สารบัญ
27 ความสัมพันธ์: พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยกันยายน พ.ศ. 2548การประท้วงขับทักษิณ ชินวัตรออกจากตำแหน่งมิ่งขวัญ แสงสุวรรณมีศักดิ์ นาครัตน์รู้ทันทักษิณลูกแกะหลงทางลีนา จังจรรจาวสันต์ สิทธิเขตต์วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553วุฒิพงษ์ เพรียบจริยวัฒน์สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสโณ)สุวินัย ภรณวลัยสนธิ ลิ้มทองกุลสโรชา พรอุดมศักดิ์อัญชะลี ไพรีรักทักษิณ ชินวัตรคำนูณ สิทธิสมานประทิน สันติประภพปานเทพ พัวพงษ์พันธ์แผนฟินแลนด์เอเอสทีวีผู้จัดการเทียนแห่งธรรม11 พฤศจิกายน15 กันยายน2548 (เพลง)9 กันยายน
พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย
ันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย (People's Alliance for Democracy, PAD) หรือเรียกว่า กลุ่มพันธมิตรกู้ชาติ หรือ กลุ่มคนเสื้อเหลือง เป็นกลุ่มการเคลื่อนไหวทางการเมืองในประเทศไทยที่มีบทบาทสำคัญในช่วง พ.ศ.
ดู เมืองไทยรายสัปดาห์และพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย
กันยายน พ.ศ. 2548
อห์น โรเบิร์ต.
ดู เมืองไทยรายสัปดาห์และกันยายน พ.ศ. 2548
การประท้วงขับทักษิณ ชินวัตรออกจากตำแหน่ง
การประท้วงทักษิณ ชินวัตรออกจากตำแหน่ง เป็นเหตุการณ์ในประเทศไทยที่เริ่มต้นขึ้นตั้งแต่กลางปี พ.ศ. 2547 ในช่วงปลายรัฐบาลทักษิณ 1 เมื่อมีการรวมตัวของกลุ่มคนในนาม กลุ่มประชาชนเพื่อชาติและราชบัลลังก์ และมีการชุมนุมปราศรัยเพื่อขับ พ.ต.ท.
ดู เมืองไทยรายสัปดาห์และการประท้วงขับทักษิณ ชินวัตรออกจากตำแหน่ง
มิ่งขวัญ แสงสุวรรณ
นายมิ่งขวัญ แสงสุวรรณ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พรรคเพื่อไทย อดีตหัวหน้าทีมเศรษฐกิจ พรรคพลังประชาชน อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ อดีตกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ บริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) คนแรก และผู้อำนวยการองค์การสื่อสารมวลชนแห่งประเทศไทย คนสุดท้.
ดู เมืองไทยรายสัปดาห์และมิ่งขวัญ แสงสุวรรณ
มีศักดิ์ นาครัตน์
มีศักดิ์ นาครัตน์ (20 เมษายน พ.ศ. 2481 - 18 ตุลาคม พ.ศ. 2555) เป็นนักร้อง นักแสดง และนักแต่งเพลงแปลงที่มีผลงานเด่น ในช่วงทศวรรษ..
ดู เมืองไทยรายสัปดาห์และมีศักดิ์ นาครัตน์
รู้ทันทักษิณ
รู้ทันทักษิณ เป็นหนังสือที่วิพากษ์วิจารณ์การทำงานของ พันตำรวจโท ดร.ทักษิณ ชินวัตร ซึ่งขณะนั้นดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี โดยเสนอในรูปแบบของมุมมอง ความคิดเห็นของนักวิชาการชั้นนำหรือคนที่รู้จักทักษิณผ่านบทวิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์ เพี่อให้ผู้อ่านได้เข้าใจถึงการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในยุคทักษิณ ทั้งทางการเมือง เศรษฐกิจและสังคม โดยมีบรรณาธิการคือ รองศาสตราจารย์ ดร.
ดู เมืองไทยรายสัปดาห์และรู้ทันทักษิณ
ลูกแกะหลงทาง
ลูกแกะหลงทาง เป็นบทความที่มาจากความคิดเห็นในเว็บไซต์ผู้จัดการในหัวข้อ จากกัลยาณมิตรถึงนายกฯทักษิณ ชินวัตร (15): ประธานวุฒิสภาต้องลาออก เปิดทางให้วุฒิสภาแก้ปัญหา ส่งเรื่องกลับศาลรัฐธรรมนูญ โดย เซี่ยงเส้าหลง ในวันที่ 5 กันยายน..
ดู เมืองไทยรายสัปดาห์และลูกแกะหลงทาง
ลีนา จังจรรจา
ลีนา จังจรรจา เป็นที่รู้จักในชื่อ ลีน่าจัง (เกิด 14 กันยายน พ.ศ. 2502) เป็นอดีตหัวหน้าพรรคมหาประชาชน เคยลงสมัครรับเลือกตั้งเป็นผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครในปี 2547, 2551 และ 2552 นอกจากนี้ ยังเปิดร้านขายเครื่องสำอาง "ไฮโซไซตี้" ที่ประตูน้ำเซ็นเตอร์ และประกอบอาชีพทนายความ.
ดู เมืองไทยรายสัปดาห์และลีนา จังจรรจา
วสันต์ สิทธิเขตต์
วสันต์ สิทธิเขตต์ โปสเตอร์หาเสียงของพรรคศิลปิน วสันต์ สิทธิเขตต์ (เกิด 7 ตุลาคม พ.ศ. 2500) ศิลปินและนักเคลื่อนไหวทางสังคม เกิดที่อำเภอลาดยาว จังหวัดนครสวรรค์ เป็นพี่ชายของวิสามัญเมือง สิทธิเขตต์ นักวาดและช่างถ่ายภาพเปลือย เรียนศิลปะที่วิทยาลัยช่างศิลป์ กรุงเทพฯ ระหว่าง..
ดู เมืองไทยรายสัปดาห์และวสันต์ สิทธิเขตต์
วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553
วิกฤตการณ์การเมืองไท..
ดู เมืองไทยรายสัปดาห์และวิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553
วุฒิพงษ์ เพรียบจริยวัฒน์
ร.วุฒิพงษ์ เพรียบจริยวัฒน์ เป็นกรรมการผู้อำนวยการของสถาบันสหสวรรษ ซึ่งเป็นสถาบันวิชาการของภาคประชาชน ในอดีตเคยเป็นสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ช่วง..
ดู เมืองไทยรายสัปดาห์และวุฒิพงษ์ เพรียบจริยวัฒน์
สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสโณ)
มเด็จพระพุฒาจารย์ นามเดิม เกี่ยว โชคชัย ฉายา อุปเสโณ (11 มกราคม พ.ศ. 2471 - 10 สิงหาคม พ.ศ. 2556) เป็นสมเด็จพระราชาคณะฝ่ายมหานิกาย อดีตเจ้าอาวาสวัดสระเกศราชวรมหาวิหาร อดีตผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราช ประธานคณะผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราช และประธานสมัชชามหาคณิสสร เป็นพระเถระที่มีอาวุโสโดยสมณศักดิ์สูงสุดของมหาเถรสมาคมเดลินิวส์, 30 ธันวาคม 2547มติชน, 15 ม..
ดู เมืองไทยรายสัปดาห์และสมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสโณ)
สุวินัย ภรณวลัย
รองศาสตราจารย์ สุวินัย ภรณวลัย อาจารย์ประจำคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จบการศึกษาระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก จากมหาวิทยาลัยเกียวโต ประเทศญี่ปุ่น ในปี พ.ศ.
ดู เมืองไทยรายสัปดาห์และสุวินัย ภรณวลัย
สนธิ ลิ้มทองกุล
นธิ ลิ้มทองกุล (7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490 —) เป็น ประธานที่ปรึกษาสำนักพิมพ์บ้านพระอาทิตย์ นักหนังสือพิมพ์ นักเขียน ผู้ก่อตั้งและเจ้าของหนังสือพิมพ์ในเครือผู้จัดการ ผู้ดำเนินรายการกลางแจ้ง เมืองไทยรายสัปดาห์สัญจร ที่ปรึกษาสำนักพิมพ์ซุปเปอร์บันเทิง อดีตผู้ดำเนินรายการเมืองไทยรายสัปดาห์ ทางช่อง 9 อสมท.
ดู เมืองไทยรายสัปดาห์และสนธิ ลิ้มทองกุล
สโรชา พรอุดมศักดิ์
ณะจัดรายการเมืองไทยรายสัปดาห์สัญจร ที่สวนลุมพินี สโรชา พรอุดมศักดิ์ มีชื่อเล่นว่า "แอ้ม" ผู้ประกาศข่าว และ พิธีกรชาวไท.
ดู เมืองไทยรายสัปดาห์และสโรชา พรอุดมศักดิ์
อัญชะลี ไพรีรัก
อัญชะลี ไพรีรัก อัญชะลี ไพรีรัก เดิมชื่อ อัญชลี ไพรีรัก ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อตัวเป็น "อัญชะลี" เมื่อ..
ดู เมืองไทยรายสัปดาห์และอัญชะลี ไพรีรัก
ทักษิณ ชินวัตร
ทักษิณ ชินวัตร (เกิด 26 กรกฎาคม 2492) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 23 ดำรงตำแหน่งระหว่างปี 2544 ถึง 2549 และเป็นพี่ชายของยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 28 เคยเป็นนักธุรกิจโทรคมนาคมและการสื่อสาร ผู้ก่อตั้งกลุ่มบริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) บริษัทโทรคมนาคมและการสื่อสารขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทย อดีตข้าราชการตำรวจ (ชั้นยศสูงสุดที่ พันตำรวจโท) อดีตเจ้าของและประธานสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ซิตี อดีตที่ปรึกษาทางเศรษฐกิจของรัฐบาลกัมพูชา และ ศาสตราจารย์อาคันตุกะแห่งมหาวิทยาลัยทากุโชกุ มีสัญชาติไทยโดยการเกิด ปัจจุบันถือสัญชาติมอนเตเนโกร ปี 2537 ทักษิณเข้าสู่วงการเมืองสังกัดพรรคพลังธรรม โดยการชักนำของพลตรี จำลอง ศรีเมือง ต่อมาก่อตั้งพรรคไทยรักไทย ในปี 2541 หลังการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการทั่วไป พ.ศ.
ดู เมืองไทยรายสัปดาห์และทักษิณ ชินวัตร
คำนูณ สิทธิสมาน
ำนูณ สิทธิสมาน คำนูณ สิทธิสมาน (เกิด 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2498) สมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาจากโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ปริญญาตรีจากคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โดยในระหว่างที่เรียนมีบทบาทเป็นเลขาธิการศูนย์กลางนิสิตนักศึกษาแห่งประเทศไทย (ศนท.) ในปี..
ดู เมืองไทยรายสัปดาห์และคำนูณ สิทธิสมาน
ประทิน สันติประภพ
ณะที่ พล.ต.อ.ประทิน ชกเข้าที่ใบหน้า นายอดุลย์ วันไชยธนวงศ์ พลตำรวจเอกประทิน สันติประภพ (19 มิถุนายน พ.ศ. 2477 ที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา นามสกุลเดิม "ก้อนแก้ว") อดีตสมาชิกวุฒิสภากรุงเทพมหานคร อดีตอธิบดีกรมตำรวจและเป็นบิดาของ วิรไท สันติประภพ ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทยคนที่ 20.
ดู เมืองไทยรายสัปดาห์และประทิน สันติประภพ
ปานเทพ พัวพงษ์พันธ์
ปานเทพ พัวพงษ์พันธ์ ผู้จัดรายการ "ยามเฝ้าแผ่นดิน" และคอลัมนิสต์ หนังสือพิมพ์ผู้จัดการ เกิดวันที่ 12 สิงหาคม พ.ศ.
ดู เมืองไทยรายสัปดาห์และปานเทพ พัวพงษ์พันธ์
แผนฟินแลนด์
แผนฟินแลนด์ หรือ ยุทธศาสตร์ฟินแลนด์ หรือ ปฏิญญาฟินแลนด์ เป็นทฤษฎีสมคบคิดที่ได้รับการกล่าวถึงเป็นครั้งแรกโดยปราโมทย์ นาครทรรพ ทางหนังสือพิมพ์ผู้จัดการและเว็บไซต์ผู้จัดการออนไลน์ ซึ่งสนธิ ลิ้มทองกุลและกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยนำมาเผยแพร่จนเป็นที่รู้จักในวงกว้าง ในบทความของปราโมทย์ นาครทรรพ ระบุว่า แผนนี้ถือกำเนิดขึ้นในปี..
ดู เมืองไทยรายสัปดาห์และแผนฟินแลนด์
เอเอสทีวีผู้จัดการ
ผู้จัดการ 360° เป็นหนังสือพิมพ์ธุรกิจรายวันภาษาไทย ในเครือผู้จัดการ วางแผง(วันจันทร์-วันเสาร์)โดยฉบับ(วันเสาร์จะควบวันอาทิตย์) วางจำหน่ายฉบับปฐมฤกษ์ (ในชื่อเอเอสทีวีผู้จัดการ) เมื่อวันศุกร์ที่ 21 พฤศจิกายน..
ดู เมืองไทยรายสัปดาห์และเอเอสทีวีผู้จัดการ
เทียนแห่งธรรม
ทียนแห่งธรรม เป็นบทเพลงที่ร้องและแต่งโดยเธียรพงศ์ เพชรพลอย (เทียรี่ ลาสเวกัส) นักร้องชาวไทยที่ใช้ชีวิตอยู่ที่สหรัฐอเมริกา แต่งขึ้นมาโดยได้รับแรงบันดาลใจจากการต่อสู้ขับไล่ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตรของนายสนธิ ลิ้มทองกุล โดยผู้แต่งกล่าวว่า นิยมที่นายสนธิต่อสู้ด้วยความสงบและใช้ธรรมะนำหน้า โดยเนื้อเพลงก็เขียนขึ้นมาจากคำพูดของนายสนธิเป็นส่วนใหญ่ เพลงนี้ได้ถูกร้องขึ้นมาเป็นครั้งแรกในร้านอาหารแห่งหนึ่งในนิวยอร์กที่มีคนไทยในสหรัฐอเมริกาเป็นเจ้าของ และมีแขกชาวไทยผู้เข้ามารับประทานอาหารในร้านได้ฟังและชอบใจ จึงชักชวนไปอัดเสียงที่บ้านของตัวเองซึ่งทำเป็นสตูดิโอ ใช้เวลาประมาณ 1 ชั่วโมง โดยมีเครื่องดนตรีเพียงกีตาร์กับอิเล็กโทนอย่างละตัวเท่านั้น จากนั้นเจ้าของบ้านจึงส่งบทเพลงทั้งหมดให้แก่ทีมงานผู้จัดการเพื่อทำการเผยแพร่ โดยที่ผู้แต่งและผู้ร้องเองไม่ทราบมาก่อนล่วงหน้าด้วยซ้ำ เทียนแห่งธรรม เผยแพร่ในที่สาธารณะครั้งแรก เมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ.
ดู เมืองไทยรายสัปดาห์และเทียนแห่งธรรม
11 พฤศจิกายน
วันที่ 11 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 315 ของปี (วันที่ 316 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 50 วันในปีนั้น.
ดู เมืองไทยรายสัปดาห์และ11 พฤศจิกายน
15 กันยายน
วันที่ 15 ก.. เป็นวันที่ 258 ของปี (วันที่ 259 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 107 วันในปีนั้น.
ดู เมืองไทยรายสัปดาห์และ15 กันยายน
2548 (เพลง)
นื้อเพลงที่เขียนโดย สุรชัย จันทิมาธร 2548 เป็นเพลงที่แต่งและขับร้องโดย สุรชัย จันทิมาธร หรือ หงา คาราวาน ที่แต่งขึ้นเพื่อให้กำลังใจนายสนธิ ลิ้มทองกุล หลังจากการถูกถอดรายการเมืองไทยรายสัปดาห์จากช่อง 9 ได้ไม่นาน โดยแต่งขึ้นและร้องสดเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 22 กันยายน พ.ศ.
ดู เมืองไทยรายสัปดาห์และ2548 (เพลง)
9 กันยายน
วันที่ 9 กันยายน เป็นวันที่ 252 ของปี (วันที่ 253 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 113 วันในปีนั้น.
ดู เมืองไทยรายสัปดาห์และ9 กันยายน
หรือที่รู้จักกันในชื่อ รายการเมืองไทยรายสัปดาห์เมืองไทยรายสัปดาห์สัญจร