สารบัญ
10 ความสัมพันธ์: ชาร์ล เมซีเยพ.ศ. 2324กระจุกดาวกลุ่มดาวผมเบเรนิซวัตถุท้องฟ้าของเมซีเยดาราจักรปีแสงเมตรต่อวินาทีเนบิวลา17 มีนาคม
- กลุ่มดาวผมเบเรนิซ
- วัตถุทางดาราศาสตร์ที่ค้นพบในปี พ.ศ. 2324
- วัตถุท้องฟ้าของยูจีซี
- วัตถุท้องฟ้าของเมซีเย
- วัตถุท้องฟ้าของเอ็นจีซี
ชาร์ล เมซีเย
ร์ล เมซีเย ชาร์ล เมซีเย (Charles Messier; 26 มิถุนายน ค.ศ. 1730 - 12 เมษายน ค.ศ. 1817) เป็นนักดาราศาสตร์ชาวฝรั่งเศส มีชื่อเสียงจากการจัดทำและเผยแพร่เอกสารทางดาราศาสตร์ ว่าด้วยรายชื่อของวัตถุท้องฟ้าในห้วงอวกาศลึก เช่น เนบิวลา และกระจุกดาว ซึ่งในเวลาต่อมาเป็นที่รู้จักกันว่า "วัตถุท้องฟ้าของเมซีเย" ในเบื้องแรกรายชือวัตถุท้องฟ้าเหล่านี้จัดทำขึ้นเพื่อช่วยในภารกิจของนักล่าดาวหาง (ตัวเขาเองก็เป็นคนหนึ่ง) และนักสังเกตการณ์ทางดาราศาสตร์คนอื่นๆ ให้สามารถแยกแยะระหว่างวัตถุท้องฟ้าที่ปรากฏเป็นการถาวรกับที่ปรากฏเพียงชั่วคราวออกจากกัน.
พ.ศ. 2324
ทธศักราช 2324 ตรงกับคริสต์ศักราช 1781 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินจูเลียน.
กระจุกดาว
กระจุกดาว M80 เป็นกระจุกดาวทรงกลม กระจุกดาวไฮยาดีสในกลุ่มดาววัว เป็นกระจุกดาวเปิด กระจุกดาว (Star Cluster) คือกลุ่มของดาวฤกษ์ที่อยู่ด้วยกันด้วยแรงดึงดูดจากความโน้มถ่วง สามารถแบ่งได้เป็นสองประเภทใหญ่ ๆ คือ กระจุกดาวทรงกลม เป็นกลุ่มของดาวฤกษ์อายุมากนับแสนดวงที่อยู่ด้วยกันด้วยแรงดึงดูดค่อนข้างมาก กับ กระจุกดาวเปิด ที่มีดาวฤกษ์น้อยกว่า เพียงไม่กี่ร้อยดวงในกลุ่ม เป็นดาวฤกษ์อายุน้อย และมีแรงดึงดูดต่อกันเพียงหลวม ๆ กระจุกดาวเปิดอาจเกิดการรบกวนจากแรงโน้มถ่วงของเมฆโมเลกุลขนาดยักษ์ในยามที่มันเคลื่อนผ่านไปในกาแล็กซี แต่ดาวสมาชิกในกระจุกดาวยังคงเคลื่อนที่ไปในทิศทางเดียวกันได้แม้จะไม่มีแรงโน้มถ่วงดึงดูดระหว่างกันแล้ว ในกรณีนี้จะเรียกมันว่า ชุมนุมดาว (stellar association) หรือบางครั้งอาจเรียกว่า กลุ่มเคลื่อนที่ (moving group).
กลุ่มดาวผมเบเรนิซ
กลุ่มดาวผมเบเรนิซ เป็นกลุ่มดาวที่เคยเป็นเพียงดาวเรียงเด่นมาก่อน อยู่ใกล้กลุ่มดาวสิงโต ในอดีตจึงเคยยอมรับกันว่าเป็นส่วนหางของสิงโต หมวดหมู่:กลุ่มดาว หมวดหมู่:กลุ่มดาวผมเบเรนิซ.
ดู เมซีเย 99และกลุ่มดาวผมเบเรนิซ
วัตถุท้องฟ้าของเมซีเย
วัตถุท้องฟ้าของเมซีเย (Messier object) เป็นกลุ่มของวัตถุทางดาราศาสตร์ที่มีการจัดหมวดหมู่ขึ้นเป็นครั้งแรก โดยนักดาราศาสตร์ชาวฝรั่งเศส ชื่อ ชาร์ล เมซีเย ในผลงานชุด "Catalogue des Nébuleuses et des Amas d'Étoiles" (รายการเนบิวลาและกระจุกดาว) ซึ่งเผยแพร่ในปี ค.ศ.
ดู เมซีเย 99และวัตถุท้องฟ้าของเมซีเย
ดาราจักร
ราจักร '''NGC 4414''' ซึ่งเป็นดาราจักรชนิดก้นหอย มีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 56,000 ปีแสง และอยู่ห่างจากโลกประมาณ 60 ล้านปีแสง ดาราจักร หรือ กาแล็กซี (galaxy) เป็นกลุ่มของดาวฤกษ์นับล้านดวง กับสสารระหว่างดาวอันประกอบด้วยแก๊ส ฝุ่น และสสารมืด รวมอยู่ด้วยกันด้วยแรงโน้มถ่วง คำนี้มีที่มาจากภาษากรีกว่า galaxias หมายถึง "น้ำนม" ซึ่งสื่อโดยตรงถึงดาราจักรทางช้างเผือก (Milky Way) ดาราจักรโดยทั่วไปมีขนาดน้อยใหญ่ต่างกัน นับแต่ดาราจักรแคระที่มีดาวฤกษ์ประมาณสิบล้านดวง ไปจนถึงดาราจักรขนาดยักษ์ที่มีดาวฤกษ์นับถึงล้านล้านดวง.
ปีแสง
ปีแสง (อังกฤษ: light-year) คือ หน่วยของระยะทางในทางดาราศาสตร์ 1 ปีแสง เท่ากับระยะทางที่แสงเดินทางในเวลา 1 ปี จากอัตราเร็วแสงที่มีค่า 299,792,458 เมตร/วินาที ระยะทาง 1 ปีแสงจึงมีค่าประมาณ 9.4607 กิโลเมตร.
เมตรต่อวินาที
มตรต่อวินาที (meter per second หรือย่อว่า m/s) เป็นหน่วยเอสไอ ของทั้งความเร็วและอัตราเร็วที่เป็นสเกลาร์ และเวกเตอร์ เป็นค่าของระยะทางวัดเป็นเมตรเทียบกับเวลาเป็นวินาที สัญลักษณ์นิยมเขียนในรูปภาษาอังกฤษว่า m/s หรือ m s-1.
เนบิวลา
อ็นจีซี 604 (NGC 604) เป็นเนบิวลาที่อยู่ภายในแขนของดาราจักรเอ็ม 33 (M33) ในกลุ่มดาวสามเหลี่ยม อยู่ห่างจากโลก 2.7 ล้านปีแสง เนบิวลานี้เป็นบริเวณก่อตัวของดาวฤกษ์ดวงใหม่ เนบิวลานาฬิกาทราย (MyCn18) เป็นเนบิวลาดาวเคราะห์อายุน้อย อยู่ห่างจากโลกประมาณ 8,000 ปีแสง ภาพนี้ถ่ายด้วยกล้องถ่ายภาพที่ติดตั้งบนกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลขององค์การนาซา เนบิวลา (Nebula - มาจากภาษาละติน nebula (พหูพจน์ nebulae) หมายถึง "หมอก") เป็นกลุ่มเมฆหมอกของฝุ่น แก๊ส และพลาสมาในอวกาศ เดิมคำว่า "เนบิวลา" เป็นชื่อสามัญ ใช้เรียกวัตถุทางดาราศาสตร์ที่เป็นปื้นบนท้องฟ้าซึ่งรวมถึงดาราจักรที่อยู่ห่างไกลออกไปจากทางช้างเผือก (ตัวอย่างเช่น ในอดีตเคยเรียกดาราจักรแอนดรอเมดาว่าเนบิวลาแอนดรอเมดา).
17 มีนาคม
วันที่ 17 มีนาคม เป็นวันที่ 76 ของปี (วันที่ 77 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 289 วันในปีนั้น.
ดูเพิ่มเติม
กลุ่มดาวผมเบเรนิซ
- กลุ่มดาวผมเบเรนิซ
- ดาราจักรตาดำ
- เมซีเย 98
- เมซีเย 99
วัตถุทางดาราศาสตร์ที่ค้นพบในปี พ.ศ. 2324
- ดาราจักรหมวกปีก
- ดาวยูเรนัส
- เมซีเย 103
- เมซีเย 106
- เมซีเย 98
- เมซีเย 99
วัตถุท้องฟ้าของยูจีซี
- ดาราจักรน้ำวน
- ดาราจักรสามเหลี่ยม
- ดาราจักรแอนดรอเมดา
- เมซีเย 106
- เมซีเย 74
- เมซีเย 82
- เมซีเย 98
- เมซีเย 99
- เอ็นจีซี 3949
- เอ็นจีซี 4236
วัตถุท้องฟ้าของเมซีเย
- กระจุกดาวผีเสื้อ
- กระจุกดาวรวงผึ้ง
- กระจุกดาวลูกไก่
- กระจุกดาวเป็ดป่า
- ดาราจักรตาดำ
- ดาราจักรน้ำวน
- ดาราจักรสามเหลี่ยม
- ดาราจักรหมวกปีก
- ดาราจักรแอนดรอเมดา
- วัตถุท้องฟ้าของเมซีเย
- เนบิวลาดัมบ์เบลล์
- เนบิวลาทะเลสาบ
- เนบิวลานกอินทรี
- เนบิวลานายพราน
- เนบิวลาปู
- เนบิวลาวงแหวน
- เมซีเย 103
- เมซีเย 106
- เมซีเย 18
- เมซีเย 2
- เมซีเย 3
- เมซีเย 4
- เมซีเย 5
- เมซีเย 7
- เมซีเย 74
- เมซีเย 78
- เมซีเย 82
- เมซีเย 98
- เมซีเย 99
วัตถุท้องฟ้าของเอ็นจีซี
- กระจุกดาวผีเสื้อ
- กระจุกดาวรวงผึ้ง
- กระจุกดาวลูกไก่
- กระจุกดาวเป็ดป่า
- ดาราจักรตาดำ
- ดาราจักรน้ำวน
- ดาราจักรสามเหลี่ยม
- ดาราจักรหนวดแมลง
- ดาราจักรหมวกปีก
- ดาราจักรแอนดรอเมดา
- เนบิวลากระดูกงูเรือ
- เนบิวลาดัมบ์เบลล์
- เนบิวลาดาวเสาร์
- เนบิวลาตาแมว
- เนบิวลาทะเลสาบ
- เนบิวลานกอินทรี
- เนบิวลานายพราน
- เนบิวลาบึ้ง
- เนบิวลาปู
- เนบิวลาวงแหวน
- เนบิวลาอเมริกาเหนือ
- เนบิวลาเอสกิโม
- เมฆมาเจลลันเล็ก
- เมซีเย 103
- เมซีเย 106
- เมซีเย 18
- เมซีเย 2
- เมซีเย 3
- เมซีเย 4
- เมซีเย 5
- เมซีเย 7
- เมซีเย 74
- เมซีเย 78
- เมซีเย 82
- เมซีเย 98
- เมซีเย 99
- เอ็นจีซี 1427 เอ
- เอ็นจีซี 2207 และไอซี 2163
- เอ็นจีซี 3949
- เอ็นจีซี 4236
- เอ็นจีซี 5189
- เอ็นจีซี 6357
- โอเมกาคนครึ่งม้า
หรือที่รู้จักกันในชื่อ Messier 99