมีพฤติกรรมซาดิสม์ ในขณะที่อีกฝ่ายมีพฤติกรรมมาโซคิสม์) และเรียกว่า ซาโดมาโซคิสม์ หรือเรียกย่อว่า "S&M" หรือ "SM".

ใหม่!!: เทพพิทักษ์จอมยุ่ง เนียลโกะและซาดิสม์และมาโซคิสม์ · ดูเพิ่มเติม »

ซีเบก

ซีเบก (Xebec) เป็นบริษัทผลิตภาพยนตร์แอนิเมชันสัญชาติญี่ปุ่นในเครือ โปรดักชันไอจี โดยผลิตภาพยนตร์การ์ตูนชุดสำหรับฉายทางโทรทัศน์เป็นหลัก ผลงานที่มีชื่อเสียงของซีเบค ได้แก่ คิโดเซ็นคันนาเดชิโก, บ้านพักอลเวง เป็นต้น.

ใหม่!!: เทพพิทักษ์จอมยุ่ง เนียลโกะและซีเบก · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศญี่ปุ่น

ประเทศญี่ปุ่น (ชื่ออย่างเป็นทางการ) เป็นรัฐเอกราชหมู่เกาะในเอเชียตะวันออก ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกนอกฝั่งตะวันออกของแผ่นดินใหญ่เอเชีย ทางตะวันตกติดกับคาบสมุทรเกาหลีและประเทศจีน โดยมีทะเลญี่ปุ่นกั้น ส่วนทางทิศเหนือติดกับประเทศรัสเซีย มีทะเลโอค็อตสค์เป็นเส้นแบ่งแดน ตัวอักษรคันจิของชื่อญี่ปุ่นแปลว่า "ถิ่นกำเนิดของดวงอาทิตย์" จึงทำให้มักได้ชื่อว่า "ดินแดนแห่งอาทิตย์อุทัย" ประเทศญี่ปุ่นเป็นกลุ่มเกาะกรวยภูเขาไฟสลับชั้นซึ่งมีเกาะประมาณ 6,852 เกาะ เกาะใหญ่สุดคือ เกาะฮนชู ฮกไกโด คีวชู และชิโกกุ ซึ่งคิดเป็นพื้นที่แผ่นดินประมาณร้อยละ 97 ของประเทศญี่ปุ่น และมักเรียกว่าเป็นหมู่เกาะเหย้า (home islands) ประเทศแบ่งเป็น 47 จังหวัดใน 8 ภูมิภาค โดยมีฮกไกโดเป็นจังหวัดเหนือสุด และโอกินาวะเป็นจังหวัดใต้สุด ประเทศญี่ปุ่นมีประชากร 127 ล้านคน เป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับ 10 ของโลก ชาวญี่ปุ่นเป็นร้อยละ 98.5 ของประชากรทั้งหมดของประเทศญี่ปุ่น ประมาณ 9.1 ล้านคนอาศัยอยู่ในกรุงโตเกียว เมืองหลวงของประเทศ การวิจัยทางโบราณคดีระบุว่ามีมนุษย์อาศัยในญี่ปุ่นปัจจุบันครั้งแรกตั้งแต่ยุคหินเก่า การกล่าวถึงญี่ปุ่นเป็นลายลักษณ์อักษรครั้งแรกปรากฏในบันทึกของราชสำนักจีนตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 1 ญี่ปุ่นได้รับอิทธิพลจากจีนในหลายด้าน เช่นภาษา การปกครองและวัฒนธรรม แต่ขณะเดียวกันก็มีการปรับเปลี่ยนให้เป็นเอกลักษณ์ของตนเอง จึงทำให้ญี่ปุ่นมีวัฒนธรรมที่โดดเด่นมาจนปัจจุบัน อีกหลายศตวรรษต่อมา ญี่ปุ่นก็รับเอาเทคโนโลยีตะวันตกและนำมาพัฒนาประเทศจนกลายเป็นประเทศที่ก้าวหน้าและมีอิทธิพลมากที่สุดในเอเชียตะวันออก หลังจากแพ้สงครามโลกครั้งที่สอง ญี่ปุ่นก็มีการเปลี่ยนแปลงทางการปกครองโดยการใช้รัฐธรรมนูญใหม่ใน..

ใหม่!!: เทพพิทักษ์จอมยุ่ง เนียลโกะและประเทศญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

นอเดนส์

นอเดนส์ (Nodens) เป็นหนึ่งในเอลเดอร์ก็อดในงานประพันธ์ชุดตำนานคธูลูของเอช. พี. เลิฟคราฟท์ นอเดนส์มีที่มาจากเทพชื่อเดียวกันในตำนานของเคลต์และได้รับการกล่าวถึงครั้งแรกในเรื่องสั้น The Strange High House in the Mist (ประพันธ์ในปีพ.ศ. 2469 และต่อมาก็มีบทบาทเด่นชัดขึ้นในนิยาย เดอะดรีมเควสต์ออฟอันโนนคาดัธ มีฉายาว่า ผู้ปกครองแห่งห้วงลึก (Lord of the Great Abyss) และ นาวดามือเงิน (Nuada of the Silver Hand).

ใหม่!!: เทพพิทักษ์จอมยุ่ง เนียลโกะและนอเดนส์ · ดูเพิ่มเติม »

แชนแทค

แชนแทค (shantak) เป็นสัตว์ประหลาดที่ปรากฏในงานประพันธ์ชุดตำนานคธูลูของเอช. พี. เลิฟคราฟท์ โดยปรากฏตัวครั้งแรกในนิยายเรื่อง เดอะดรีมเควสต์ออฟอันโนนคาดัธ (พ.ศ. 2469).

ใหม่!!: เทพพิทักษ์จอมยุ่ง เนียลโกะและแชนแทค · ดูเพิ่มเติม »

แมงมุม

แมงมุม จัดเป็นสิ่งมีชีวิตพวกสัตว์ขาปล้อง หรืออาร์โธพอด เช่นเดียวกับแมลง, กิ้งกือ, ปู เป็นต้น จัดอยู่ในอันดับ Araneae (/อา-รัค-เน/) มีรูปทรง ลักษณะ และขนาดแตกต่างหลากหลายกันออกไป บางชนิดมีลำตัวที่กว้างมาก บางชนิดมีรูปร่างที่เพรียวยาว ขณะที่บางชนิดกลับมีรูปร่างที่คล้ายกับสัตว์หรือสิ่งมีชีวิตประเภทอื่น เช่น มด หรือปู เพื่อใช้ในการพรางตัว โดยแมงมุมนั้นถูกค้นพบแล้วกว่า 40,000 ชนิด และก็ยังมีชนิดใหม่ ๆ ถูกค้นพบเพิ่มขึ้นทุกปี ซึ่งนักวิทยาศาสตร์ประเมินว่าจำนวนที่ถูกค้นพบนี้เป็นเพียงแค่ครึ่งเดียวของทั้งหมดที่มีเท่านั้น โดยแมงมุมขนาดเล็กที่สุด พบที่โคลัมเบีย ในทวีปอเมริกาใต้ มีความยาวเพียง 0.4 มิลลิเมตรเท่านั้น และที่ชนิดที่ใหญ่ที่สุดในโลก คือ แมงมุมกินนกโกไลแอท มีความยาวลำตัว 12–13 เซนติเมตร หรือขนาด 25–33 เซนติเมตรเลยทีเดียว แมงมุมพบได้ในแทบทุกภูมิภาคของโลก ไม่เว้นแม้กระทั่งในทะเลทรายที่แห้งแล้งและร้อนอบอ้าว หรือในถ้ำลึก หรือภูเขาสูง หรือในน้ำ แต่ทั้งหมดเป็นสัตว์กินเนื้อ แมงมุมกินอาหารจำพวก เพลี้ยอ่อน, ตัวหนอน, ผีเสื้อ, แมลงวัน, ยุง, ปลวก, ด้วง, มด เป็นตัน จึงมีความสำคัญในระบบนิเวศทางการเกษตร และระบบนิเวศทั่วไป โดยส่วนใหญ่เมื่อจะล่าเหยื่อจะสร้างใยเพื่อเป็นรังอาศัย และดักเหยื่อ ในขณะที่บางชนิดไม่สร้างใยก็มี ซึ่งก็จะมีการใช้เส้นใยที่แตกต่างกันออกไปในแต่ละชนิด ขึ้นอยู่กับรูปแบบการอยู่อาศัยของแมงมุมในแต่ละชนิดในพื้นที่นั้น.

ใหม่!!: เทพพิทักษ์จอมยุ่ง เนียลโกะและแมงมุม · ดูเพิ่มเติม »

แคร์รอต

''Daucus carota subsp. maximus'' แคร์รอต (carrot) เป็นพืชกินหัวชนิดหนึ่ง มีลักษณะยาว หัวแคร์รอตมีหลายสี เช่น เหลือง ม่วง ส้ม แต่ที่นิยมรับประทานในปัจจุบันคือสีส้ม แคร์รอตเป็นพืชแถบเอเชียตะวันออกและเอเชียกลาง มีหลายขนาด ตั้งแต่ขนาดเล็กเท่าแท่งดินสอ หรือที่เรียกว่าเบบีแคร์รอต (baby carrot) ไปจนถึงขนาดใหญ.

ใหม่!!: เทพพิทักษ์จอมยุ่ง เนียลโกะและแคร์รอต · ดูเพิ่มเติม »

โฟมัลฮอต

ฟมัลฮอต (Fomalhaut) หรือ อัลฟาปลาใต้ (α PsA / α Piscis Austrini) เป็นดาวฤกษ์สว่างที่สุดในกลุ่มดาวปลาใต้ และเป็นหนึ่งในบรรดาดาวฤกษ์สว่างที่สุดบนท้องฟ้า หากอยู่ในซีกโลกเหนือ จะสามารถมองเห็นดาวโฟมัลฮอตได้ทางเกือบขอบฟ้าด้านทิศใต้ในช่วงเย็นต้นฤดูหนาว ใกล้กับเส้นละติจูด 50˚เหนือ ดาวจะตกลับขอบฟ้าเมื่อดาวซิริอุสปรากฏขึ้น และจะไม่ปรากฏขึ้นอีกจนกว่าดาวปาริชาต (Antares) จะตกลับไป ชื่อ "โฟมัลฮอต" มีความหมายว่า "ปากวาฬ" มาจากคำภาษาอารบิกว่า فم الحوت fum al-ḥawt ดาวฤกษ์นี้จัดเป็นดาวฤกษ์ระดับ A ในแถบลำดับหลัก อยู่ห่างจากโลกประมาณ 25 ปีแสง ถือเป็นดาวฤกษ์แบบคล้ายเวกา ซึ่งแผ่รังสีอินฟราเรดออกมาจำนวนมาก บ่งชี้ว่าดาวนี้มีแผ่นจานฝุ่นล้อมรอบ ดาวโฟมัลฮอตเป็นดาวฤกษ์สำคัญดวงหนึ่งในการศึกษาดาวเคราะห์นอกระบบ เนื่องจากเป็นระบบดาวฤกษ์แห่งแรกที่มีดาวเคราะห์นอกระบบ โฟมัลฮอตบี ซึ่งถูกถ่ายภาพไว้ได้ในช่วงคลื่นที่ตามองเห็น ภาพนี้ตีพิมพ์ในวารสาร Science เมื่อเดือนพฤศจิกายน..

ใหม่!!: เทพพิทักษ์จอมยุ่ง เนียลโกะและโฟมัลฮอต · ดูเพิ่มเติม »

โอะตะกุ

นอะกิบะระในโตเกียว บริเวณที่รวมตัวของชาว ''โอะตะกุ'' โอะตะกุ เป็นคำภาษาญี่ปุ่นใช้กับคำที่มีความสนใจแบบหมกหมุ่น โดยทั่วไปมักเกี่ยวกับแฟมดอมอะนิเมะและมังงะ การใช้คำเริ่มขึ้นจากเรียงความของอะกิโอะ นะกะโมะริ ใน..

ใหม่!!: เทพพิทักษ์จอมยุ่ง เนียลโกะและโอะตะกุ · ดูเพิ่มเติม »

โจโจ้ ล่าข้ามศตวรรษ

้ ล่าข้ามศตวรรษ (JoJo's Bizarre Adventure) เป็นการ์ตูนญี่ปุ่น (มังงะ) แนวแฟนตาซี แอ็กชัน ผจญภัย เขียนโดย ฮิโรฮิโกะ อารากิ ลงตีพิมพ์ในนิตยสารโชเน็นจัมป์รายสัปดาห์ ในเครือสำนักพิมพ์ชูเอฉะตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: เทพพิทักษ์จอมยุ่ง เนียลโกะและโจโจ้ ล่าข้ามศตวรรษ · ดูเพิ่มเติม »

โทกูซัตสึ

ทกูซัตสึ เป็นคำศัพท์ในภาษาญี่ปุ่น หมายถึงละครโทรทัศน์ที่แสดงด้วยมนุษย์จริง จุดเด่น คือ สเปเชียลเอฟเฟกต์ ตัวเอกเป็นยอดมนุษย์ กับเนื้อหาแนววิทยาศาสตร์และจินตนิมิต.

ใหม่!!: เทพพิทักษ์จอมยุ่ง เนียลโกะและโทกูซัตสึ · ดูเพิ่มเติม »

โทะโมะกะซุ เซะกิ

ทะโมะกะซุ เซะกิ (คันจิ:関 智一; 8 กันยายน พ.ศ. 2515 —) เป็นนักพากย์ชายชาวญี่ปุ่น เนื่องจากสามารถดัดเสียงได้หลายแบบจึงส่งผลให้เขามีผลงานมากมาย เซกิเริ่มมีชื่อเสียงมากขึ้นจากบทโดมอน กัช จากจีกันดั้ม และหลังจากนั้นเขาก็มีผลงานโดดเด่นอย่างต่อเนื่องมาตลอด เช่น ซางาระ โซสุเกะ จากฟูลเมทัล พานิค, โซมะ เคียว จากเสน่ห์สาวข้าวปั้น, อิซาค จูล จากกันดั้มซี้ด และในปี พ.ศ. 2548 ได้รับบทเป็นซูเนโอะในโดราเอมอนฉบับสร้างใหม.

ใหม่!!: เทพพิทักษ์จอมยุ่ง เนียลโกะและโทะโมะกะซุ เซะกิ · ดูเพิ่มเติม »

โดจินชิ

โดจินชิ หมายถึง สื่อสัญชาติญี่ปุ่นที่สร้างและจัดจำหน่ายโดยมือสมัครเล่น โดยอาจเป็นมังงะ อะนิเมะ นิยาย หนังสือรวมภาพเขียนหรืองานศิลปะ หรือวิดีโอเกม อย่างไรก็ดีศิลปินอาชีพหลายคนตีพิมพ์โดจินชิเพื่อเผยแพร่ผลงานของตนโดยไม่ผ่านสำนักพิมพ์ คำว่าโดจินชิสร้างมาจากคำว่า 同人 ซึ่งแปลว่า "กลุ่มคนที่มีความสนใจแบบเดียวกัน" และ 誌 ซึ่งแปลว่า "นิตยสาร" หรือ "การเผยแพร่" กลุ่มผู้สร้างโดจินชิมักเรียกตัวเองว่า "เซอร์เคิล" (サークル, circle) โดจินชิโดยส่วนมากจะเขียนโดยแฟนๆ ของการ์ตูนที่ได้รับความนิยม โดยนำตัวละครจากการ์ตูนที่ชื่นชอบมาเขียนเรื่องราวเพิ่มเติมออกไปตามแต่จินตนาการของแฟนๆ นับเป็นการตอบสนองความต้องการของแฟนการ์ตูนในแบบหนึ่ง อย่างไรก็ดีโดจินชิก็สามารถเป็นเรื่องที่ผู้วาดแต่งขึ้นมาเองก็ได้ เป็นทางเลือกสำหรับศิลปินหรือนักประพันธ์ที่ต้องการเผยแพร่ผลงานโดยไม่ต้องผ่านการกลั่นกรองหรือประเมินคุณค่าจากสำนักพิมพ์ การเผยแพร่ทำได้โดยจำหน่ายผลงานของตนได้ในงานขายตรงโดจินชิ ที่ใหญ่ที่สุดคืองานคอมิเก็ตจัดในหน้าร้อนและหน้าหนาวของทุกปีที่โตเกียวบิ๊กไซต์ มีผู้เข้าร่วมงานไม่ต่ำกว่าครั้งละ 400,000 คน นอกจากนี้ปัจจุบันนักเขียนโดจินชิยังสามารถจำหน่ายผลงานทางอินเทอร์เน็ต หรือทางร้านหนังสือซึ่งขายเฉพาะโดจินชิได้อีกด้วย นักเขียนการ์ตูนชาวญี่ปุ่นชื่อดังหลายคน อาทิ เคน อาคามัตสึ, คิโยฮิโกะ อะสึมะ, และCLAMP เผยแพร่ผลงานของตนในระยะแรกๆ เป็นโดจินชิ และปัจจุบันก็มีนักเขียนการ์ตูน นักออกแบบตัวละคร และศิลปินมีออาชีพหลายคนที่ยังเขียนโดจินชิควบคู่กับงานหลักไปด้วย เช่น มาริโอะ คาเนดะ, เคจิ โกโต, และ โทนี ทากะ ปัจจุบันการเขียนโดจินชิได้รับความนิยมมากขึ้นเรื่อยๆ ในประเทศไทย โดยมีการจัดงานขายตรงโดจินเป็นระยะๆ ตลอดทั้งปี อาทิ งานโคมิคอนโรด, งานคอมิกซีซัน เป็นต้น บางครั้งการ์ตูนโป๊ที่เป็นลายเส้นแบบการ์ตูนญี่ปุ่นอาจถูกเรียกรวม ๆ ว่าโดจินชิ เพื่อเลี่ยงการกล่าวถึงโดยตรง แม้ว่าโดจินชิไม่จำเป็นต้องมีฉากลามกอนาจารเสมอไปก็ตาม บางครั้งโดจินชิยังอาจหมายความเฉพาะเจาะจงถึงการ์ตูนยะโอะอิ (ชายรักชาย) หรือการ์ตูนยุริ (หญิงรักหญิง) หมวดหมู่:การ์ตูนญี่ปุ่น.

ใหม่!!: เทพพิทักษ์จอมยุ่ง เนียลโกะและโดจินชิ · ดูเพิ่มเติม »

โซนี่อินเตอร์แอ็กทีฟเอ็นเตอร์เทนเมนต์

ซนี่อินเตอร์แอ็กทีฟเอ็นเตอร์เทนเมนต์ (Sony Interactive Entertainment) หรือชื่อในอดีตก่อนปี 2016 คือ โซนี่คอมพิวเตอร์เอ็นเตอร์เทนเมนต์ (Sony Computer Entertainment) เป็นบริษัทวิดีโอเกมทั้งด้านฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ เป็นบริษัทลูกในเครือโซนี่ ก่อตั้งเมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน ค.ศ. 1993 ที่โตเกียว ประเทศญี่ปุ่น ผลงานสำคัญของโซนี่คอมพิวเตอร์เอ็นเตอร์เทนเมนต์ คือเครื่องเล่นวิดีโอเกมในตระกูลเพลย์สเตชัน.

ใหม่!!: เทพพิทักษ์จอมยุ่ง เนียลโกะและโซนี่อินเตอร์แอ็กทีฟเอ็นเตอร์เทนเมนต์ · ดูเพิ่มเติม »

ไลต์โนเวล

ลต์โนเวล เป็นนิยาย ที่นำตัวละครและเนื้อเรื่อง หรือสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่เกี่ยวข้องกับอะนิเมะหรือมังงะ มาใช้เป็นภาพประกอบ โดยเป็นลักษณะของการเขียนเป็นบทความ บทละคร หรือเรื่องที่แต่งขึ้นอาจจะเกี่ยวพันหรือไม่มีความเกี่ยวข้องกันเล.

ใหม่!!: เทพพิทักษ์จอมยุ่ง เนียลโกะและไลต์โนเวล · ดูเพิ่มเติม »

ไทกา

ไทกา (taiga; тайга́) หรือป่าเขตหนาว (boreal forest) หรือป่าหิมะ (snow forest) เป็นชีวนิเวศซึ่งมีลักษณะเป็นป่าสนเขาที่ส่วนใหญ่ประกอบด้วยต้นไพน์ สพรูสและลาตช์ ไทกาเป็นชีวนิเวศบนดินที่ใหญ่ที่สุดในโลก ในทวีปอเมริกา ไทกากินพื้นที่ส่วนใหญ่ของแคนาดาและรัฐอะแลสกาในแผ่นดิน ตลอดจนจุดเหนือสุดของสหรัฐอเมริกาภาคพื้นทวีป (รัฐมินนิโซตาตอนเหนือผ่านคาบสมุทรอัปเปอร์ของรัฐมิชิแกนและอัปสเตดนิวยอร์กถึงรัฐนิวอิงแลนด์ตอนเหนือ) ซึ่งเรียก นอร์ทวูดส์ ในยูเรเซีย ไทกากินพื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศสวีเดน ฟินแลนด์ นอร์เวย์ส่วนมาก พื้นที่ราบและชายฝั่งบางส่วนของไอซ์แลนด์ พื้นที่กว้างใหญ่ของประเทศรัสเซียตั้งแต่คารีเลียทางตะวันตกถึงมหาสมุทรแปซิฟิก (ซึ่งรวมไซบีเรียไปมาก) และบางพื้นที่ของประเทศคาซัคสถานตอนเหนือ มองโกเลียตอนเหนือ และประเทศญี่ปุ่นตอนเหนือ (บนเกาะฮกไกโด) ทว่า ไม้ต้นสามสปีชีส์หลัก ระยะเวลาของฤดูเติบโตและอุณหภูมิฤดูร้อนแตกต่างกัน ตัวอย่างเช่น ไทกาทวีปอเมริกาเหนือส่วนใหญ่เป็นสพรูส ไทกาสแกนดิเนเวียและฟินแลนด์ประกอบด้วยสพรูส ไพน์และเบิร์ชผสมกัน ไทการัสเซียมีสพรูส ไพน์และลาตช์ขึ้นอยู่กับภูมิภาค ขณะที่ไทกาไซบีเรียตะวันออกเป็นป่าลาตช์ขนาดใหญ่ หมวดหมู่:ไทกาและป่าเขตหนาว หมวดหมู่:ชีวนิเวศบนดิน หมวดหมู่:ป่า หมวดหมู่:การแบ่งเขตภูมิอากาศแบบเคิปเปน.

ใหม่!!: เทพพิทักษ์จอมยุ่ง เนียลโกะและไทกา · ดูเพิ่มเติม »

ไนอาลาโธเทป

นอาลาโธเทป ไนอาลาโธเทป (Nyarlathotep) หรือไนอาลัทโฮเทป หรือเนียลาโธเทป เป็นหนึ่งในสิ่งที่เรียกว่า เอาเตอร์ก็อด ในงานประพันธ์ของเอช. พี. เลิฟคราฟท์ ไนอาลาโธเทปมีฉายาว่า ความวุ่นวายที่คืบคลาน (Crawling Chaos) ปรากฏตัวในเรื่องสั้นชื่อ ไนอาลาโธเทป (พ.ศ. 2463) และนับเป็นเทพที่มีบทบาทมากที่สุดตัวหนึ่งในงานประพันธ์ของเลิฟคราฟท์ ไนอาลาโธเทปมีร่างอวตารอยู่มากมายและมีรูปร่างที่แตกต่างกันนับไม่ถ้วน บางครั้งไนอาลาโธเทปจะปรากฏตัวบนโลกในร่างมนุษย์ ซึ่งมักเป็นชายร่างสูง มีนิสัยขี้เล่น และแต่งกายด้วยชุดสีดำล้วน แต่ส่วนใหญ่จะเป็นสัตว์ประหลาดซึ่งมีรูปร่างน่าสะพรึงกลัว ในบทกวี Nyarlathotep และนิยาย เดอะดรีมเควสต์ออฟอันโนนคาดัธ (พ.ศ. 2469) ไนอาลาโธเทปปรากฏกายเป็นชายที่มีลักษณะคล้ายฟาโรห์ของอียิปต์โบราณ ซึ่งมีเหล่าสาวกติดตามเป็นจำนวนมาก ในเรื่องสั้น The Dreams in the Witch House (พ.ศ. 2476) ไนอาลาโธเทปปรากฏตัวในร่างของ บุรุษดำ ซึ่งเป็นปิศาจผิวดำในลัทธิแม่มดของนิวอิงแลนด์ และใน The Haunter of the Dark (พ.ศ. 2476) อสุรกายซึ่งเป็นเงามืดที่มีหนวดระยาง ปีกค้างคาว และดวงตาที่ลุกเป็นไฟสามดวง (three-lobed burning eye) ซึ่งอยู่ในวิหารแห่งลัทธิสตารีวิสดอมก็เป็นหนึ่งในร่างอวตารของไนอาลาโธเทป นักประพันธ์ในกลุ่มตำนานคธูลูยังได้เขียนถึงร่างอวตารของไนอาลาโธเทปอีกมากมายในภายหลัง เช่น.

ใหม่!!: เทพพิทักษ์จอมยุ่ง เนียลโกะและไนอาลาโธเทป · ดูเพิ่มเติม »

ไนท์กอนท์

นท์กอนท์ (Nightgaunt) เป็นอมนุษย์ในเรื่องชุดตำนานคธูลู ไนกอนท์ปรากฏตัวในบทกวี Night-Gaunts และนิยาย The Dream-Quest of Unknown Kadathของเอช. พี. เลิฟคราฟท์ โดยมีที่มาจากฝันร้ายในวัยเด็กของเลิฟคราฟท์เอง.

ใหม่!!: เทพพิทักษ์จอมยุ่ง เนียลโกะและไนท์กอนท์ · ดูเพิ่มเติม »

เกมออนไลน์

ผู้เล่นจำนวนมากตั้งร้านขายของในเกมแร็กนาร็อกออนไลน์ เกมออนไลน์ (online game) หมายถึง วิดีโอเกมที่เล่นบนเครือข่ายคอมพิวเตอร์ โดยเฉพาะบนอินเทอร์เน็ต เกมออนไลน์มีส่วนที่คล้ายคลึงกันคือมีผู้เล่น หลายผู้เล่นผ่านระบบอินเทอร์เน็ต (multiplayer) เกมออนไลน์ส่วนมากจะเป็นเกมแบบ MMO (massive multiplayer online) หรือก็คือเกมหลายผู้เล่นที่รับจำนวนผู้เล่นได้มหาศาลในพื้นที่ที่หนึ่ง (ตั้งแต่ 100 คนขึ้นไป).

ใหม่!!: เทพพิทักษ์จอมยุ่ง เนียลโกะและเกมออนไลน์ · ดูเพิ่มเติม »

เอะโระเก

อะโระเก เป็นคำภาษาญี่ปุ่นที่กร่อนมาจากคำ "เอะโระชิกกุเกมุ" (エロチックゲーム, erochikku gēmu) ซึ่งทับศัพท์จากภาษาอังกฤษว่า erotic game หมายถึง เกมวีดิทัศน์หรือเกมคอมพิวเตอร์ญี่ปุ่นที่ใช้ศิลปะแบบอะนิเมะ มีเนื้อหาลามกอนาจาร และแสดงการร่วมประเวณี เพื่อเร้ากามารมณ์เป็นสำคัญ เอะโระเกนั้นแตกแขนงมาจากเกมบิโชโจะ (bishōjo game) หรือเกมสาวน้อย แต่ต่างกันที่ตัวละครในเอะโระเกจะประกอบกิจกรรมทางเพศกันเสมอ เอะโระเกะมักดำเนินเรื่องแบบนิยายเสมือนจริง (visual novel) กล่าวคือ ตัวละครมีปฏิสัมพันธ์กัน เพื่อนำไปสู่กามกิจ โดยมีตัวเลือก หรือที่เรียก "ธง" (flag) ให้ผู้เล่นเกมร่วมแสดงเป็นตัวละคร และแม้กระทั่งจะสมสู่กับตัวละครอื่น ๆ ก็ได้ด้วย เมื่อเล่นเกมชนะผู้เล่นก็จะได้รางวัลต่าง ๆ เป็นต้น.

ใหม่!!: เทพพิทักษ์จอมยุ่ง เนียลโกะและเอะโระเก · ดูเพิ่มเติม »

เดอะคิงอินเยลโล

อะคิงอินเยลโล (The King in Yellow) หรือ ราชาอาภรณ์เหลืองเป็นหนังสือรวมเรื่องสั้นซึ่งประพันธ์โดยโรเบิร์ต ดับเบิลยู. แคมเบอร์สและเผยแพร่ในพ.ศ. 2438 งานประพันธ์ชุดนี้นับได้ว่าเป็นเรื่องแนวสยองขวัญยุคแรกๆแต่ก็มีลักษณะของเรื่องปรัมปรา แฟนตาซี, นิยายลึกลับ, นิยายวิทยาศาสตร์และนิยายโรมานซ์อยู่ด้วย ชื่อเดอะคิงอินเยลโลมาจากบทละครสมมุติซึ่งถูกกล่าวถึงในเรื่องสั้นสี่เรื่องแรก.

ใหม่!!: เทพพิทักษ์จอมยุ่ง เนียลโกะและเดอะคิงอินเยลโล · ดูเพิ่มเติม »

10 ธันวาคม

วันที่ 10 ธันวาคม เป็นวันที่ 344 ของปี (วันที่ 345 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 21 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: เทพพิทักษ์จอมยุ่ง เนียลโกะและ10 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

15 มีนาคม

วันที่ 15 มีนาคม เป็นวันที่ 74 ของปี (วันที่ 75 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 291 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: เทพพิทักษ์จอมยุ่ง เนียลโกะและ15 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

23 ตุลาคม

วันที่ 23 ตุลาคม เป็นวันที่ 296 ของปี (วันที่ 297 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 69 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: เทพพิทักษ์จอมยุ่ง เนียลโกะและ23 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

24 ธันวาคม

วันที่ 24 ธันวาคม เป็นวันที่ 358 ของปี (วันที่ 359 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 7 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: เทพพิทักษ์จอมยุ่ง เนียลโกะและ24 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

25 พฤษภาคม

วันที่ 25 พฤษภาคม เป็นวันที่ 145 ของปี (วันที่ 146 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 220 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: เทพพิทักษ์จอมยุ่ง เนียลโกะและ25 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

25 กุมภาพันธ์

วันที่ 25 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 56 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 309 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: เทพพิทักษ์จอมยุ่ง เนียลโกะและ25 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

25 มิถุนายน

วันที่ 25 มิถุนายน เป็นวันที่ 176 ของปี (วันที่ 177 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 189 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: เทพพิทักษ์จอมยุ่ง เนียลโกะและ25 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

30 มิถุนายน

วันที่ 30 มิถุนายน เป็นวันที่ 181 ของปี (วันที่ 182 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 184 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: เทพพิทักษ์จอมยุ่ง เนียลโกะและ30 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

8 เมษายน

วันที่ 8 เมษายน เป็นวันที่ 98 ของปี (วันที่ 99 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 267 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: เทพพิทักษ์จอมยุ่ง เนียลโกะและ8 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

9 เมษายน

วันที่ 9 เมษายน เป็นวันที่ 99 ของปี (วันที่ 100 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 266 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: เทพพิทักษ์จอมยุ่ง เนียลโกะและ9 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

ไฮโยเระ! เนียร์โกะซัง

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »