โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

รายนามแม่ทัพภาคที่ 4

ดัชนี รายนามแม่ทัพภาคที่ 4

กองทัพภาคที่ 4 (ทภ.4) ของกองทัพบกไทย รับผิดชอบพื้นที่ภาคใต้ทั้งหมด ตั้งกองบัญชาการที่ค่ายวชิราวุธ ตำบลปากพูน อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช และมีศูนย์บัญชาการส่วนหน้าอยู่ที่ค่ายอิงคยุทธบริหาร ตำบลบ่อทอง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี เพื่อดูแลความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยโดยเฉ.

56 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2519พ.ศ. 2522พ.ศ. 2524พ.ศ. 2526พ.ศ. 2529พ.ศ. 2532พ.ศ. 2534พ.ศ. 2537พ.ศ. 2539พ.ศ. 2542พ.ศ. 2544พ.ศ. 2546พ.ศ. 2547พ.ศ. 2548พ.ศ. 2549พ.ศ. 2551พ.ศ. 2553พ.ศ. 2556พ.ศ. 2557พ.ศ. 2558พ.ศ. 2559พระมหากษัตริย์ไทยพิเชษฐ์ วิสัยจรกองทัพบกไทยกิตติ รัตนฉายาภาคใต้ (ประเทศไทย)รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยรายนามแม่ทัพภาคที่ 1รายนามแม่ทัพภาคที่ 2รายนามแม่ทัพภาคที่ 3รายนามแม่ทัพภาคที่ 4วลิต โรจนภักดีวิวรรธน์ ปฐมภาคย์หาญ ลีนานนท์อำเภอยะรังอำเภอหาดใหญ่อำเภอหนองจิกอำเภอทุ่งสงอำเภอคลองหอยโข่งจังหวัดชุมพรจังหวัดสุราษฎร์ธานีจังหวัดสงขลาจังหวัดปัตตานีจังหวัดนครศรีธรรมราชทรงกิตติ จักกาบาตร์ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยปราการ ชลยุทธ1 ตุลาคม1 เมษายน10 ธันวาคม...11 ธันวาคม18 มกราคม2 เมษายน30 กันยายน30 ตุลาคม31 มีนาคม ขยายดัชนี (6 มากกว่า) »

พ.ศ. 2519

ทธศักราช 2519 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1976 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รายนามแม่ทัพภาคที่ 4และพ.ศ. 2519 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2522

ทธศักราช 2522 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1979 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รายนามแม่ทัพภาคที่ 4และพ.ศ. 2522 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2524

ทธศักราช 2524 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1981 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รายนามแม่ทัพภาคที่ 4และพ.ศ. 2524 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2526

ทธศักราช 2526 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1983 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รายนามแม่ทัพภาคที่ 4และพ.ศ. 2526 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2529

ทธศักราช 2529 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1986 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รายนามแม่ทัพภาคที่ 4และพ.ศ. 2529 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2532

ทธศักราช 2532 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1989 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รายนามแม่ทัพภาคที่ 4และพ.ศ. 2532 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2534

ทธศักราช 2534 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1991 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รายนามแม่ทัพภาคที่ 4และพ.ศ. 2534 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2537

ทธศักราช 2537 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1994 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รายนามแม่ทัพภาคที่ 4และพ.ศ. 2537 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2539

ทธศักราช 2539 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1996 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รายนามแม่ทัพภาคที่ 4และพ.ศ. 2539 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2542

ทธศักราช 2542 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1999 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน และสหประชาชาติกำหนดให้เป็น ปีสากลแห่งผู้สูงอายุและเป็นปีมหามงคลในโอกาสที่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระชนมพรรษาครบ 6 รอบ (พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนม์พรรรษา ๖ รอบ ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๒).

ใหม่!!: รายนามแม่ทัพภาคที่ 4และพ.ศ. 2542 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2544

ทธศักราช 2544 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2001 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รายนามแม่ทัพภาคที่ 4และพ.ศ. 2544 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2546

ทธศักราช 2546 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2003 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน และกำหนดให้เป็น.

ใหม่!!: รายนามแม่ทัพภาคที่ 4และพ.ศ. 2546 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2547

ทธศักราช 2547 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2004 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน เป็นปีอธิกมาส ปกติวาร ตามปฏิทินไทยจันทรคติ และกำหนดให้เป็น.

ใหม่!!: รายนามแม่ทัพภาคที่ 4และพ.ศ. 2547 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2548

ทธศักราช 2548 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2005 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรโกเรียน และเป็น.

ใหม่!!: รายนามแม่ทัพภาคที่ 4และพ.ศ. 2548 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2549

ทธศักราช 2549 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2006 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: รายนามแม่ทัพภาคที่ 4และพ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2551

ทธศักราช 2551 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2008 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: รายนามแม่ทัพภาคที่ 4และพ.ศ. 2551 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2553

ทธศักราช 2553 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2010 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีแรกในคริสต์ทศวรรษที่ 2010.

ใหม่!!: รายนามแม่ทัพภาคที่ 4และพ.ศ. 2553 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2556

ทธศักราช 2556 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2013 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: รายนามแม่ทัพภาคที่ 4และพ.ศ. 2556 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2557

ทธศักราช 2557 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2014 วันแรกของปีตรงกับวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน นับเป็นปีที่ 2014 ตามกำหนดสากลศักราช และปีที่ 2557 ตามกำหนดพุทธศักร.

ใหม่!!: รายนามแม่ทัพภาคที่ 4และพ.ศ. 2557 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2558

ทธศักราช 2558 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2015 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน นับเป็นปีที่ 2015 ตามกำหนดสากลศักร.

ใหม่!!: รายนามแม่ทัพภาคที่ 4และพ.ศ. 2558 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2559

ทธศักราช 2559 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2016 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ และเป็น.

ใหม่!!: รายนามแม่ทัพภาคที่ 4และพ.ศ. 2559 · ดูเพิ่มเติม »

พระมหากษัตริย์ไทย

ระมหากษัตริย์ไทย เป็นประมุขของประเทศไทยตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันตามระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์และประชาธิปไตย ถึงแม้ว่าพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์จะลดลงหลังจากการปฏิวัติเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 และถูกจำกัดโดยรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แต่สถาบันพระมหากษัตริย์ก็ยังคงได้รับความเคารพนับถือจากประชาชนชาวไทยส่วนใหญ่ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม พุทธศักราช 2475 กับทั้งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยทุกฉบับว่า พระมหากษัตริย์ "ทรงดำรงอยู่ในฐานะอันเป็นที่เคารพสักการะ ผู้ใดจะละเมิดมิได้" นอกจากนั้น พระมหากษัตริย์ยังทรงได้รับความคุ้มครองด้วยกฎหมายอาญา ทำให้การวิพากษ์วิจารณ์พระองค์เป็นความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขแห่งรัฐ ทรงใช้อำนาจอธิปไตยผ่านคณะรัฐมนตรี รัฐสภา และศาล ทรงเป็นจอมทัพไทย พุทธมามกะ และอัครศาสนูปถัมภก มีพระราชอำนาจสถาปนาและพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์กับฐานันดรศักดิ์ พระราชทานอภัยโทษ ประกาศสงครามและสงบศึก รวมตลอดถึงพระราชอำนาจอื่น ๆ ซึ่งจะทรงใช้ได้ก็แต่โดยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กฎหมายกำหนดไว้ ยกเว้นพระราชอำนาจบางประการที่ทรงใช้ได้ตามพระราชอัธยาศัย คือ ตั้งและถอดองคมนตรีกับบรรดาข้าราชการในพระองค์ พระมหากษัตริย์ไทยแห่งราชวงศ์จักรี และเป็นประมุขราชวงศ์จักรี มีที่ประทับอย่างเป็นทางการคือพระบรมมหาราชวัง กรุงเทพมหานคร พระมหากษัตริย์องค์ปัจจุบันคือ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร โดยทรงรับตำแหน่งเมื่อวันที่ 1 ธันวาคม..

ใหม่!!: รายนามแม่ทัพภาคที่ 4และพระมหากษัตริย์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

พิเชษฐ์ วิสัยจร

ลเอก พิเชษฐ์ วิสัยจร (ชื่อเล่น: แป๊ะ) อดีตผู้ช่วยผู้บัญชาการทหารบก, อดีตแม่ทัพภาคที่ 4 เกิดเมื่อวันที่ 13 ตุลาคม พ.ศ. 2493 ที่จังหวัดชุมพร.

ใหม่!!: รายนามแม่ทัพภาคที่ 4และพิเชษฐ์ วิสัยจร · ดูเพิ่มเติม »

กองทัพบกไทย

กองทัพบกไทย (คำย่อ: ทบ.; Royal Thai Army) เป็นเหล่าทัพที่มีประวัติความเป็นมายาวนานที่สุดและมีขนาดใหญ่ที่สุดของกองทัพไทย ก่อตั้งเป็นกองทัพสมัยใหม่ขี้นในปี พ.ศ. 2417.

ใหม่!!: รายนามแม่ทัพภาคที่ 4และกองทัพบกไทย · ดูเพิ่มเติม »

กิตติ รัตนฉายา

ลเอก กิตติ รัตนฉายา อดีตแม่ทัพภาคที่ 4.

ใหม่!!: รายนามแม่ทัพภาคที่ 4และกิตติ รัตนฉายา · ดูเพิ่มเติม »

ภาคใต้ (ประเทศไทย)

ใต้ เป็นภูมิภาคหนึ่งของไทย ตั้งอยู่บนคาบสมุทรมลายู ขนาบด้วยอ่าวไทยทางฝั่งตะวันออก และทะเลอันดามันทางฝั่งตะวันตก มีเนื้อที่รวม 70,715.2 ตารางกิโลเมตร ความยาวจากเหนือจรดใต้ประมาณ 750 กิโลเมตร ทุกจังหวัดของภาคมีพื้นที่ติดชายฝั่งทะเล ยกเว้นจังหวัดยะลาและจังหวัดพัทลุง.

ใหม่!!: รายนามแม่ทัพภาคที่ 4และภาคใต้ (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทย

รายพระนาม รายนาม ผู้บัญชาการทหารบก แห่งกองทัพบกไท.

ใหม่!!: รายนามแม่ทัพภาคที่ 4และรายนามผู้บัญชาการทหารบกไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายนามแม่ทัพภาคที่ 1

กองทัพภาคที่ 1 (ทภ.1) ของกองทัพบกไทย รับผิดชอบพื้นที่ภาคกลาง ภาคตะวันออก และภาคตะวันตก ตั้งกองบัญชาการที่กรุงเทพมหานคร หน่วยขึ้นตรง คือ.

ใหม่!!: รายนามแม่ทัพภาคที่ 4และรายนามแม่ทัพภาคที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

รายนามแม่ทัพภาคที่ 2

กองทัพภาคที่ 2 (ทภ.2) ของกองทัพบกไทย รับผิดชอบพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือทั้งหมด ตั้งกองบัญชาการที่ค่ายสุรนารี จังหวัดนครราชสีมา หน่วยรบที่สำคัญ คือ.

ใหม่!!: รายนามแม่ทัพภาคที่ 4และรายนามแม่ทัพภาคที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

รายนามแม่ทัพภาคที่ 3

กองทัพภาคที่ 3 (ทภ.3) ของกองทัพบกไทย รับผิดชอบพื้นที่ภาคเหนือทั้งหมด ตั้งกองบัญชาการที่จังหวัดพิษณุโลก หน่วยรบที่สำคัญ คือ.

ใหม่!!: รายนามแม่ทัพภาคที่ 4และรายนามแม่ทัพภาคที่ 3 · ดูเพิ่มเติม »

รายนามแม่ทัพภาคที่ 4

กองทัพภาคที่ 4 (ทภ.4) ของกองทัพบกไทย รับผิดชอบพื้นที่ภาคใต้ทั้งหมด ตั้งกองบัญชาการที่ค่ายวชิราวุธ ตำบลปากพูน อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช และมีศูนย์บัญชาการส่วนหน้าอยู่ที่ค่ายอิงคยุทธบริหาร ตำบลบ่อทอง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี เพื่อดูแลความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยโดยเฉ.

ใหม่!!: รายนามแม่ทัพภาคที่ 4และรายนามแม่ทัพภาคที่ 4 · ดูเพิ่มเติม »

วลิต โรจนภักดี

ลเอก วลิต โรจนภักดี (14 มีนาคม 2499-) ตุลาการศาลทหารสูงสุด รองผู้บัญชาการทหารบก ประธานคณะกรรมการขับเคลื่อนการแก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้ตามคำสั่งคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ 96/2557 นายทหารพิเศษประจำหน่วยทหารรักษาพระองค์ กรมทหารราบที่ 21 รักษาพระองค์ กรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษามาตรการการพิทักษ์และเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ อดีตแม่ทัพภาคที่ 4 รองเสนาธิการทหาร เป็นหนึ่งในนายทหารที่ ควบคุมการชุมนุมของแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ พ.ศ. 2553 ปฏิบัติหน้าที่ตาม พรก.บริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน..

ใหม่!!: รายนามแม่ทัพภาคที่ 4และวลิต โรจนภักดี · ดูเพิ่มเติม »

วิวรรธน์ ปฐมภาคย์

ลเอก วิวรรธน์ ปฐมภาคย์ อดีตแม่ทัพภาคที่ 4 นายทหารพิเศษประจำหน่วยทหารรักษาพระองค์และราชองครักษ์พิเศษ.

ใหม่!!: รายนามแม่ทัพภาคที่ 4และวิวรรธน์ ปฐมภาคย์ · ดูเพิ่มเติม »

หาญ ลีนานนท์

ลเอก หาญ ลีนานนท์ (15 สิงหาคม พ.ศ. 2467 - 11 กุมภาพันธ์ 2561) อดีตแม่ทัพภาคที่ 4 และอดีตนักการเมืองผู้มีบทบาทอย่างมากในพื้นที่ภาคใต้.

ใหม่!!: รายนามแม่ทัพภาคที่ 4และหาญ ลีนานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอยะรัง

อำเภอยะรัง เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดปัตตานี.

ใหม่!!: รายนามแม่ทัพภาคที่ 4และอำเภอยะรัง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอหาดใหญ่

อำเภอหาดใหญ่ เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดสงขลา เป็นที่ตั้งของนครหาดใหญ่ เป็นเมืองใหญ่ที่สุดของภาคใต้ หาดใหญ่เป็นเมืองที่มีชื่อเสียงในหลายด้าน เป็นเมืองท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงโดยเฉพาะแถบประเทศมาเลเซีย สิงคโปร์ อินโดนีเซีย จีน และอินเดี.

ใหม่!!: รายนามแม่ทัพภาคที่ 4และอำเภอหาดใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอหนองจิก

อำเภอหนองจิก เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดปัตตานี.

ใหม่!!: รายนามแม่ทัพภาคที่ 4และอำเภอหนองจิก · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอทุ่งสง

ทุ่งสง เป็นอำเภอที่มีความเจริญเป็นอันดับสองของจังหวัดนครศรีธรรมราช รองจากอำเภอเมืองนครศรีธรรมราช เนื่องจากมีที่ตั้งอยู่ตรงกลางของภาคใต้และเป็นจุดศูนย์กลางคมนาคมทางบกทั้งรถยนต์และรถไฟ อำเภอทุ่งสงมีประวัติความเป็นมายาวนาน ปรากฏตามตำนานเมืองนครศรีธรรมราชว่าเคยเป็นแขวงขึ้นอยู่ในปกครองของเมืองนครศรีธรรมราชตั้งแต่สมัยพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ เมื่อได้มีการเปลี่ยนแปลงระบบการปกครองจากมณฑล เป็นจังหวัด เมื่อ พ.ศ. 2440 ได้จัดตั้งเป็นอำเภอทุ่งสงขึ้นกับจังหวัดนครศรีธรรมร.

ใหม่!!: รายนามแม่ทัพภาคที่ 4และอำเภอทุ่งสง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอคลองหอยโข่ง

ลองหอยโข่ง เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดสงขล.

ใหม่!!: รายนามแม่ทัพภาคที่ 4และอำเภอคลองหอยโข่ง · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดชุมพร

มพร มีชื่อปรากฏมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 1098 โดยมีฐานะเป็นเมืองสิบสองนักษัตรของราชอาณาจักรนครศรีธรรมราช ใช้รูปแพะเป็นตราเมือง และเป็นเมืองหน้าด่านฝ่ายเหนือ เพราะอยู่ตอนบนของภาคใต้ ใน พ.ศ. 1997 รัชสมัยแผ่นดินสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ปรากฏในกฎหมายตราสามดวงว่า เมืองชุมพรเป็นเมืองตรี อาณาจักรฝ่ายใต้ของราชอาณาจักรกรุงศรีอยุธยา ในช่วงนี้ชนชาติจาม แห่งราชอาณาจักรจามปา ถูกชาวเวียดนามรุกราน ชาวจามกลุ่มนี้อพยพเข้าสู่กรุงศรีอยุธยาครั้งแรก ปรากฏว่ามี "อาสาจาม" ในแผ่นดินนี้ เพื่อการขยายอาณานิคมของกรุงศรีอยุธยา ส่วนหนึ่งต้องมารักษาด่านเมืองชุมพร ซึ่งเป็นเมืองตรี และตั้งชาวจาม เป็นเจ้าเมืองชุมพร และดินแดนแถบนี้ขึ้นตรงต่อกรุงศรีอยุธยา เนื่องด้วย ชาวจาม มีความสามารถในการรบ ที่มีชื่อเสียง เช่น กองอาสาจาม เป็นทหารชั้นดี มีวินัย เชี่ยวชาญการเดินเรือ รับใช้ราชสำนักมานาน และเก่งการค้ามาหลายพันปี และต่อมาระหว่าง ปี พ.ศ. 2173 - 2199 ในแผ่นดิน พระเจ้าปราสาททองแห่งราชอาณาจักกรุงศรีอยุธยา ได้กวาดต้อนชาวเมืองแถง หรือ (เดียนเบียนฟู) อยู่ในประเทศเวียดนาม และชาวเมืองพงสาลี อยู่ในประเทศลาว มาเป็นพลเมือง เมืองชุมพร เมืองปะทิว(อำเภอปะทิว) เพื่อทำการเกษตรกรรม และเมืองท่าการค้าสำคัญ ตั้งแต่นั้นมา เดิมชาวจามนับถือศาสนาพราหมณ์-ฮินดู พ.ศ. 1400 นับถือศาสนาพุทธมหายาน และเมื่อค้าขายกับอาหรับก็นับถือ ศาสนาอิสลาม แต่ชาวจามที่มาอยู่เมืองชุมพร ต่อมานับถือ ศาสนาพุทธ มีวัฒนธรรม ประเพณี เหมือนกัน แต่เมื่อเวลาผ่านไปกว่า 500 -600 ปี ที่ชาวจาม เข้าปกครองเมืองชุมพร และดินแดนแถบนี้จนแทบจะไม่เหลือวัฒนธรรมเดิมเลย เช่น ข้าวต้มใบพ้อ ที่ใช้ในงานมงคล เช่นเดียวกับชาวมุสลิม บ้านกาลอ ตำบลกาลอ อำเภอรามัญ จังหวัดยะลา ก็สูญหายไม่ได้ใช้ในงานมงคลแล้ว.

ใหม่!!: รายนามแม่ทัพภาคที่ 4และจังหวัดชุมพร · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสุราษฎร์ธานี

ังหวัดสุราษฎร์ธานี มักจะเรียกกันด้วยชื่อสั้น ๆ ว่า สุราษฎร์ฯ ใช้อักษรย่อ สฎ เป็นจังหวัดในภาคใต้ตอนบน มีพื้นที่ขนาดใหญ่เป็นอันดับ 6 ของประเทศไทย และมีประชากรหนาแน่นอันดับ 59 ของประเทศ นับเป็นจังหวัดหนึ่งที่มีประวัติศาสตร์ยาวนาน มีหลักฐานทั้งประวัติศาสตร์และโบราณคดีเก่าแก่ และยังมีแหล่งท่องเที่ยวและอุทยานแห่งชาติหลายแห่ง จังหวัดสุราษฎร์ธานีตั้งอยู่ในฝั่งตะวันออกของภาคใต้ โดยมีสภาพภูมิประเทศที่หลากหลายทั้งที่ราบสูง ภูมิประเทศแบบภูเขา รวมทั้งที่ราบชายฝั่ง มีพื้นที่ครอบคลุมถึงในบริเวณอ่าวไทย ทั้งบริเวณที่เป็นทะเลและเป็นเกาะ เกาะในพื้นที่จังหวัดสุราษฎร์ธานีมีทั้งขนาดใหญ่และขนาดเล็กมากถึง 108 เกาะ นับว่ามากที่สุดเป็นอันดับ 3 ของประเทศ รองมาจากจังหวัดพังงาที่มี 155 เกาะ และจังหวัดภูเก็ตที่มี 154 เกาะ เกาะขนาดใหญ่เป็นที่รู้จักเช่น เกาะสมุย เกาะพะงัน เกาะเต่า และหมู่เกาะอ่างทอง เนื่องจากทำเลที่ตั้งจึงได้รับอิทธิพลจากมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ ซึ่งเกิดบริเวณทะเลอันดามันบ้างเป็นครั้งคราวเนื่องจากจะมีแนวเทือกเขาตะนาวศรี เทือกเขาภูเก็ต และเทือกเขานครศรีธรรมราช แถบบริเวณจังหวัดระนอง จังหวัดชุมพร จังหวัดพังงา จังหวัดภูเก็ต และจังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นแนวช่วยลดอิทธิพลของลมมรสุมดังกล่าว ในทางกลับกันพื้นที่จังหวัดสุราษฎร์ธานีจะได้รับอิทธิพลจากมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือเป็นส่วนใหญ่ มรสุมตะวันออกเฉียงเหนือปกติจะมีแหล่งกำเนิดบริเวณทะเลจีนใต้และอ่าวไทย ทำให้จังหวัดสุราษฎร์ธานีมีช่วงฤดูฝนกินระยะเวลาตั้งแต่เดือนตุลาคมจนถึงเดือนมกราคม ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ โดยประกอบอาชีพทางด้านการเกษตรเป็นหลัก โดยใช้พิ้นที่ในการทำการเกษตรประมาณร้อยละ 45 ของพื้นที่ทั้งหมด นอกจากนี้ ยังประกอบอาชีพทางด้านปศุสัตว์ ประมง อุตสาหกรรม รวมทั้งมีการทำเหมืองแร่ด้วย ส่วนการเดินทางมายังจังหวัดสุราษฎร์ธานีสามารถใช้ได้หลายเส้นทาง ทั้งทางรถไฟ เครื่องบิน รถโดยสารประจำทาง เรือ และรถยนต์ส่วนบุคคล สถานที่สำคัญภายในจังหวัดนั้น มีทั้งแหล่งโบราณสถาน เช่น พระบรมธาตุไชยา พระธาตุศรีสุราษฎร์ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ไชยา ซากเมืองโบราณสมัยอาณาจักรศรีวิชัย แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ ได้แก่ อุทยานแห่งชาติทั้งอุทยานแห่งชาติทางบก และอุทยานแห่งชาติทางทะเล น้ำตก เกาะ แม่น้ำ เขื่อน วัด และพระอารามหลวง เป็นต้นและยังเป็นแหล่งสืบสานประเพณีที่สำคัญของชาวใต้ คือประเพณีชักพระ ทอดผ้าป่าและแข่งขันเรือยาวชิงถ้วยพระราชทานอีกด้วย นอกจากนี้ ยังมีผลิตผลและผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรที่เป็นที่รู้จัก เช่น ไข่เค็มไชยา หอยนางรม และเงาะโรงเรียน ดังที่ปรากฏในคำขวัญของจังหวั.

ใหม่!!: รายนามแม่ทัพภาคที่ 4และจังหวัดสุราษฎร์ธานี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสงขลา

งขลา เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคใต้ตอนล่าง.

ใหม่!!: รายนามแม่ทัพภาคที่ 4และจังหวัดสงขลา · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดปัตตานี

ปัตตานี เป็นจังหวัดในภาคใต้ ติดต่อกับจังหวัดนราธิวาส จังหวัดยะลา และจังหวัดสงขล.

ใหม่!!: รายนามแม่ทัพภาคที่ 4และจังหวัดปัตตานี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดนครศรีธรรมราช

นครศรีธรรมราช เป็นจังหวัดในประเทศไทย มีประชากรมากที่สุดในภาคใต้และมีขนาดพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับ 2 ของภาคใต้ (รองจากสุราษฎร์ธานี) ห่างจากกรุงเทพมหานคร ประมาณ 780 กิโลเมตร มีจังหวัดที่อยู่ติดกันได้แก่ สงขลา พัทลุง ตรัง กระบี่ และสุราษฎร์ธานี ในอดีต มีชื่อเรียกดินแดนแถบนี้หลายชื่อ เช่น ในคัมภีร์มหานิเทศของอินเดีย ที่เขียนขึ้นราวพุทธศตวรรษที่ 7-8 เรียกว่า "ตามพรลิงก์" หรืออาณาจักรตามพรลิงก์, บันทึกโบราณของเมืองจีนเรียก "เซี้ยะ-โท้ว (ถู-กวั่ว) ", "รักตะมฤติกา" (จารึกภาษาสันสกฤต) ซึ่งล้วนหมายถึง "ดินแดนที่มีดินสีแดง", ตะวันตกนิยมเรียกกันมา จนกระทั่งต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 คือ "ลิกอร์" สันนิษฐานว่าชาวโปรตุเกสที่เข้ามาติดต่อค้าขายในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนต้น เป็นผู้เรียกก่อน โดยเพี้ยนมาจากคำว่า "นคร" ส่วนชื่อ "นครศรีธรรมราช" มาจากพระนามของกษัตริย์ผู้ครองนครในอดีต มีพระนามว่า "พระเจ้าศรีธรรมาโศกราช" (ราชวงศ์ศรีธรรมาโศกราช) มีความหมายว่า "นครอันเป็นสง่าแห่งพระราชาผู้ทรงธรรม" หรือ "เมืองแห่งพุทธธรรมของพระราชาผู้ยิ่งใหญ่" ในสมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี เมืองนครศรีธรรมราชมีฐานะเป็นหัวเมืองชั้นเอกคู่กับเมืองพิษณุโลก มีขุนนางชั้นผู้ใหญ่ระดับเจ้าพระยาเป็นเจ้าเมือง มีบรรดาศักดิ์ตามพระไอยการตำแหน่งนาพลเรือน นาทหารหัวเมือง ว่า เจ้าพระยาศรีธรรมราชชาติเดโชไชยมไหยสุริยาธิบดีอภัยพิรียบรากรมภาห.

ใหม่!!: รายนามแม่ทัพภาคที่ 4และจังหวัดนครศรีธรรมราช · ดูเพิ่มเติม »

ทรงกิตติ จักกาบาตร์

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก ทรงกิตติ จักกาบาตร์ (22 ธันวาคม พ.ศ. 2493 —) อดีตผู้บัญชาการทหารสูงสุด เคยดำรงตำแหน่งเป็นเสนาธิการทหารบกและแม่ทัพภาคที่ 4.

ใหม่!!: รายนามแม่ทัพภาคที่ 4และทรงกิตติ จักกาบาตร์ · ดูเพิ่มเติม »

ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย

นการณ์ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย หรือ ไฟใต้ เป็นความขัดแย้งที่กำลังดำเนินอยู่ในภาคใต้ของประเทศไทย ความขัดแย้งนี้กำเนิดในปี..

ใหม่!!: รายนามแม่ทัพภาคที่ 4และความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ปราการ ชลยุทธ

ลเอก ปราการ ชลยุทธ นายทหารพิเศษประจำหน่วยทหารรักษาพระองค์ ผู้แทนพิเศษของรัฐบาลในการแก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้ สมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ อดีตรองเสนาธิการทหาร, อดีตแม่ทัพภาคที่ 4 และอดีตผู้บัญชาการกองพลทหารม้าที่ 1 ค่ายพ่อขุนผาเมือง และราชองครักษ์พิเศษอดีตกรรมการการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไท.

ใหม่!!: รายนามแม่ทัพภาคที่ 4และปราการ ชลยุทธ · ดูเพิ่มเติม »

1 ตุลาคม

วันที่ 1 ตุลาคม เป็นวันที่ 274 ของปี (วันที่ 275 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 91 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รายนามแม่ทัพภาคที่ 4และ1 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

1 เมษายน

วันที่ 1 เมษายน เป็นวันที่ 91 ของปี (วันที่ 92 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 274 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รายนามแม่ทัพภาคที่ 4และ1 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

10 ธันวาคม

วันที่ 10 ธันวาคม เป็นวันที่ 344 ของปี (วันที่ 345 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 21 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รายนามแม่ทัพภาคที่ 4และ10 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

11 ธันวาคม

วันที่ 11 ธันวาคม เป็นวันที่ 345 ของปี (วันที่ 346 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 20 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รายนามแม่ทัพภาคที่ 4และ11 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

18 มกราคม

วันที่ 18 มกราคม เป็นวันที่ 18 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 347 วันในปีนั้น (348 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: รายนามแม่ทัพภาคที่ 4และ18 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

2 เมษายน

วันที่ 2 เมษายน เป็นวันที่ 92 ของปี (วันที่ 93 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 273 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รายนามแม่ทัพภาคที่ 4และ2 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

30 กันยายน

วันที่ 30 กันยายน เป็นวันที่ 273 ของปี (วันที่ 274 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 92 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รายนามแม่ทัพภาคที่ 4และ30 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

30 ตุลาคม

วันที่ 30 ตุลาคม เป็นวันที่ 303 ของปี (วันที่ 304 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 62 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รายนามแม่ทัพภาคที่ 4และ30 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

31 มีนาคม

วันที่ 31 มีนาคม เป็นวันที่ 90 ของปี (วันที่ 91 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 275 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รายนามแม่ทัพภาคที่ 4และ31 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

แม่ทัพภาคที่ 4

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »