เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

แม่น้ำเฮลมันด์

ดัชนี แม่น้ำเฮลมันด์

แผนที่ลุ่มน้ำเฮลมันด์ แม่น้ำเฮลมันด์ (Helmand River; هیرمند, هلمند;Hīrmand, Helmand, Erymandrus) เป็นแม่น้ำที่อยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศอัฟกานิสถาน และเป็นแม่น้ำที่ยาวที่สุดในอัฟกานิสถานและเป็รที่ราบลุ่มแม่น้าสายหลักด้วย แม่น้ำนี้มีชื่อเดิมในภาษาอเวสตะและภาษาเปอร์เซียโบราณว่า Haetumant (หมายถึงเขื่อนที่เต็ม) มีความยาวทั้งหมด 1,150 กิโลเมตร (715 ไมล์)มีต้นกำเนิดจากเทือกเขาบาบา ที่อยู่ทางตะวันออกของกรุงคาบูลไปราว 80 กิโลเมตร() ไหลผ่านตอนเหนือของทะเลทรายเรกีสถาน เข้าสู่ทะเลทรายมาร์โก แล้วลงสู่ทะเลสาบน้ำเค็มซิสตานที่อยู่ระหว่างชายแดนของอัฟกานิสถานกับอิหร่าน() แม่น้ำสายนี้ยังคงเป็นน้ำจืดตลอดความยาวส่วนใหญ่ ซึ่งต่างจากแม่น้ำที่ไม่มีทางออกทะเลอื่นๆ แม่น้ำนี้ส่วนใหญ่ใช้เพื่อการชลประทาน แม้จะมีเกลือแร่เจือปนอยู่มาก น้ำนี้มีความจำเป็นสำหรับเกษกรในอัฟกานิสถาน และอิหร่านในบริเวณใกล้เคียงกับทะเลสาบซิสตาน เขื่อนที่สร้างบนแม่น้ำสายนี้ได้แก่เขื่อนกายาไกในอัฟกานิสถาน สาขาหลักของแม่น้ำสายนี้คือ แม่น้ำอาร์ฆันดับ)ซึ่งมีเขื่อนบนแม่น้ำสายนี้ที่กันดะฮาร์ ขอบเขตของแม่น้ำเฮลมันด์เป็นที่รู้จักในชื่ออาณาจักรแห่งซิสตาน.

สารบัญ

  1. 7 ความสัมพันธ์: กันดะฮาร์ภาษาอเวสตะภาษาเปอร์เซียโบราณมหาวิทยาลัยโคลัมเบียจังหวัดคาบูลประเทศอัฟกานิสถานประเทศอิหร่าน

  2. แม่น้ำนานาชาติในทวีปเอเชีย
  3. แม่น้ำในประเทศอัฟกานิสถาน

กันดะฮาร์

กันดะฮาร์ (Kandahar; کندهار) เป็นเมืองที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 2 ของอัฟกานิสถาน รองจากกรุงคาบูล ข้อมูลประชากรปี 2011 ทั้งหมด 512,200 คน ตั้งอยู่ในจังหวัดกันดะฮาร์ สูง 1,005 เมตรจากระดับน้ำทะเล แม่น้ำที่สำคัญได้แก่ แม่น้ำอาร์กันดั.

ดู แม่น้ำเฮลมันด์และกันดะฮาร์

ภาษาอเวสตะ

ษาอเวสตะ (Avestan language) เป็นภาษาที่เก่าแก่ที่สุดของชาวอิหร่านโบราณ มีอายุไล่เลี่ยกับ ภาษาพระเวท หรือ ภาษาไวทิกะ ซึ่งเป็นภาษาบันทึกคัมภีร์พระเวทของฝ่ายอินเดีย ภาษาอเวสตะเป็นภาษาที่บันทึกความเชื่อทางศาสนาของคนอิหร่านโบราณที่เก่าแก่ที่สุดของชาตินี้ ใช้ในบทสวดมนต์ของศาสนาโซโรอัสเตอร์ ภาษาอเวสตะจัดอยู่ในตระกูลภาษาอินเดีย-ยุโรป สาขาย่อยอินเดีย-อิหร่าน (อินโด-อิเรเนียน)เป็นภาษากลุ่มอิหร่านที่เก่าสุดเท่าที่มีหลักฐาน เช่นเดียวกับภาษาเปอร์เซียโบราณ เขียนด้วยอักษรอเวสตะ ภาษานี้แบ่งได้เป็นสองกลุ่มคือ.

ดู แม่น้ำเฮลมันด์และภาษาอเวสตะ

ภาษาเปอร์เซียโบราณ

ร่างของคอลัมน์แรกของจารึกเบอิสตุน ภาษาเปอร์เซียโบราณ (Old Persian) เป็นภาษาในจารึกซึ่งค้นพบในบริเวณที่ตั้งของประเทศอิหร่านในปัจจุบัน มีอายุราว 600-500 กว่าปีก่อนคริสตกาล ภาษานี้มีอายุไล่เลี่ยกับภาษาบาลีในอินเดีย และมีลักษณะโครงสร้างทางภาษาที่คล้ายกันมาก เปอร์เซียโบราณเป็นภาษาของชาวอิหร่านที่พัฒนาขึ้นในสมัยกลาง วิวัฒนาการมาจากภาษาอเวสตะซึ่งเป็นภาษาที่เก่าแก่ที่สุดของชาวอิหร่านโบราณ.

ดู แม่น้ำเฮลมันด์และภาษาเปอร์เซียโบราณ

มหาวิทยาลัยโคลัมเบีย

Alma Mater มหาวิทยาลัยโคลัมเบีย (Columbia University in the City of New York) เป็นหนึ่งในมหาวิทยาลัยในกลุ่มไอวีลีก ได้ขึ้นชื่อว่าเป็นหนึ่งในมหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงของโลกแห่งหนึ่ง เป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกของนครนิวยอร์กและเก่าแก่ที่สุดอันดับที่ห้าของสหรัฐอเมริกา ตั้งอยู่ที่นิวยอร์กซิตี ในรัฐนิวยอร์กในส่วนของชุมชนมอร์นิงไซด์บริเวณส่วนเหนือของเกาะแมนแฮตตัน ก่อตั้งก่อนการประกาศอิสรภาพของประเทศในปี พ.ศ.

ดู แม่น้ำเฮลมันด์และมหาวิทยาลัยโคลัมเบีย

จังหวัดคาบูล

ทิวทัศน์ของกรุงคาบูล จังหวัดคาบูล (ภาษาเปอร์เซีย: کابل, ภาษาอังกฤษเคยสะกดว่า: Caubul ปัจจุบันใช้ Kabul) เป็นเมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดของประเทศอัฟกานิสถาน อยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือ ริมฝั่งแม่น้ำคาบูล เป็นเมืองที่เป็นศูนย์กลางการค้าขายในเอเชียกลางมาหลายศตวรรษ คาบูล ar:كابول bo:ཀ་བུར tr:Kabil, Afganistan.

ดู แม่น้ำเฮลมันด์และจังหวัดคาบูล

ประเทศอัฟกานิสถาน

อัฟกานิสถาน (Afghanistan; افغانستان) เป็นประเทศในภูมิภาคเอเชียใต้ มีอาณาเขตทางทิศตะวันตกจรดประเทศอิหร่าน ทางทิศใต้และตะวันออกติดปากีสถาน ทางทิศเหนือติดเติร์กเมนิสถาน อุซเบกิสถาน และทาจิกิสถาน ส่วนทางทิศตะวันออกสุดติดประเทศจีน อัฟกานิสถานเป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล ระหว่างการล้มตอลิบานโดยการรุกรานอัฟกานิสถานของสหรัฐอเมริกา และความสำเร็จของโลยา จีร์กา ในปี พ.ศ.

ดู แม่น้ำเฮลมันด์และประเทศอัฟกานิสถาน

ประเทศอิหร่าน

อิหร่าน (ایران, อีรอน) หรือ เปอร์เซีย มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐอิสลามอิหร่าน (جمهوری اسلامی ايران) เป็นประเทศในเอเชียตะวันตก มีเขตแดนติดกับประเทศอาร์มีเนีย สาธารณรัฐนากอร์โน-คาราบัคโดยพฤตินัย และอาเซอร์ไบจานทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ติดประเทศคาซัคสถานและรัสเซียโดยมีทะเลแคสเปียนคั่น ติดประเทศเติร์กเมนิสถานทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ติดประเทศอัฟกานิสถานและปากีสถานทางทิศตะวันออก ติดอ่าวเปอร์เซียและอ่าวโอมานทางทิศใต้ และติดประเทศตุรกีและอิรักทางทิศตะวันตก มีพื้นที่ดินแดน 1,648,195 ตารางกิโลเมตร เป็นประเทศใหญ่ที่สุดอันดับที่สองในตะวันออกกลางและอันดับที่ 18 ในโลก มีประชากร 78.4 ล้านคน มากที่สุดเป็นอันดับที่ 17 ของโลก เป็นประเทศเดียวที่มีชายฝั่งทะเลแคสเปียนและมหาสมุทรอินเดีย ประเทศอิหร่านมีความสำคัญทางภูมิรัฐศาสตร์มาช้านานเนื่องจากที่ตั้งอยู่ในกลางยูเรเชียและเอเชียตะวันตก และอยู่ใกล้กับช่องแคบฮอร์มุซ อิหร่านเป็นประเทศที่มีวัฒนธรรมหลากหลายที่มีกลุ่มชาติพันธุ์และภาษาต่างๆมากมาย เปอร์เซียที่ใหญ่ที่สุด (61%) อาเซอร์ไบจาน (16%), Kurds (10%) และ Lorestan (6%) ประเทศอิหร่านเป็นที่ตั้งของอารยธรรมเก่าแก่ที่สุดแห่งหนึ่งของโลก เริ่มต้นด้วยการตั้งราชอาณาจักรก่อนเอลามและเอลามใน 3200–2800 ปีก่อน..

ดู แม่น้ำเฮลมันด์และประเทศอิหร่าน

ดูเพิ่มเติม

แม่น้ำนานาชาติในทวีปเอเชีย

แม่น้ำในประเทศอัฟกานิสถาน

หรือที่รู้จักกันในชื่อ แม่น้ำเฮลมาน