โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ประโยชน์นิยม

ดัชนี ประโยชน์นิยม

ประโยชน์นิยม (utilitarianism) หมายถึง แนวคิดที่เชื่อว่าคุณค่าทางศีลธรรมเป็นการกระทำที่ขึ้นอยู่กับการทำประโยชน์เพื่อส่วนรวม กล่าวคือ เป็นการกระทำที่ก่อให้เกิดความสุขหรือความพอใจขึ้นในบุคคลโดยทั่วไป ซึ่งเป็นรูปแบบหนึ่งของผลลัพธ์นิยม หรือการยึดถือคุณค่าทางศีลธรรมขึ้นอยู่กับผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นเป็นหลัก นักคิดทั้งหลายได้นิยามคำว่า "ประโยชน์" นี้หมายถึงความดีสูงสุด ได้แก่ ความสุขหรือความพอใจ (ตรงกันข้ามกับความทรมานหรือความเจ็บปวด) ทำให้อาจสามารถอธิบายได้ด้วยรูปแบบของชีวิตว่า ความสุขหรือความพอใจถือได้ว่าเป็นสิ่งที่มีความสำคัญสูงสุด ประโยชน์นิยมถูกอธิบายด้วยถ้อยวลี "เป็นสิ่งดีสูงสุดสำหรับบุคคลจำนวนมากที่สุด" ดังนั้น ประโยชน์นิยมจึงเป็นที่รู้จักกันว่าเป็น "ทฤษฎีความสุขที่ยิ่งใหญ่ที่สุด" ประโยชน์นิยมยังเป็นการแสดงถึงลักษณะการเชื่อมโยงต่อหลักจริยธรรม ซึ่งมีความผิดแผกไปจากจริยศาสตร์ ซึ่งไม่พิจารณาว่าผลลัพธ์ของการกระทำเป็นตัวกำหนดศีลธรรม เป็นต้น โดยผู้ที่มีมุมมองตรงกันข้ามกับประโยชน์นิยมได้วิพากษ์วิจารณ์มุมมองในแบบประโยชน์นิยมอยู่เรื่อย ๆ แต่ผู้ลัทธิประโยชน์นิยมก็มีวิพากษ์วิจารณ์ต่อแนวคิดอื่น ๆ คล้าย ๆ กัน และเหมือนกับทฤษฎีทางจริยธรรมทั้งหลาย การปฏิบัติตามแนวคิดประโยชน์นิยมเองก็ต้องพึ่งองค์ประกอบภายนอกเช่นกัน ได้แก่ สติปัญญา ประสบการณ์ ทักษะสังคม และทักษะชีวิต.

3 ความสัมพันธ์: ศีลธรรมจริยธรรมความสุข

ศีลธรรม

ีลธรรม (Morality) หมายถึงความประพฤติที่ดีที่ชอบทั้งศีลและธรรม ศีลธรรม ในคำวัดหมายถึง เบญจศีล และ เบญจธรรม คือศีล 5 และธรรม 5 ซึ่งเป็นกฎเกณฑ์ของสังคมระดับต้นสำหรับให้สมาชิกสังคมประพฤติปฏิบัติเพื่อให้เกิดความสงบสุข ไม่สดุ้งกลัว ไม่หวาดระแวงภัย เป็นหลักประกันสังคมที่สำคัญ สังคมที่สงบสุข ไว้วางใจกันได้ เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ต่อกัน ไม่เบียดเบียน ไม่ทะเลาะ ไม่กดขี่ข่มเหง ไม่เอารัดเอาเปรียบกัน เป็นต้น ก็เพราะสมาชิกของสังคมยึดมั่นอยู่ในหลักศีลธรรมนี้ ศีลธรรม เป็นชื่อวิชาหนึ่งในโรงเรียนที่กำหนดให้นักเรียนทุกคนต้องเรียนมาตั้งแต่สมัยโบราณเรียกว่า วิชาศีลธรรม ปัจจุบันเรียกว่า วิชาพุทธศาสน.

ใหม่!!: ประโยชน์นิยมและศีลธรรม · ดูเพิ่มเติม »

จริยธรรม

ริยธรรม หรือ จริยศาสตร์ เป็นหนึ่งในวิชาหลักของวิชาปรัชญา ซึ่งศึกษาเกี่ยวกับความดีงามทางสังคมมนุษย์ จำแนกแยกแยะว่าสิ่งไหนถูกและสิ่งไหนผิด หากจะอธิบายอย่างง่ายๆ แล้ว จริยธรรม หมายถึง การแยกสิ่งถูกจากผิด ดีจากเลว มาจากคำ 2 คำคือ จริย กับธรรม ซึ่งแปลตามศัพท์ คือ จริยะ แปลว่า ความประพฤติ กิริยาที่ควรประพฤติ คำว่า ธรรม แปลว่า คุณความดี คำสั่งสอนในศาสนา หลักปฏิบัติในทางศาสนา ความจริง ความยุติธรรม ความถูกต้อง กฎเกณฑ์ เมื่อเอาคำ จริยะ มาต่อกับคำว่า ธรรม เป็นจริยธรรม แปลเอาความหมายว่า กฎเกณฑ์แห่งความประพฤติ หรือหลักความจริงที่เป็นแนวทางแห่งความประพฤติปฏิบัติ ความหมายตามพจนานุกรมในภาษาไทย จริยธรรม หมายถึง ธรรมที่เป็นข้อประพฤติ ศีลธรรมอันดี ตามธรรมเนียมยุโรป อาจเรียก จริยธรรมว่า Moral philosophy (หลักจริยธรรม) จริยธรรม น. ธรรมที่เป็นข้อประพฤติปฏิบัติ ศีลธรรม กฎศีลธรรม.

ใหม่!!: ประโยชน์นิยมและจริยธรรม · ดูเพิ่มเติม »

ความสุข

วามสุขมักแสดงออกผ่านรอยยิ้ม ความสุข หรือ สุข พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 นิยามว่า "น.

ใหม่!!: ประโยชน์นิยมและความสุข · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

ลัทธิประโยชน์นิยมสุขนิยม

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »