โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ดาราจักรหนวดแมลง

ดัชนี ดาราจักรหนวดแมลง

ราจักรหนวดแมลง (ที่รู้จักกันดี คือ NGC 4038/NGC 4039 หรือ Caldwell 60/61) เป็นคู่ของดาราจักรมีปฏิสัมพันธ์อยู่ในกลุ่มดาวนกกา พวกเขากำลังจะผ่านระยะของ ดาวกระจาย ถูกค้นพบโดย วิลเลียม เฮอร์เชล ในปี ค.ศ. 1785 NGC 4038 ตั้งอยู่ใน RA, Dec; และ NGC 4039 ตั้งอยู่ใน RA, Dec.

7 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2328กลุ่มดาวนกกาวิลเลียม เฮอร์เชลหอดูดาวท้องฟ้าซีกใต้แห่งยุโรปดาราจักรชนิดดาวกระจายดาราจักรน้ำวนปีแสง

พ.ศ. 2328

ทธศักราช 2328 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ดาราจักรหนวดแมลงและพ.ศ. 2328 · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มดาวนกกา

กลุ่มดาวนกกา เป็นกลุ่มดาวขนาดเล็กในซีกฟ้าใต้ หนึ่งในกลุ่มดาว 48 กลุ่มที่อยู่ในรายการของทอเลมี และยังเป็นกลุ่มดาวในรายการกลุ่มดาว 88 กลุ่มที่รับรองโดยสหพันธ์ดาราศาสตร์สากล ในเทพปกรณัมกรีก กลุ่มดาวนี้มีดาวฤกษ์ที่สว่างมองเห็นได้ด้วยเปล่าเพียง 11 ดวง (สว่างกว่าโชติมาตร 5.5) หมวดหมู่:กลุ่มดาว หมวดหมู่:กลุ่มดาวนกกา.

ใหม่!!: ดาราจักรหนวดแมลงและกลุ่มดาวนกกา · ดูเพิ่มเติม »

วิลเลียม เฮอร์เชล

วิลเลียม เฮอร์เชล วิลเลียม เฮอร์เชล (William Herschel) (พ.ศ. 2281 - 2365) เป็นนักดาราศาสตร์ชาวอังกฤษเชื้อสายเยอรมัน ผู้ค้นพบดาวยูเรนัสโดยบังเอิญใน พ.ศ. 2324 ขณะเขากำลังส่องกล้องโทรทรรศน์ศึกษาดาวฤกษ์ ดาวยูเรนัสเป็นดาวเคราะห์ที่มองไม่เห็นด้วยตาเปล่าดวงแรกที่ถูกค้นพบ เฮอร์เชลเป็นนักดนตรีอาชีพที่อพยพจากเมืองฮันโนเวอร์ (ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของเยอรมนี) มาตั้งหลักแหล่งอยู่ในอังกฤษ งานอดิเรกของเขาคือ การสร้างกล้องโทรทรรศน์ และมีความชำนาญมากในการศึกษาสังเกตดวงดาว การค้นพบดาวยูเรนัสทำให้เฮอร์เชลมีชื่อเสียงโด่งดังทั่วโลก น้องสาวของเขา คือ แคโรลีน เฮอร์เชล (พ.ศ. 2293 - 2391) ทำงานร่วมกับเขา และได้ค้นพบดาวหางหลายดวง.

ใหม่!!: ดาราจักรหนวดแมลงและวิลเลียม เฮอร์เชล · ดูเพิ่มเติม »

หอดูดาวท้องฟ้าซีกใต้แห่งยุโรป

หอดูดาวท้องฟ้าซีกใต้แห่งยุโรป (European Southern Observatory; ESO) มีชื่อเต็มอย่างเป็นทางการว่า European Organization for Astronomical Research in the Southern Hemisphere หรือ องค์การแห่งยุโรปเพื่อการวิจัยทางดาราศาสตร์ในท้องฟ้าซีกใต้ เป็นองค์กรวิจัยนานาชาติสำหรับการศึกษาด้านดาราศาสตร์ ภายใต้การสนับสนุนของประเทศต่างๆ ในทวีปยุโรป 14 ประเทศ ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี..

ใหม่!!: ดาราจักรหนวดแมลงและหอดูดาวท้องฟ้าซีกใต้แห่งยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

ดาราจักรชนิดดาวกระจาย

ราจักรหนวดแมลง ตัวอย่างของดาราจักรชนิดดาวกระจายระดับสูง เกิดจากการปะทะกันระหว่างดาราจักร NGC 4038 กับ NGC 4039 ปฏิกิริยาดาวกระจายที่เกิดขึ้นย่านใจกลางของดาราจักรแคระ NGC 1569 ภาพถ่ายจากกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล ดาราจักรชนิดดาวกระจาย (Starburst Galaxy) คือดาราจักรที่อยู่ในกระบวนการก่อเกิดดาวฤกษ์ใหม่ในอัตราสูงเป็นพิเศษ เมื่อเปรียบเทียบกับอัตราการก่อเกิดดาวฤกษ์ใหม่ที่พบในดาราจักรทั่วไป บ่อยครั้งที่มักตรวจพบดาราจักรที่ก่อเกิดดาวฤกษ์ใหม่อย่างมหาศาลภายหลังการปะทะกันระหว่างดาราจักรสองแห่ง อัตราการเกิดดาวฤกษ์นี้มีมากขนาดที่ว่า หากคงอัตราเดิมต่อไป แก๊สที่มีอยู่ในดาราจักรจะถูกใช้หมดไปในเวลาอันสั้นกว่าอายุเฉลี่ยของดาราจักรอย่างมาก เหตุนี้การเกิดปฏิกิริยาดาวกระจายจำนวนมากจึงเป็นภาวะชั่วคราวเท่านั้น ดาราจักรชนิดดาวกระจายที่มีชื่อเสียงได้แก่ ดาราจักร M82 ดาราจักร NGC 4038/NGC 4039 (ดาราจักรแอนเทนนา) และดาราจักร IC 10 เป็นต้น.

ใหม่!!: ดาราจักรหนวดแมลงและดาราจักรชนิดดาวกระจาย · ดูเพิ่มเติม »

ดาราจักรน้ำวน

ราจักรน้ำวน (Whirlpool Galaxy; บางครั้งรู้จักในชื่อ วัตถุเมสสิเยร์ M51a หรือ NGC 5194) เป็นดาราจักรชนิดก้นหอยที่เกิดอันตรกิริยาขนาดใหญ่ อยู่ในบริเวณกลุ่มดาวสุนัขล่าเนื้อ ห่างออกไปประมาณ 23 ล้านปีแสง นับเป็นหนึ่งในบรรดาดาราจักรชนิดก้นหอยที่มีชื่อเสียงมากที่สุดบนท้องฟ้า ดาราจักรนี้กับคู่ของมัน (ดาราจักร NGC 5195) สามารถสังเกตเห็นได้ง่ายโดยนักดาราศาสตร์สมัครเล่นทั่วไป โดยสามารถมองเห็นดาราจักรทั้งสองแห่งนี้ได้โดยกล้องสองตาธรรมดา สำหรับนักดาราศาสตร์อาชีพแล้ว ดาราจักรน้ำวนนี้ก็ยังเป็นวัตถุยอดนิยมสำหรับใช้ในการศึกษาทำความเข้าใจกับโครงสร้างของดาราจักร (โดยเฉพาะโครงสร้างส่วนที่เกี่ยวกับแขนกังหัน) และอันตรกิริยาระหว่างดาราจักร.

ใหม่!!: ดาราจักรหนวดแมลงและดาราจักรน้ำวน · ดูเพิ่มเติม »

ปีแสง

ปีแสง (อังกฤษ: light-year) คือ หน่วยของระยะทางในทางดาราศาสตร์ 1 ปีแสง เท่ากับระยะทางที่แสงเดินทางในเวลา 1 ปี จากอัตราเร็วแสงที่มีค่า 299,792,458 เมตร/วินาที ระยะทาง 1 ปีแสงจึงมีค่าประมาณ 9.4607 กิโลเมตร.

ใหม่!!: ดาราจักรหนวดแมลงและปีแสง · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Antennae Galaxiesดาราจักรแอนเท็นนา

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »