โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ไรชส์เวร์

ดัชนี ไรชส์เวร์

รชส์เวร์ (Reichswehr ความหมาย: "กองกำลังป้องกันประเทศ") เป็นชื่อเรียกกองกำลังป้องกันตนเองของเยอรมนีระหว่าง..

14 ความสัมพันธ์: กบฏโรงเบียร์กระทรวงไรชส์เวร์กองทัพบกจักรวรรดิเยอรมันกองทัพประชาชนแห่งชาติการปฏิวัติเยอรมัน ค.ศ. 1918-1919กางเขนเหล็กฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งสงครามโลกครั้งที่หนึ่งสนธิสัญญาแวร์ซายธงชาติเยอรมนีแวร์เนอร์ ฟอน ฟริทช์เบอร์ลินเพาล์ ฟอน ฮินเดนบูร์กเวร์มัคท์

กบฏโรงเบียร์

กบฏโรงเบียร์ ยังได้เป็นที่รู้จักกันคือ กบฏมิวนิก(Munich Putsch), และในเยอรมัน ได้ถูกเรียกว่า กบฏฮิตเลอร์(Hitlerputsch)หรือกบฏฮิตเลอร์-ลูเดนดอฟฟ์(Hitler-Ludendorff-Putsch) เป็นความพยายามก่อการปฏิวัติอันล้มเหลวโดยหัวหน้าพรรคนาซี อดอล์ฟ ฮิตเลอร์-พร้อมกับเจ้ากรมพลาธิการ (Generalquartiermeister) แอริช ลูเดินดอร์ฟ และผู้นำหัวหน้าคัมพฟ์บุนด์คนอื่น ๆ -เพื่อยึดอำนาจในมิวนิก บาวาเรีย ในช่วงระหว่างวันที่ 8-9 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: ไรชส์เวร์และกบฏโรงเบียร์ · ดูเพิ่มเติม »

กระทรวงไรชส์เวร์

ตราประทับตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงไรชส์เวร์ กระทรวงไรชส์เวร์ (Reichswehrministerium) คือชื่อเรียกกระทรวงป้องกันประเทศของประเทศเยอรมนีในช่วงสาธารณรัฐไวมาร์จนถึงนาซีเยอรมนี กระทรวงไรชส์เวร์ก่อตั้งขึ้นในเดือนตุลาคม 1919 ภายหลังเยอรมันพ่ายแพ้ในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง กระทรวงนี้มีหน้าที่บังคับบัญชากองกำลังป้องกันประเทศที่เรียกว่า "ไรชส์เวร์" อันเป็นกองกำลังป้องกันตนเองที่ไม่มีศักยภาพจะรุกรานประเทศอื่น กระทรวงไรชส์เวร์เปลี่ยนชื่อในเดือนพฤษภาคม 1935 เป็น กระทรวงการสงครามไรช์ (Reichskriegsministerium) ซึ่งทำหน้าที่ได้ไม่ถึงสามปี ก็ถูกฮิตเลอร์ยุบกระทรวงทิ้ง และถูกแทนที่ด้วยกองบัญชาการสูงสุดแห่งเวร์มัคท.

ใหม่!!: ไรชส์เวร์และกระทรวงไรชส์เวร์ · ดูเพิ่มเติม »

กองทัพบกจักรวรรดิเยอรมัน

กองทัพบกจักรวรรดิเยอรมัน (Deutsches Heer) เป็นกองทัพบกของจักรวรรดิเยอรมัน.

ใหม่!!: ไรชส์เวร์และกองทัพบกจักรวรรดิเยอรมัน · ดูเพิ่มเติม »

กองทัพประชาชนแห่งชาติ

กองทัพประชาชนแห่งชาติ (NPA) (German: Nationale Volksarmee – NVA) เป็นชื่อเรียกของกองทัพสาธารณรัฐประชาธิปไตยเยอรมนี มีกำลังทหารประมาณ 120,000 นาย กองทัพประชาชนแห่งชาติถูกสถาปนาในปี 1956 และถูกยุบในปี 1990 กองทัพมีส่วนในการบุกครองพร้อมกับกองทัพสหภาพโซเวียต ต่อรัฐบาลเชโกสโลวาเกียในช่วงปรากสปริง ในปี 1968 นอกจากนี้ยังมีการพบว่ามีเจ้าหน้าที่ทางทหารของเยอรมนีตะวันออกทำงานให้กับรัฐบาลคอมมิวนิสต์ในแอฟริกาในช่วงสงครามเย็น.

ใหม่!!: ไรชส์เวร์และกองทัพประชาชนแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

การปฏิวัติเยอรมัน ค.ศ. 1918-1919

การปฏิวัติเดือนพฤศจิกายน (Novemberrevolution) หรือ การปฏิวัติเยอรมัน..

ใหม่!!: ไรชส์เวร์และการปฏิวัติเยอรมัน ค.ศ. 1918-1919 · ดูเพิ่มเติม »

กางเขนเหล็ก

กางเขนเหล็กแบบมาตรฐาน รูปหล่อทูตสวรรค์บนรถม้าชูคทามีตรากางเขนเหล็กเหนือประตูบรันเดินบวร์คในกรุงเบอร์ลิน กางเขนเหล็ก (Eisernes Kreuz, ไอเซอร์เนส ครอยซ์) เป็นเครื่องหมายทางทหารที่เกิดขึ้นในสมัยราชอาณาจักรปรัสเซีย ซึ่งใช้เรื่อยมาในยุคจักรวรรดิเยอรมัน (ค.ศ. 1871–1918) และนาซีเยอรมนี (ค.ศ. 1933–1945) เครื่องหมายนี้เมื่อแรกเริ่มถูกสถาปนาขึ้นเป็นเหรียญอิสริยาภรณ์โดยพระเจ้าฟรีดริช วิลเฮล์มที่ 3 แห่งปรัสเซีย ในเดือนมีนาคม..

ใหม่!!: ไรชส์เวร์และกางเขนเหล็ก · ดูเพิ่มเติม »

ฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง

แผนที่โลกแสดงฝ่ายต่าง ๆ ของผู้เข้าร่วมในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง สีเขียวคือฝ่ายสัมพันธมิตร สีส้มคือฝ่ายมหาอำนาจกลาง และสีเทาคือประเทศที่เป็นกลาง พันธมิตรทางทหารในทวีปยุโรปก่อนเกิดสงคราม ฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (Forces de l'Entente / Alliés; Alleati; Союзники, Soyuzniki) เป็นประเทศที่ทำสงครามกับฝ่ายมหาอำนาจกลางระหว่างสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง สมาชิกของข้อตกลงไตรภาคีได้แก่ สาธารณรัฐฝรั่งเศส จักรวรรดิอังกฤษ และจักรวรรดิรัสเซีย ต่อมา อิตาลีเข้าสู่สงครามโดยอยู่ฝ่ายไตรภาคีในปี 1915 ส่วนญี่ปุ่น เบลเยียม เซอร์เบีย กรีซ มอนเตเนโกร โรมาเนีย และ ลีเจียนเชกโกสโลวาเกีย เป็นสมาชิกรองของข้อตกลง.

ใหม่!!: ไรชส์เวร์และฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง · ดูเพิ่มเติม »

สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง

งครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World War I หรือ First World War) หรือที่มักเรียกว่า "สงครามโลก" หรือ "มหาสงคราม" (Great War) ก่อน..

ใหม่!!: ไรชส์เวร์และสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง · ดูเพิ่มเติม »

สนธิสัญญาแวร์ซาย

''The Signing of the Peace Treaty of Versailles'' สนธิสัญญาแวร์ซาย (Treaty of Versailles) เป็นสนธิสัญญาสันติภาพที่จัดทำขึ้นเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ. 1919 ณ พระราชวังแวร์ซาย ประเทศฝรั่งเศส ซึ่งเป็นการยุติสถานะสงครามระหว่างฝ่ายสัมพันธมิตรและจักรวรรดิเยอรมัน ซึ่งเป็นฝ่ายพ่ายแพ้ในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ส่วนกลุ่มประเทศฝ่ายมหาอำนาจกลางอื่น ๆ ได้มีการตกลงยกเลิกสถานภาพสงครามด้วยสนธิสัญญาฉบับอื่น แม้จะได้มีการลงนามสงบศึกตั้งแต่วันที่ 11 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: ไรชส์เวร์และสนธิสัญญาแวร์ซาย · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติเยอรมนี

งชาติเยอรมนี มีลักษณะเป็นธงสามสีรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ขนาดกว้าง 3 ส่วน ยาว 5 ส่วน แบ่งเป็นแถบสี 3 แถบ ตามแนวนอน คือ สีดำ สีแดง และสีทอง มีชื่อเรียกในภาษาเยอรมันว่า "Schwarz-Rot-Gold" แปลว่า ธงดำ-แดง-ทอง ตามสีของธง.

ใหม่!!: ไรชส์เวร์และธงชาติเยอรมนี · ดูเพิ่มเติม »

แวร์เนอร์ ฟอน ฟริทช์

ลเอก โทมัส ลุดวิจ แวร์เนอร์, ไฟร์แฮร์ ฟอน ฟริทช์(Thomas Ludwig Werner, Freiherr von Fritsch) เป็นผู้บัญชาการทหารสูงสุดแห่งกองทัพเยอรมัน ตั้งแต่ ปี..

ใหม่!!: ไรชส์เวร์และแวร์เนอร์ ฟอน ฟริทช์ · ดูเพิ่มเติม »

เบอร์ลิน

อร์ลิน (แบร์ลีน) เป็นเมืองหลวงและรัฐหนึ่งในสิบหกรัฐสหพันธ์ของประเทศเยอรมนี มีประชากร 3.4 ล้านคนในเขตเมือง มากที่สุดในเยอรมนี และมากเป็นอันดับสองในสหภาพยุโรป เป็นศูนย์กลางของเขตนครหลวงเบอร์ลิน-บรานเดนบูร์ก ทางตะวันออกเฉียงเหนือของเยอรมนี มีประชากรในเขตนครหลวงรวม 1คนจาก 1ชาติ มากเป็นอันดับเก้าในสหภาพยุโรป, Eurostat.

ใหม่!!: ไรชส์เวร์และเบอร์ลิน · ดูเพิ่มเติม »

เพาล์ ฟอน ฮินเดนบูร์ก

ล์ ลุดวิก ฮันส์ อันโทน ฟอน เบเนกเคินดอร์ฟ อุนด์ ฟอน ฮินเดนบูร์ก (Paul Ludwig Hans Anton von Beneckendorff und von Hindenburg) รู้จักกันทั่วไปว่า เพาล์ ฟอน ฮินเดนบูร์ก (2 ตุลาคม 1847 – 2 สิงหาคม 1934) เป็นจอมพล รัฐบุรุษและนักการเมืองชาวปรัสเซีย-เยอรมัน และเป็นประธานาธิบดีเยอรมนีคนที่สองตั้งแต่ปี 1925 ถึง 1934.

ใหม่!!: ไรชส์เวร์และเพาล์ ฟอน ฮินเดนบูร์ก · ดูเพิ่มเติม »

เวร์มัคท์

วร์มัคท์ (Wehrmacht ความหมาย:"กำลังป้องกัน") เป็นกองทัพของนาซีเยอรมนีระหว่าง..

ใหม่!!: ไรชส์เวร์และเวร์มัคท์ · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

ไรช์สเวร์ไรช์ซเวร์

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »