เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

เฮลซิงกิ

ดัชนี เฮลซิงกิ

ลซิงกิ() (Helsingfors) เป็นเมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดของประเทศฟินแลนด์ ตั้งอยู่ทางใต้ของประเทศ ริมชายฝั่งอ่าวฟินแลนด์ ตัวเมืองมีประชากรประมาณ 600,000 คน เฮลซิงกิอยู่ติดกับเมืองวันตาและเอสโปซึ่งรวมตั้งเป็นเขตเมืองหลวงหรือมหานครเฮลซิงกิ มีประชากรเกือบหนึ่งล้านคน และถ้านับเขตที่อยู่อาศัยในปริมณฑลด้วยจะมีประชากรมากกว่า 1.2 ล้านคน เฮลซิงฟอร์สเป็นชื่อเมืองดั้งเดิม และยังคงเป็นชื่อเมืองในภาษาสวีเดนในปัจจุบัน ในอดีตเป็นชื่อที่ใช้ในระดับนานาชาติด้ว.

เปิดใน Google Maps

สารบัญ

  1. 41 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2093พ.ศ. 2291พ.ศ. 2351พ.ศ. 2352พ.ศ. 2355พ.ศ. 2405พ.ศ. 2411พ.ศ. 2445พ.ศ. 2461พ.ศ. 2467พ.ศ. 2474พระเจ้ากุสตาฟที่ 1 แห่งสวีเดนภาษาสวีเดนมหาวิทยาลัยเฮลซิงกิมอสโกยูไนเต็ดบัดดีแบส์ราชรัฐฟินแลนด์ลอนดอนลัทธิคลาสสิกใหม่วาซาสหภาพโซเวียตสถาปัตยกรรมสถาปนิกสงครามฤดูหนาวสงครามต่อเนื่องสงครามโลกครั้งที่สองอ่าวฟินแลนด์จักรวรรดิรัสเซียทวีปยุโรปทาลลินน์คริสตจักรรัสเซียออร์ทอดอกซ์ตุรกุประโยชน์นิยมประเทศฟินแลนด์ประเทศสวีเดนประเทศเยอรมนีนวศิลป์นายกเทศมนตรีเมืองหลวงเอสโปเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก

  2. ราชรัฐฟินแลนด์
  3. เมืองในประเทศฟินแลนด์

พ.ศ. 2093

ทธศักราช 2093 ใกล้เคียงกั.

ดู เฮลซิงกิและพ.ศ. 2093

พ.ศ. 2291

ทธศักราช 2291 ใกล้เคียงกั.

ดู เฮลซิงกิและพ.ศ. 2291

พ.ศ. 2351

ทธศักราช 2351 ใกล้เคียงกั.

ดู เฮลซิงกิและพ.ศ. 2351

พ.ศ. 2352

ทธศักราช 2352 ใกล้เคียงกั.

ดู เฮลซิงกิและพ.ศ. 2352

พ.ศ. 2355

ทธศักราช 2355 ใกล้เคียงกั.

ดู เฮลซิงกิและพ.ศ. 2355

พ.ศ. 2405

ทธศักราช 2405 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1862.

ดู เฮลซิงกิและพ.ศ. 2405

พ.ศ. 2411

ทธศักราช 2411 ตรงกั.

ดู เฮลซิงกิและพ.ศ. 2411

พ.ศ. 2445

ทธศักราช 2445 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1902 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู เฮลซิงกิและพ.ศ. 2445

พ.ศ. 2461

ทธศักราช 2461 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1918 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน หรือ ปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินจูเลียน.

ดู เฮลซิงกิและพ.ศ. 2461

พ.ศ. 2467

ทธศักราช 2467 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1924 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู เฮลซิงกิและพ.ศ. 2467

พ.ศ. 2474

ทธศักราช 2474 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1931 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู เฮลซิงกิและพ.ศ. 2474

พระเจ้ากุสตาฟที่ 1 แห่งสวีเดน

ระเจ้ากุสตาฟที่ 1 แห่งสวีเดน (ประสูติ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2039 - 29 กันยายน พ.ศ. 2103).

ดู เฮลซิงกิและพระเจ้ากุสตาฟที่ 1 แห่งสวีเดน

ภาษาสวีเดน

แผนที่แสดงบริเวณที่มีผู้พูดภาษาสวีเดน ภาษาสวีเดน (svenska) เป็นภาษาในกลุ่มภาษาเจอร์แมนิกเหนือ (หรือภาษาสแกนดิเนเวีย) ซึ่งเป็นกลุ่มย่อยของกลุ่มภาษาเจอร์แมนิก สาขาของภาษาตระกูลอินโด-ยูโรเปียน ภาษาสวีเดนเป็นภาษาราชการภาษาเดียวของสวีเดน เป็นภาษาราชการหนึ่งในสองภาษาของฟินแลนด์ (อีกภาษาหนึ่งคือภาษาฟินแลนด์) และเป็นภาษาราชการภาษาเดียวของหมู่เกาะโอลันด์ ซึ่งเป็นเขตการปกครองตนเองของฟินแลนด์ ภาษาสวีเดนสามารถใช้แทนกันกับภาษาสแกนดิเนเวียอีก 2 ภาษาคือ ภาษาเดนมาร์ก และภาษานอร์เวย์ ภาษาสวีเดนมาตรฐาน เป็นภาษาประจำชาติที่วิวัฒนาการมาจากภาษาย่อยของสวีเดนกลางในคริสต์ศตวรรษที่ 19 และมีความมั่นคงในช่วงตอนต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 ในขณะที่ภาษาย่อยตามภูมิภาคที่สืบมาจากภาษาพื้นเมืองในชนบทยังคงมีอยู่ ภาษาพูดและ ภาษาเขียน มีมาตรฐาน และมีอัตราความสามารถในการอ่านและเขียน 99% ในกลุ่มผู้ใหญ่ ภาษาพื้นเมืองบางภาษาต่างจากภาษามาตรฐานทั้งเรื่องไวยากรณ์และคำศัพท์ และไม่สามารถเข้าใจกับภาษาสวีเดนมาตรฐานได้เสมอไป ภาษาพื้นเมืองเหล่านี้จะจำกัดเฉพาะพื้นที่ชนบทและส่วนใหญ่คนพูดเป็นคนกลุ่มน้อยที่มีความเคลื่อนไหวทางสังคมต่ำ ถึงแม้ว่าจะไม่สูญพันธุ์ในเร็ว ๆ นี้ ภาษาพื้นเมืองเหล่านี้ได้ถดถอยในช่วงศตวรรษที่ผ่านมา ถึงแม้ว่าจะมีการวิจัยเป้นอย่างดี และเจ้าหน้าที่ท้องถิ่นส่งเสริมการใช้ ภาษาสวีเดนมีลักษณะเด่นในเรื่องฉันทลักษณ์ ซึ่งจะแตกต่างกันตามชนิดต่าง ๆ มีทั้งเสียงเน้นที่ต่างกันตามแต่ละคำ และ เสียงวรรณยุกต์ ภาษาสวีเดนมีเสียงสระค่อนข้างมาก โดยที่มีเสียงสระถึง 9 เสียงที่ต่างกันด้วยความยาว และลักษณะเสียง ทำให้มีหน่วยเสียงสระ (vowel phoneme) ถึง 17 หน่วย นอกจากนี้ ภาษาสวีเดนยังมีเสียง voiceless dorso-palatal velar fricative ซึ่งสามารถพบได้ในภาษาพื้นเมืองหลายภาษา รวมถึงภาษามาตรฐานชั้นสูง และไม่ปรากฏในภาษาอื่น.

ดู เฮลซิงกิและภาษาสวีเดน

มหาวิทยาลัยเฮลซิงกิ

มหาวิทยาลัยเฮลซิงกิ (Helsingin yliopisto, Helsingfors universitet, Universitas Helsingiensis) ตั้งอยู่ในเมืองเฮลซิงกิ ประเทศฟินแลนด์ตั้งแต่ปี..

ดู เฮลซิงกิและมหาวิทยาลัยเฮลซิงกิ

มอสโก

มอสโก (Moscow; Москва́, มะสฺกฺวา) เป็นเมืองหลวงของประเทศรัสเซีย เป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ การเงิน การศึกษา และ การเดินทางของประเทศ โดยตั้งอยู่ใกล้แม่น้ำมัสกวา ซึ่งในตัวเมืองมีประชากรอยู่อาศัยกว่า 1 ใน 10 ของประเทศ ทำให้เป็นเมืองที่มีประชากรหนาแน่นที่สุดในยุโรป และเมื่อสมัยครั้งที่สหภาพโซเวียตยังไม่ล่มสลาย กรุงมอสโกก็ยังเป็นเมืองหลวงของสหภาพโซเวียตอีกด้วย ในปี..

ดู เฮลซิงกิและมอสโก

ยูไนเต็ดบัดดีแบส์

One-World Buddy Bear ยูไนเต็ดบัดดีแบส์ (United Buddy Bears) Buddy Bears ในเบอร์ลิน: Buddy Bears ออกสู่สายตาชาวโลกเมื่อปี 2001 ผู้ริเริ่มคือเอวาและเคลาส์ เฮอร์ลิทซ์ ได้รับแรงบันดาลใจจากแนวความคิดในการแสดงศิลปะบนถนนของเมืองใหญ่ ๆ และจึงตัดสินใจเริ่มต้นโครงการศิลปะที่ไม่เหมือนใครในท้องถนนของกรุงเบอร์ลิน เมื่อนึกถึงประติมากรรมที่เหมาะสมมากที่สุดสำหรับเมืองหลวงของเยอรมนี พวกเขาเลือกหมีได้โดยง่าย หมีเป็นสัตว์นำสารที่รู้จักกันมากที่สุดในเบอร์ลิน และได้รับคัดเลือกให้เสนอสารเพื่อชนะใจชาวเบอร์ลิน รวมทั้งแขกที่มาเยี่ยมเยือนด้วย ในบริบทนี้ จึงเป็นเรื่องสำคัญสำหรับเอวาและเคลาส์ เฮอร์ลิทซ์ที่ต้องแสดงรูปหมีที่บ่งบอกถึงความอบอุ่นและความสุข มิได้ใช้เวลานานนักในการคิดตั้งชื่อให้กับเจ้าหมี คือ บั๊ดดี้ แบร์ (Buddy Bear) โรมัน สโตรบ์ล เป็นผู้ได้รับมอบหมายให้ออกแบบหมีตัวตรง และด้วยประติมากรรมชิ้นนี้ ดาวดวงใหม่ของกรุงเบอร์ลินก็เกิดขึ้น ในฤดูใบไม้ผลิปี 2001 ได้มีการสร้างสรรค์เหล่าหมีกว่า 150 ตัวในอิริยาบถการออกแบบที่หลากหลาย นับจากเดือนมิถุนายน 2001 เรื่อยมา ได้มีการนำเสนอในหลากหลายสถานที่ของกรุงเบอร์ลินด้วย ประติมากรรมของเหล่าหมีนี้ได้รับการตอบรับอย่างดียิ่ง ไม่ว่าจะที่จุดใดของเมืองก็มีให้ชมอยู่ทุกแห่ง ดึงดูดความสนใจจากผู้หลงใหลอย่างมากมาย จากนั้นไม่นาน โครงการนี้ได้รับการพัฒนาเป็นเรื่องราวเกี่ยวกับหมีอย่างกว้างขวางและเด่นชัด ความสำเร็จของ Buddy Bears นำสู่การขยายการนำเสนออย่างเป็นทางการในถนนสายต่าง ๆ ของกรุงเบอร์ลินจนถึงสิ้นปี 2002.

ดู เฮลซิงกิและยูไนเต็ดบัดดีแบส์

ราชรัฐฟินแลนด์

ราชรัฐฟินแลนด์ (Suomen suuriruhtinaskunta, Storfurstendömet Finland, Великое княжество Финляндское) เป็นpredecessor state (รัฐก่อน) ของฟินแลนด์ยุคใหม่ ในช่วงระหว่างปี 1809 ถึงปี 1917 โดยอยู่ภายใต้การปกครองโดยจักรวรรดิรัสเซีย โดยที่ จักรพรรดิรัสเซีย เป็น แกรนด์ดยุกแห่งฟินแลนด์ซึ่งมีสถานะเทียบเท่าพระมหากษัตริย์แห่งฟินแลน.

ดู เฮลซิงกิและราชรัฐฟินแลนด์

ลอนดอน

ลอนดอน (London, ลันเดิน) เป็นเมืองหลวงของประเทศอังกฤษ และสหราชอาณาจักร และเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดของสหภาพยุโรป เป็นเมืองที่มีศูนย์กลางทางธุรกิจที่ใหญ่ที่สุดในโลก ลอนดอนเป็นหนึ่งในศูนย์กลางสำคัญทางธุรกิจ การเมือง วัฒนธรรม และประวัติศาสตร์ของโลก เป็นผู้นำด้านการเงิน การเมือง การสื่อสาร การบันเทิง แฟชั่น และศิลปะ ในอดีตเป็นเมืองหลวงของโลก เป็นเมืองที่เจริญที่สุดในโลก ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน เป็นเมืองที่มีอิทธิพลไปทั่วโลก ถือกันว่าเป็นเมืองสากลหลักของโลก จีดีพีของลอนดอน คิดเป็นร้อยละ 19.5 ของสหราชอาณาจักร ลอนดอนมีประชากรประมาณ 7.5 ล้านคน (ข้อมูลเมื่อปี พ.ศ.

ดู เฮลซิงกิและลอนดอน

ลัทธิคลาสสิกใหม่

"แจกันเมดีชี" แจกันกระเบื้อง ตกแต่งด้วยสีปอมเปอีดำและแดง, เซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก ราว ค.ศ. 1830 ลัทธิคลาสสิกใหม่ (neoclassicism, neo-classicism) เป็นชื่อที่ใช้สำหรับขบวนการทางวัฒนธรรมของศิลปะการตกแต่ง ทัศนศิลป์ วรรณคดี การละคร ดนตรี และสถาปัตยกรรมที่มาจากศิลปะคลาสสิกและวัฒนธรรมซึ่งส่วนใหญ่มาจากกรีกโบราณหรือโรมันโบราณ) ขบวนการเหล่านี้มีความนิยมระหว่างกลางคริสต์ศตวรรษที่ 18 จนถึงปลายคริสต์ศตวรรษ 19.

ดู เฮลซิงกิและลัทธิคลาสสิกใหม่

วาซา

ในวาซา วาซา (Vaasa) เป็นเมืองบนชายฝั่งทิศตะวันตกของประเทศฟินแลนด์ ตั้งขึ้นเมื่อปี..

ดู เฮลซิงกิและวาซา

สหภาพโซเวียต

หภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียต (Сою́з Сове́тских Социалисти́ческих Респу́блик - CCCP; Union of Soviet Socialist Republics - USSR) หรือย่อเป็น สหภาพโซเวียต (Soviet Union) เป็นประเทศอภิมหาอำนาจในอดีตบนทวีปยูเรเชีย ระหว่างปี..

ดู เฮลซิงกิและสหภาพโซเวียต

สถาปัตยกรรม

ปัตยกรรม (architecture) หมายถึง ผลงานศิลปะที่แสดงออกสิ่งก่อสร้าง รวมถึงสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้องทั้งภายในและภายนอกสิ่งปลูกสร้างนั้น ที่มาจากการออกแบบของมนุษย์ ด้วยศาสตร์ทางด้านศิลปะ การจัดวางที่ว่าง ทัศนศิลป์ และวิศวกรรมการก่อสร้าง เพื่อประโยชน์ใช้สอย สถาปัตยกรรมยังเป็นสื่อความคิด และสัญลักษณ์ทางวัฒนธรรมของสังคมในยุคนั้นๆด้ว.

ดู เฮลซิงกิและสถาปัตยกรรม

สถาปนิก

ร่างสถาปนิก กับงานออกแบบ สถาปนิก คือบุคคลผู้เกี่ยวข้องในการออกแบบ และ วางแผน ในการก่อสร้าง หรือที่เรียกว่างานสถาปัตยกรรม โดยสถาปนิก จะเป็นผู้ที่เข้าใจในมาตรฐานการก่อสร้างของอาคาร เข้าใจถึงหน้าที่ใช้สอยของอาคารนั้น รวมถึงวัสดุที่จะนำมาเป็นส่วนประกอบของสิ่งก่อสร้างนั้น สถาปนิกจำเป็นต้องได้รับการศึกษาทางสถาปัตยกรรมศาสตร์ และได้รับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพสถาปัตยกรรม ถึงจะสามารถทำงานในวิชาชีพสถาปนิกได้ ซึ่งคล้ายกับการทำงานในสาขาวิชาชีพอื่น สถาปก คำเก่าของคำว่าสถาปนิก ได้รับพระราชทานจากพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 เป็นศัพท์ภาษาสันสกฤต หมายถึง ผู้สร้าง, ผู้ก่อตั้ง ในเอกสารโบราณก่อนสมัยรัตนโกสินทร์เคยปรากฏคำ "สถาบก" หมายถึง การสร้าง หรือผู้สร้าง รางวัลที่น่ายกย่องของสถาปนิกที่รู้จักในฐานะผู้ก่อสร้างอาคารได้แก่ รางวัลพลิตซ์เกอร์ ซึ่งมักจะถูกเปรียบเทียบเหมือนกับ "รางวัลโนเบลในทางสถาปัตยกรรม".

ดู เฮลซิงกิและสถาปนิก

สงครามฤดูหนาว

ทหารสกีของฟินแลนด์ในสงครามฤดูหนาว ทิศทางการโจมตีของกองทัพแดงและการวางกำลังหลักของสองฝ่าย สงครามฤดูหนาว (อังกฤษ: Winter War, ฟินแลนด์: talvisota, สวีเดน: vinterkriget, รัสเซีย: Советско-финская война, และอาจรู้จักกันในชื่อ สงครามโซเวียต-ฟินแลนด์ หรือ สงครามรัสเซีย-ฟินแลนด์) เป็นสงครามระหว่างสหภาพโซเวียตกับประเทศฟินแลนด์ เกิดในช่วงต้น ๆ ของสงครามโลกครั้งที่สอง เมื่อฟินแลนด์ปฏิเสธไม่ยอมยกดินแดนบางส่วนและไม่ยอมให้โซเวียตสร้างฐานทัพเรือในดินแดนของตน การโจมตีเริ่มขึ้นเมื่อวันที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ.

ดู เฮลซิงกิและสงครามฤดูหนาว

สงครามต่อเนื่อง

งครามต่อเนื่อง ประกอบด้วยสงครามระหว่างฟินแลนด์และสหภาพโซเวียต ตั้งแต่ปี..

ดู เฮลซิงกิและสงครามต่อเนื่อง

สงครามโลกครั้งที่สอง

งครามโลกครั้งที่สอง (World War II หรือ Second World Warคำว่าสงครามโลกครั้งที่สองในภาษาอังกฤษนั้น ในเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการของสหราชอาณาจักรและชาติตะวันตกใช้คำว่า "Second World War" ส่วนในสหรัฐใช้คำว่า "World War II" (ย่อเป็น "WWII" หรือ "WW2") ซึ่งเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการในประเทศส่วนใหญ่มักจะใช้ภาษาอังกฤษว่า "Second World War" (เช่น Zweiter Weltkrieg ในภาษาเยอรมัน; Segunda Guerra mundial ในภาษาสเปน; Seconde Guerre mondiale ในภาษาฝรั่งเศส) แต่ทั้งสองคำนี้โดยทั่วไปแล้วสามารถใช้แทนกันได้; แม้ในประวัติศาสตร์การทหารอย่างเป็นทางการ คำว่า "Second World War" ถูกสร้างขึ้นโดย แฟรงก์ บี.

ดู เฮลซิงกิและสงครามโลกครั้งที่สอง

อ่าวฟินแลนด์

ทะเลบอลติก อ่าวฟินแลนด์คือส่วนแขนด้านขวา อ่าวฟินแลนด์ (Gulf of Finland; Suomenlahti; Soome laht; Фи́нский зали́в; Finska viken) เป็นส่วนตะวันออกที่สุดของทะเลบอลติก ส่วนตะวันออกที่สุดของอ่าวฟินแลนด์เป็นที่รู้จักกันในชื่อ อ่าวเนวา ล้อมรอบโดยประเทศฟินแลนด์ เอสโตเนีย และรัสเซีย มีเนื้อที่ราว 30,000 ตารางกิโลเมตร ทะเลในอ่าวนี้ค่อนข้างตื้น มีความลึกเฉลี่ย 40 เมตร จุดที่ลึกที่สุดอยู่ทางตะวันตก มีความลึก 121 เมตร.

ดู เฮลซิงกิและอ่าวฟินแลนด์

จักรวรรดิรัสเซีย

ักรวรรดิรัสเซีย (Российская империя; Russian Empire) คืออดีตประเทศรัสเซียก่อนที่จะมีการปฏิวัติการปกครองของซาร์นิโคลัสที่ 2 เป็นสหภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตในปี 1917 จักรวรรดิรัสเซียสถาปนาขึ้นในปี 1721 โดยจักรพรรดิซาร์ปีเตอร์มหาราชสถาปนาขึ้นแทนที่อาณาจักรซาร์แห่งรัสเซีย จักรวรรดิรัสเซียมีพื้นที่กว้างใหญ่ครอบคลุมยุโรปตะวันออก, เอเชีย จนไปถึงทวีปอเมริกา นับได้ว่าเป็นหนึ่งในจักรวรรดิที่ใหญ่ที่สุดในโลกและเป็นจักรวรรดิหนึ่งที่เจริญรุ่งเรืองที่สุดในประวัติศาสตร์รัสเซี.

ดู เฮลซิงกิและจักรวรรดิรัสเซีย

ทวีปยุโรป

ทวีปยุโรป (อ่านว่า "ยุ-โหฺรบ") มีฐานะเป็นทวีปทั้งในแง่ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม ในทางภูมิศาสตร์ ยุโรปเป็นอนุทวีปที่อยู่ทางด้านตะวันตกของมหาทวีปยูเรเชีย ยุโรปมีพรมแดนทางเหนือติดกับมหาสมุทรอาร์กติก ทางตะวันตกติดกับมหาสมุทรแอตแลนติก ทางใต้ติดกับทะเลเมดิเตอร์เรเนียนและทะเลดำ ด้านตะวันออกติดกับเทือกเขายูรัลและทะเลแคสเปียน "Europe" (pp.

ดู เฮลซิงกิและทวีปยุโรป

ทาลลินน์

ทาลลินน์ (Tallinn; เยอรมัน; สวีเดน: Reval เรวัล เป็นชื่อประวัติศาสตร์ในภาษาเยอรมัน และ ภาษาสวีเดน) เป็นเมืองหลวงและเมืองท่าหลักของประเทศเอสโตเนีย ตั้งอยู่บนชายฝั่งทะเลบอลติกทางด้านเหนือของประเทศ อยู่ห่างจากกรุงเฮลซิงกิ (เมืองหลวงของประเทศฟินแลนด์) 80 กิโลเมตร.

ดู เฮลซิงกิและทาลลินน์

คริสตจักรรัสเซียออร์ทอดอกซ์

ริสตจักรรัสเซียออร์ทอดอกซ์ หรือ ศาสนจักรออร์โธดอกซ์รัสเซีย (Русская Православная Церковь; Russian Orthodox Church) ในยุคก่อนปี..

ดู เฮลซิงกิและคริสตจักรรัสเซียออร์ทอดอกซ์

ตุรกุ

มหาวิหารเมืองตุรกุ หนึ่งในสิ่งก่อสร้างทางประวัติศาสตร์ที่สำคัญของฟินแลนด์ ตุรกุ หรือโอบู (ฟินแลนด์:; สวีเดน) เป็นเมืองในประเทศฟินแลนด์ ก่อตั้งในคริสต์ศตวรรษที่ 13 เป็นเมืองที่เก่าแก่ที่สุดของฟินแลนด์ ตุรกุเป็นเมืองสำคัญในประวัติศาสตร์สมัยที่ฟินแลนด์เป็นส่วนหนึ่งของสวีเดน และเป็นเมืองหลวงของราชรัฐฟินแลนด์ในช่วงปี 1809 ถึง 1812 ก่อนจะเปลี่ยนเป็นเฮลซิงกิ ตุรกุตั้งอยู่ที่ปากแม่น้ำเอาราทางตอนใต้ของประเทศ เป็นเมือง (เขตเทศบาล) ขนาดใหญ่อันดับที่ห้าของฟินแลนด์ มีประชากรราว 1.7 แสนคน (สิ้นปี 2006) ตุรกุเป็นเมืองเอกของจังหวัดฟินแลนด์ตะวันตก ใช้ทั้งภาษาฟินแลนด์และสวีเดนเป็นภาษาทางการของเขตเทศบาล.

ดู เฮลซิงกิและตุรกุ

ประโยชน์นิยม

ประโยชน์นิยม (utilitarianism) หมายถึง แนวคิดที่เชื่อว่าคุณค่าทางศีลธรรมเป็นการกระทำที่ขึ้นอยู่กับการทำประโยชน์เพื่อส่วนรวม กล่าวคือ เป็นการกระทำที่ก่อให้เกิดความสุขหรือความพอใจขึ้นในบุคคลโดยทั่วไป ซึ่งเป็นรูปแบบหนึ่งของผลลัพธ์นิยม หรือการยึดถือคุณค่าทางศีลธรรมขึ้นอยู่กับผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นเป็นหลัก นักคิดทั้งหลายได้นิยามคำว่า "ประโยชน์" นี้หมายถึงความดีสูงสุด ได้แก่ ความสุขหรือความพอใจ (ตรงกันข้ามกับความทรมานหรือความเจ็บปวด) ทำให้อาจสามารถอธิบายได้ด้วยรูปแบบของชีวิตว่า ความสุขหรือความพอใจถือได้ว่าเป็นสิ่งที่มีความสำคัญสูงสุด ประโยชน์นิยมถูกอธิบายด้วยถ้อยวลี "เป็นสิ่งดีสูงสุดสำหรับบุคคลจำนวนมากที่สุด" ดังนั้น ประโยชน์นิยมจึงเป็นที่รู้จักกันว่าเป็น "ทฤษฎีความสุขที่ยิ่งใหญ่ที่สุด" ประโยชน์นิยมยังเป็นการแสดงถึงลักษณะการเชื่อมโยงต่อหลักจริยธรรม ซึ่งมีความผิดแผกไปจากจริยศาสตร์ ซึ่งไม่พิจารณาว่าผลลัพธ์ของการกระทำเป็นตัวกำหนดศีลธรรม เป็นต้น โดยผู้ที่มีมุมมองตรงกันข้ามกับประโยชน์นิยมได้วิพากษ์วิจารณ์มุมมองในแบบประโยชน์นิยมอยู่เรื่อย ๆ แต่ผู้ลัทธิประโยชน์นิยมก็มีวิพากษ์วิจารณ์ต่อแนวคิดอื่น ๆ คล้าย ๆ กัน และเหมือนกับทฤษฎีทางจริยธรรมทั้งหลาย การปฏิบัติตามแนวคิดประโยชน์นิยมเองก็ต้องพึ่งองค์ประกอบภายนอกเช่นกัน ได้แก่ สติปัญญา ประสบการณ์ ทักษะสังคม และทักษะชีวิต.

ดู เฮลซิงกิและประโยชน์นิยม

ประเทศฟินแลนด์

ประเทศฟินแลนด์ (ซูโอมี) มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐฟินแลนด์ เป็นประเทศในกลุ่มนอร์ดิก ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของทวีปยุโรป เขตแดนด้านตะวันตกเฉียงใต้จรดทะเลบอลติก ทางด้านใต้จรดอ่าวฟินแลนด์ ทางตะวันตกจรดอ่าวบอทเนีย ประเทศฟินแลนด์มีชายแดนติดกับประเทศสวีเดน นอร์เวย์ และรัสเซีย สำหรับหมู่เกาะโอลันด์ที่อยู่ห่างจากชายฝั่งตะวันตกเฉียงใต้นั้น อยู่ภายใต้การปกครองของฟินแลนด์ แต่เป็นเขตปกครองตนเอง เคยถูกรัสเซียยึดครองและเป็นดินแดนส่วนหนึ่งของรัสเซีย ฟินแลนด์มีประชากรเพียง 5 ล้านคน ในพื้นที่ 338,145 ตารางกิโลเมตร นับว่ามีประชากรที่เบาบาง แต่มีดัชนีการพัฒนามนุษย์ตามสถิติของสหประชาชาติ พ.ศ.

ดู เฮลซิงกิและประเทศฟินแลนด์

ประเทศสวีเดน

วีเดน (Sweden; สฺแวรฺแย) หรือชื่อทางการคือ ราชอาณาจักรสวีเดน (Kingdom of Sweden) เป็นประเทศกลุ่มนอร์ดิกตั้งอยู่บนคาบสมุทรสแกนดิเนเวีย ในยุโรปเหนือ เขตแดนทางตะวันตกจรดประเทศนอร์เวย์ ทางตะวันออกเฉียงเหนือจรดประเทศฟินแลนด์ และช่องแคบ สแกเกอร์แรก (Skagerrak) ทางตะวันตกเฉียงใต้จรดช่องแคบแคทีแกต (Kattegat) และทางตะวันออกจรดทะเลบอลติก และอ่าวบอทเนีย มีกรุงสต็อกโฮล์มเป็นเมืองหลวง ประเทศสวีเดนมีประชากรที่เบาบาง เว้นแต่ในเขตเมืองใหญ่ พื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศประกอบด้วยป่าไม้ และภูเขาสูง หลังจากสิ้นสุดยุคไวกิง สวีเดนกลายเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพคาลมาร์ ร่วมกับเดนมาร์กและนอร์เวย์ (ในช่วงเวลานี้ ฟินแลนด์เป็นส่วนหนึ่งของราชอาณาจักรสวีเดน) สวีเดนได้ออกจากสหภาพในช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 16 และได้รบสู้กับประเทศเพื่อนบ้านเป็นเวลาหลายปี โดยเฉพาะรัสเซีย และเดนมาร์กกับนอร์เวย์ที่ยังเป็นสหภาพอยู่ ซึ่งไม่ยอมรับการที่สวีเดนออกจากสหภาพ ในคริสศตวรรษที่ 17 สวีเดนได้ขยายเขตด้วยสงครามและกลายเป็นมหาอำนาจด้วยขนาด 2 เท่าของปัจจุบัน ถึง..

ดู เฮลซิงกิและประเทศสวีเดน

ประเทศเยอรมนี

ประเทศเยอรมนี (Germany; Deutschland ดอยฺชลันฺท) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี (Federal Republic of Germany; Bundesrepublik Deutschland) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐแบบรัฐสภาในยุโรปกลาง มีรัฐองค์ประกอบ 16 รัฐ มีพื้นที่ 357,021 ตารางกิโลเมตร และมีภูมิอากาศตามฤดูกาลแบบอบอุ่นเป็นส่วนใหญ่ มีประชากรประมาณ 82 ล้านคน ซึ่งเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดในสหภาพยุโรป ประเทศเยอรมนีเป็นจุดหมายการเข้าเมืองยอดนิยมอันดับสองในโลกรองจากสหรัฐ เมืองหลวงและมหานครใหญ่สุดของประเทศคือ กรุงเบอร์ลิน ขณะที่เขตเมืองขยายใหญ่สุด คือ รูร์ โดยมีศูนย์กลางหลักดอร์ทมุนด์และเอสเซิน นครหลักอื่นของประเทศ ได้แก่ ฮัมบวร์ค มิวนิก โคโลญ แฟรงก์เฟิร์ต ชตุทท์การ์ท ดึสเซิลดอร์ฟ ไลพ์ซิจ เบรเมิน เดรสเดิน ฮันโนเฟอร์และเนือร์นแบร์ก ประเทศนี้มีระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยเชิงเสรีภาพและรัฐสวัสดิการ พรมแดนทางทิศเหนือติดทะเลเหนือ เดนมาร์ก และทะเลบอลติก ทิศตะวันออกติดโปแลนด์และเช็กเกีย ทิศใต้ติดออสเตรีย และสวิตเซอร์แลนด์ ทิศตะวันตกติดฝรั่งเศส ลักเซมเบิร์ก เบลเยียม และเนเธอร์แลนด์ มีเมืองหลวงและเมืองใหญ่ของประเทศคือเบอร์ลิน เยอรมนีมีประชากรประมาณ 80 ล้านคนและเป็นประเทศที่มีความหนาแน่นประชากรสูงสุดแห่งหนึ่ง อีกทั้งยังเป็นประเทศที่มีคนย้ายถิ่นมากที่สุดเป็นอันดับสามของโลก หลังจากที่สหรัฐอเมริกาเยอรมนีเป็นปลายทางการย้ายถิ่นที่สองได้รับความนิยมมากที่สุดในโลก เยอรมนีเป็นหนึ่งในสมาชิกผู้ก่อตั้งสหภาพยุโรปและยังก่อตั้งสหภาพการเงินกับสมาชิกในสหภาพยุโรปอีก 17 ประเทศ โดยใช้ชื่อว่ายูโรโซน เยอรมนีเป็นสมาชิกของกลุ่ม UNO, OECD, NATO, G7 และ G20 เยอรมนีเป็นประเทศที่มีอิทธิพลต่อประเทศอื่นๆในยุโรปและเป็นประเทศที่มีความสามารถที่จะแข่งขันในระดับโลก หากวัดจากผลผลิตมวลรวมภายในประเทศแบบปกติแล้ว เยอรมนีเป็นเศรษฐกิจที่ใหญ่ที่สุดในยุโรปและใหญ่เป็นอันดับสี่ของโลก ในปี 2012 เป็นประเทศที่มีการนำเข้าส่งออกมากที่สุดเป็นอันดับสาม ดัชนีการพัฒนามนุษย์ถือว่าสูงมาก.

ดู เฮลซิงกิและประเทศเยอรมนี

นวศิลป์

นวศิลป์ หรือ อาร์นูโว ("ศิลปะใหม่") รู้จักกันในอีกชื่อหนึ่งว่า ยูเกินท์ชตีล ("แบบอย่างของวารสารศิลปะที่มีชื่อว่ายูเกินท์") เป็นลักษณะศิลปะ สถาปัตยกรรม และศิลปะประยุกต์ ซึ่งได้รับความนิยมสูงสุดในช่วง..

ดู เฮลซิงกิและนวศิลป์

นายกเทศมนตรี

นายกเทศมนตรี มาจากการปกครองที่มีต่อจากการปกครองแบบเทศาภิบาล ซึ่งพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๗ เป็นผู้ตราขึ้น หน้าที่หลักของนายกเทศมนตรี ก็คือ นายกเทศมนตรีจะมี การปกครองแบบพิเศษ (ซึ่งมิใช่การปกครองแบบท้องถิ่น หรือในรูปแบบที่เรียกว่าอำเภอ หรือที่ว่าการอำเภอ หรือสภาตำบล กำนัน หรือ ผู้ใหญ่บ้าน ซึ่งเรียกว่าการปกครองร่วมแบบท้องถิ่น).

ดู เฮลซิงกิและนายกเทศมนตรี

เมืองหลวง

มืองหลวง หรือ ราชธานี คือ เมืองหลักที่เกี่ยวข้องกับรัฐบาล ส่วนใหญ่เป็นที่ตั้งของทำเนียบรัฐบาล คำในภาษาอังกฤษ capital มาจากภาษาละติน caput หมายถึง "หัว" และอาจเกี่ยวข้อง เนินเขาแคปิทอไลน์ เนินเขาที่สูงที่สุดในโรมโบราณ ศูนย์กลางทางประวัติศาสตร์และศาสนา ในภาษาไทย มีหลายคำที่ใช้ในความหมายนี้ เช่น กรุง หรือ พระนคร สำหรับคำว่าเมืองหลวงนั้นยังก็มีความหมายเป็นสองนัย กล่าวคือ หมายถึงเมืองใหญ่ (หลวง หมายถึง ใหญ่) หรือเมืองของหลวง (คือเมืองของพระเจ้าแผ่นดิน, เพราะเป็นที่ประทับของกษัตริย์) เมืองหลวงในบางประเทศ มีขนาดเล็กกว่าเมืองอื่น เช่นใน สหรัฐอเมริกา อินเดีย บราซิล สำหรับคำว่าเมืองหลวงนี้ อาจเป็นเมืองหลวงของรัฐ (ในประเทศที่ปกครองแบบสาธารณรัฐ เป็นต้น) หรือเมืองหลวงของเขตการปกครองระดับใดๆ ก็ได้ เช่น อำเภอเมือง เปรียบเหมือนเป็นเมืองหลวงของจังหวั.

ดู เฮลซิงกิและเมืองหลวง

เอสโป

อสโป เอสโป (Espoo; Esbo) เป็นเมืองใหญ่อันดับ 2 และเป็นเทศบาลในประเทศฟินแลนด์ มีประชากร 257,461 คน (28 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2013) เมืองตั้งอยู่ริมฝั่งของอ่าวฟินแลนด์ ในจังหวัดอูซีมา เมืองมีพื้นที่ 528 ตร.กม.

ดู เฮลซิงกิและเอสโป

เซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก

ซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก (Saint Petersburg; Санкт-Петербу́рг, เป็นเมืองท่าทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของสหพันธรัฐรัสเซีย ตั้งอยู่ปากแม่น้ำเนวา ริมอ่าวฟินแลนด์ในทะเลบอลติก เซนต์ปีเตอร์สเบิร์กสร้างโดยพระเจ้าซาร์ปีเตอร์มหาราช เมื่อ พ.ศ.

ดู เฮลซิงกิและเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก

ดูเพิ่มเติม

ราชรัฐฟินแลนด์

เมืองในประเทศฟินแลนด์

หรือที่รู้จักกันในชื่อ Helsinkiเมืองเฮลซิงกิ