สารบัญ
7 ความสัมพันธ์: ลินุกซ์วิชวลโนเวลวิดีโอเกมผู้เล่นคนเดียวสตีม (ซอฟต์แวร์)จิตวิทยาไมโครซอฟท์ วินโดวส์เรน'ไพ
- วิชวลโนเวล
- วิดีโอเกมที่มีฉากในประเทศญี่ปุ่น
- วิดีโอเกมที่ออกวางจำหน่ายในปี พ.ศ. 2560
- วิดีโอเกมมีม
- เกมสำหรับเพลย์สเตชัน 5
- เกมสำหรับเอกซ์บอกซ์ซีรีส์เอกซ์และซีรีส์เอส
ลินุกซ์
ลินุกซ์ (Linux) และรู้จักในชื่อ กะนู/ลินุกซ์ (GNU/Linux) โดยทั่วไปเป็นคำที่ใช้ในความหมายที่หมายถึงระบบปฏิบัติการแบบยูนิกซ์ โดยใช้ลินุกซ์ เคอร์เนล เป็นศูนย์กลางทำงานร่วมกับไลบรารีและเครื่องมืออื่น ลินุกซ์เป็นตัวอย่างหนึ่งในฐานะซอฟต์แวร์เสรี และซอฟต์แวร์โอเพนซอร์สที่ประสบความสำเร็จและมีชื่อเสียง ทุกคนสามารถดูหรือนำโค้ดของลินุกซ์ไปใช้งาน, แก้ไข, และแจกจ่ายได้อย่างเสรี ลินุกซ์นิยมจำหน่ายหรือแจกฟรีในลักษณะเป็นแพคเกจ โดยผู้จัดทำจะรวมซอฟต์แวร์สำหรับใช้งานในด้านอื่นเป็นชุดเข้าด้วยกัน เริ่มแรกของของลินุกซ์พัฒนาและใช้งานในเฉพาะกลุ่มผู้ที่สนใจ ซึ่งในปัจจุบันลินุกซ์ได้รับความนิยมเนื่องมาจากระบบการทำงานที่เป็นอิสระ ปลอดภัย เชื่อถือได้ และราคาต่ำ จึงได้มีการพัฒนาจากองค์กรต่าง ๆ เช่น ไอบีเอ็ม ฮิวเลตต์-แพคการ์ด และโนเวลล์ ใช้สำหรับในระบบเซิร์ฟเวอร์และพีซี เริ่มแรกลินุกซ์พัฒนาสำหรับใช้กับเครื่อง อินเทล 386 ไมโครโพรเซสเซอร์ หลังจากที่ได้รับความนิยมปัจจุบัน ลินุกซ์ได้พัฒนารับรองการใช้งานของระบบสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ในระบบต่าง ๆ รวมถึงในโทรศัพท์มือถือ และกล้องวิดีโอ ลินุกซ์มีสัญญาอนุญาตแบบ GPL ซึ่งเป็นสัญญาอนุญาตที่กำหนดให้ผู้ที่นำโค้ดไปใช้ต้องใช้สัญญาอนุญาตแบบเดิมต่อคือใช้สัญญาอนุญาต GPL เช่นเดียวกัน ซึ่งลักษณะสัญญาอนุญาตแบบนี้เรียกว่า copyleft.
ดู โดกิ โดกิ ลิเทอเรเจอร์ คลับ!และลินุกซ์
วิชวลโนเวล
วิชวลโนเวล เป็นประเภทของวิดีโอเกมที่มีจุดเด่นที่กราฟิก ซึ่งมักจะเป็นภาพแบบการ์ตูนญี่ปุ่น เนื้อหาของเกมเป็นแบบอินเตอแรกทีฟ คือเป็นการดำเนินเรื่องโต้ตอบกับตัวละครต่าง ๆ.
ดู โดกิ โดกิ ลิเทอเรเจอร์ คลับ!และวิชวลโนเวล
วิดีโอเกมผู้เล่นคนเดียว
วิดีโอเกมผู้เล่นคนเดียว (Single-player video game) หรือ โหมดผู้เล่นคนเดียว คือโหมดการเล่นมาตรฐานแบบหนึ่งของเกมคอมพิวเตอร์แบบออฟไลน์ทั่วไป ซึ่งตัวเกมจะรองรับให้ผู้เล่นคนเดียวดำเนินบทบาทตามเนื้อเรื่องจนจบ คำว่า "เกมผู้เล่นคนเดียว" มักจะหมายถึง เกมที่สามารถเล่นได้เพียงคนเดียว ในขณะที่ "โหมดผู้เล่นคนเดียว" หมายถึง ผู้เล่นสามารถปรับเลือกที่จะเล่นโหมดหลายผู้เล่นได้ เกมคอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่ในยุคเริ่มต้นมักจะเป็นเกมผู้เล่นคนเดียว ขณะที่เกมสองผู้เล่นได้ปรากฏขึ้นพร้อมกับคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล และในปี ค.ศ.
ดู โดกิ โดกิ ลิเทอเรเจอร์ คลับ!และวิดีโอเกมผู้เล่นคนเดียว
สตีม (ซอฟต์แวร์)
ตีม (Steam) เป็นซอฟต์แวร์จำหน่ายดิจิทัลพัฒนาโดยวาล์วคอร์ปอเรชัน ที่เสนอมีการจัดการสิทธิดิจิทัล วิดีโอเกมหลายผู้เล่น และเครือข่ายสังคม สตีมจัดหาตัวติดตั้งและตัวอัปเดตเกมอัตโนมัติให้ในคอมพิวเตอร์หลายเครื่อง และคุณสมบัติชุมชน เช่น รายชื่อเพื่อนและกลุ่ม การเก็บข้อมูลในคลาวด์ และระบบเสียงพูดในเกมและห้องแชต ซอฟต์แวร์ยังจัดหาเอพีไอ ที่เรียกว่า สตีมเวิกส์ (Steamworks) ซึ่งนักพัฒนาสามารถรวมการทำงานของสตีมไว้ในผลิตภัณฑ์ของตน เช่น ระบบเครือข่าย และระบบแม่สื่อ เป้าหมายในเกม ไมโครเพย์เมนต์ และระบบสนับสนุนสำหรับเนื้อหาที่ผู้ใช้สร้างขึ้นด้วยสตีมเวิร์กช็อป แม้ว่าเดิมจะพัฒนาให้ใช้บนระบบปฏิบัติการไมโครซอฟท์ วินโดวส์ รุ่นสำหรับโอเอสเทน และลินุกซ์ ก็ออกจำหน่ายในเวลาต่อมา การแชตและการซื้อของผ่านแอปพลิเคชันบนอุปกรณ์มือถือระบบปฏิบัติการไอโอเอส และแอนดรอยด์ เว็บไซต์สตีมทำจำลองหน้าร้านค้า และคุณสมบัติเครือข่ายสังคมต่าง ๆ ของแอปพลิเคชันอิสระ นับถึงเดือนกันยายน..
ดู โดกิ โดกิ ลิเทอเรเจอร์ คลับ!และสตีม (ซอฟต์แวร์)
จิตวิทยา
ตวิทยา (psychology) คือ ศาสตร์ที่ว่าด้วยการศึกษาเกี่ยวกับจิตใจ (กระบวนการของจิต), กระบวนความคิด, และพฤติกรรม ของมนุษย์ด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เนื้อหาที่นักจิตวิทยาศึกษาเช่น การรับรู้ (กระบวนการรับข้อมูลของมนุษย์), อารมณ์, บุคลิกภาพ, พฤติกรรม, และรูปแบบความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล จิตวิทยายังมีความหมายรวมไปถึงการประยุกต์ใช้ความรู้กับกิจกรรมในด้านต่าง ๆ ของมนุษย์ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจำวัน (เช่นกิจกรรมที่เกิดขึ้นในครอบครัว, ระบบการศึกษา, การจ้างงานเป็นต้น) และยังรวมถึงการใช้ความรู้ทางจิตวิทยาสำหรับการรักษาปัญหาสุขภาพจิต นักจิตวิทยามีความพยายามที่จะศึกษาทำความเข้าใจถึงหน้าที่หรือจุดประสงค์ต่าง ๆ ของพฤติกรรมที่เกิดขึ้นจากตัวบุคคลและพฤติกรรมที่เกิดขึ้นในสังคม ขณะเดียวกันก็ทำการศึกษาขั้นตอนของระบบประสาทซึ่งมีผลต่อการควบคุมและแสดงออกของพฤติกรรม.
ดู โดกิ โดกิ ลิเทอเรเจอร์ คลับ!และจิตวิทยา
ไมโครซอฟท์ วินโดวส์
มโครซอฟท์ วินโดวส์ (Microsoft Windows) เป็นระบบปฏิบัติการ ซึ่งพัฒนาโดยบริษัทไมโครซอฟท์ เปิดตัวเมื่อปี พ.ศ. 2528 (ค.ศ. 1985 โดยรุ่นแรกของวินโดวส์ คือ วินโดวส์ 1.0) และครองความนิยมในตลาดคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล มากกว่า 90% ของการใช้งานทั่วโลก รายละเอียดโดยสังเขปของวินโดวส์รุ่นต่างๆ เรียงตามลำดับการเปิดตัว เป็นดังนี้.
ดู โดกิ โดกิ ลิเทอเรเจอร์ คลับ!และไมโครซอฟท์ วินโดวส์
เรน'ไพ
รน'ไพ (Ren'Py) เป็นซอฟต์แวร์โอเพนซอร์ซสำหรับใช้สร้างวิดีโอเกมแนววิชวลโนเวล เรน'ไพเขียนด้วยภาษาไพทอนซึ่งผู้ใช้ที่มีความรู้จะสามารถเขียนเพิ่มการใช้งานเองได้ เรน'ไพสามารถใช้งานได้กับไมโครซอฟท์ วินโดวส์ เวอร์ชันใหม่ ๆ ของแมคโอเอสเท็นและลินุกซ์ นอกจากนี้ยังเป็นส่วนหนึ่งของชุดซอฟต์แวร์อูบุนตูและเดเบียน.
ดู โดกิ โดกิ ลิเทอเรเจอร์ คลับ!และเรน'ไพ
ดูเพิ่มเติม
วิชวลโนเวล
- Ef: A Fairy Tale of the Two.
- REC ปิ๊งรักสาวนักพากย์
- การเดินทางของคิโนะ
- ความลับในใจของคุณหนูไอดอล
- คาน่อน
- คาโนค่อน จิ้งจอกสาวสุดจี๊ด
- ชัฟเฟิล!
- ชานะ นักรบเนตรอัคคี
- ซากุระโซว หอพักสร้างฝัน
- ซิสเตอร์ปรินเซส
- ดอกไม้ มิตรภาพ และความทรงจำ
- ดา คาโปะ
- น้องสาวของผมไม่น่ารักขนาดนั้นหรอก
- ปกรณัมของเหล่าภูต
- ปฏิวัติหัตถ์ราชัน
- ผมน่ะหรือคือราชาปีศาจ!
- พริ้นเซส พริ้นเซส
- มหาสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์
- มาโฮสึไค โนะ โยรุ
- ยอดขี้ข้า ไอ้หน้าแมว
- รักลวงป่วนใจ
- รีไรต์
- ลิตเติลบัสเตอส์!
- วิชวลโนเวล
- สตรอเบอรี่ พานิค!
- อสูรรับใช้ของยาย 0 สนิท
- เทพพิทักษ์จอมยุ่ง เนียลโกะ
- แอร์ (วิชวลโนเวล)
- โค้ด กีอัส
- โซะ ระ โนะ โวะ โตะ
- โดกิ โดกิ ลิเทอเรเจอร์ คลับ!
- โทระโดระ! ยายเสือใสกับนายหน้าโหด
- โรงเรียนเฮฟเว่น (การ์ตูน)
- โรซาริโอ้ บวก แวมไพร์
- ไซเลนต์ฮิลล์ (วิดีโอเกม)
วิดีโอเกมที่มีฉากในประเทศญี่ปุ่น
- คอมมานด์ & คองเคอร์: เรดอเลิร์ท 3
- คอลล์ออฟดิวตี: แบล็กออฟส์ 4
- ซามูไรสปิริตส์
- ซามูไรโชดาวน์ VI
- ทัตสึโนโกะ vs. แคปคอม: อัลติเมตออล-สตาร์ส
- ทูมเรเดอร์ (วิดีโอเกม พ.ศ. 2556)
- มาร์เวล vs. แคปคอม 3: เฟทออฟทูเวิลด์
- ยันเดเระ ซิมูเลเตอร์
- ร็อคแมน 6 การต่อสู้ครั้งยิ่งใหญ่ในประวัติศาสตร์!!
- ร็อคแมน 8 เมทัลฮีโร่ส์
- ร็อคแมน X7
- อัลติเมตมาร์เวล vs. แคปคอม 3
- อีลีตบีตเอเจินส์
- เทคเคน 6
- เทคเคน 7
- เทคเคน แท็กทัวร์นาเมนท์ 2
- เพอร์โซนา 3
- เพอร์โซนา 4
- เฟทัลเฟรม
- แคปคอม vs. เอสเอ็นเค 2
- โซลเอดจ์
- โดกิ โดกิ ลิเทอเรเจอร์ คลับ!
- โมเอโระ! เนคเคทสึริธึมดามาชี่ โอ๊ทส์! ทาทาคาเอะ! โอเอนดัน 2
- โอเวอร์วอตช์
- โอ๊ทส์! ทาทาคาเอะ! โอเอนดัน
วิดีโอเกมที่ออกวางจำหน่ายในปี พ.ศ. 2560
- คอลล์ออฟดิวตี: เวิลด์วอร์ 2
- จัสแดนซ์ 2018
- ดราก้อนเควสต์ XI
- ดับเบิลดรากอน IV
- ดับเบิลยูดับเบิลยูอี 2K18
- นีดฟอร์สปีด: เพย์แบ็ก
- ลิตเทิลวิตช์แอคาดีเมีย: เชมเบอร์ออฟไทม์
- สไนเปอร์อีลีต 4
- สไลม์ แรนเชอร์
- อัสแซสซินส์ครีด ออริจินส์
- ฮอไรซันซีโรดอว์น
- เพลเยอร์อันโนนส์แบตเทิลกราวดส์
- เรซิเดนต์อีวิล 7: ไบโอฮาซาร์ด
- โซนิคฟอร์ซ
- โดกิ โดกิ ลิเทอเรเจอร์ คลับ!
วิดีโอเกมมีม
- นัคเคิลส์ ดิอีคิดนา
- โดกิ โดกิ ลิเทอเรเจอร์ คลับ!
เกมสำหรับเพลย์สเตชัน 5
- อันชาร์ทิด 4: อะทีฟส์เอนด์
- อันทิลดอว์น
- เคอร์บัลสเปซโปรแกรม
- เรซิเดนต์อีวิล 7: ไบโอฮาซาร์ด
- เวิลด์ออฟวอร์ชิพส์
- แกรนด์เธฟต์ออโต V
- แอลัน เวก
- โดกิ โดกิ ลิเทอเรเจอร์ คลับ!
- ไครซิสคอร์: ไฟนอลแฟนตาซี VII
- ไฟนอลแฟนตาซี VII รีเมค
- ไฟนอลแฟนตาซี XIV
เกมสำหรับเอกซ์บอกซ์ซีรีส์เอกซ์และซีรีส์เอส
- เคอร์บัลสเปซโปรแกรม
- เพอร์โซนา 3
- เพอร์โซนา 4
- เรซิเดนต์อีวิล 7: ไบโอฮาซาร์ด
- เวิลด์ออฟวอร์ชิพส์
- แกรนด์เธฟต์ออโต V
- แอลัน เวก
- โดกิ โดกิ ลิเทอเรเจอร์ คลับ!
- ไครซิสคอร์: ไฟนอลแฟนตาซี VII
- ไฟนอลแฟนตาซี XIV
หรือที่รู้จักกันในชื่อ Doki Doki Literature Club!