โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พระนางเชงสอบู

ดัชนี พระนางเชงสอบู

ระนางเชงสอบู (ရှင်စောပု,; သေဝ်စါဝ်ပေါအ်; อักษรโรมัน: Shin Sawbu; ในราชาธิราชฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) ถอดเสียงเป็น แสจาโป) หรือ พระนางพระยาท้าว, ตละเจ้าปุ, พระนางพญาท้าว, ตละเจ้าท้าว และ นางพระยาตละเจ้าท้าว (ဗညားထောဝ်; อักษรโรมัน: Binnya Thau) เป็นกษัตริย์หญิงแห่งอาณาจักรมอญเพียงพระองค์เดียวที่ปกครองชาวมอญเป็นเวลา 17 ปี (พ.ศ. 1996 - 2013) และถือเป็นกษัตริย์ในราชวงศ์ฟ้ารั่วองค์สุดท้ายที่ปกครองอาณาจักรมอญ พระองค์เป็นพระราชธิดาในพระเจ้าราชาธิราช หลังจากพระเจ้าราชาธิราชเสด็จสวรรคต ได้มีกษัตริย์สืบต่อมาอีกหลายพระองค์จนสิ้นรัชทายาทที่เป็นบุรุษ จึงได้ยกพระนางขึ้นปกครองแทน.

26 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 1968พ.ศ. 1989พ.ศ. 1996พ.ศ. 2013พญาพะโรพญารามที่ 1พญาธรรมราชาพระนางชินโบเมพระไตรปิฎกพระเจ้ากะเลเจตองโญพระเจ้าฝรั่งมังศรีพระเจ้ามินละแหง่พระเจ้าราชาธิราชพระเจ้าธรรมเจดีย์พะสิมพะโคมะมุดตาวรายพระนามพระมหากษัตริย์พม่าลอนดอนศาสนาพุทธหลวงวิจิตรวาทการ (วิจิตร วิจิตรวาทการ)อาณาจักรมอญอาณาจักรหงสาวดีเมาะตะมะเจดีย์ชเวดากองเถรวาท

พ.ศ. 1968

ทธศักราช 1968 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พระนางเชงสอบูและพ.ศ. 1968 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1989

ทธศักราช 1989 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พระนางเชงสอบูและพ.ศ. 1989 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1996

ทธศักราช 1996 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พระนางเชงสอบูและพ.ศ. 1996 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2013

แผนที่ทวีปยุโรปเมื่อ ค.ศ. 1470 พุทธศักราช 2013 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พระนางเชงสอบูและพ.ศ. 2013 · ดูเพิ่มเติม »

พญาพะโร

ญาพะโร (ဗညားဗရူး บะญาบะยู,; ဗညားဗရောဝ်; ประมาณ 1418–1451) พงศาวดารมอญพม่าเรียกว่าพระยาแก่นท้าว เป็นพระเจ้าหงสาวดีรัชกาลที่ 12 ครองราชสมบัติระหว่าง..

ใหม่!!: พระนางเชงสอบูและพญาพะโร · ดูเพิ่มเติม »

พญารามที่ 1

ญารามที่ 1 (ပထမ ဗညားရံ,; ဗညားရာံ; 1393–1446) หรือบางครั้งเรียก พระเจ้ารามาราชาธิราช กษัตริย์องค์ที่ 11 แห่ง อาณาจักรหงสาวดี ครองสิริราชสมบัติระหว่าง..

ใหม่!!: พระนางเชงสอบูและพญารามที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

พญาธรรมราชา

ญาธรรมราชา (ဗညားဓမ္မရာဇာ,; บางครั้งเรียก พระเจ้าสุโทธรรมราชาธิราช, ประมาณ 1392 – 1424) หรือในพงศาวดารมอญเรียก พระเจ้าบินยธรรมราชา กษัตริย์องค์ที่ 10 แห่ง อาณาจักรหงสาวดี ครองสิริราชสมบัติระหว่าง..

ใหม่!!: พระนางเชงสอบูและพญาธรรมราชา · ดูเพิ่มเติม »

พระนางชินโบเม

พระนางชินโบเม (ရှင်ဘို့မယ်; พระมเหสีในกษัตริย์แห่ง อาณาจักรอังวะ ถึง 5 พระองค์พระนางชินโบเมเป็นพระมเหสีที่มีความงดงามทำให้เป็นที่โปรดปรานของ พระเจ้าฝรั่งมังฆ้อง กษัตริย์องค์ที่ 4 จึงได้รับการสถาปนาเป็นพระอัครมเหสีเมื่อ ค.ศ. 1407 ต่อมาได้เป็นที่โปรดปรานของ พระเจ้าฝรั่งมังศรี กษัตริย์องค์ที่ 5 พระราชโอรสของพระเจ้าฝรั่งมังฆ้อง กระทั่ง พระนางเชงสอบู ได้เข้ามาเป็นพระมเหสีเมื่อ ค.ศ. 1424 ในเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 1425 พระนางชินโบเมมีส่วนเกี่ยวข้องกับการสวรรคตของพระเจ้าฝรั่งมังศรี ต่อมาพระนางได้อภิเษกกับ พระเจ้ามินละแหง่ กษัตริย์องค์ที่ 6 ซึ่งเป็นพระราชโอรสองค์ใหญ่ของพระเจ้าฝรั่งมังศรี อีก 3 เดือนต่อมาพระนางได้วางยาพิษปลงพระชนม์องค์ยุวกษัตริย์เพื่อให้ชู้รักคือ เจ้าฟ้ากะเลเจตองนโย ขึ้นสืบราชบัลลังก์แห่งอังวะและอีกครั้งที่พระนางได้เป็นพระอัครมเหสี ต่อมาในเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1526 พระเจ้ากะเลเจตองนโยถูกโค่นราชบัลลังก์โดย โม่ญี่นตะโด แห่งเมือง โม่ญี่น ซึ่งพระองค์ได้สถาปนาพระนางชินโบเมเป็นพระมเหสีรอง หมวดหมู่:ราชวงศ์อังวะ.

ใหม่!!: พระนางเชงสอบูและพระนางชินโบเม · ดูเพิ่มเติม »

พระไตรปิฎก

ระไตรปิฎก (Tipiṭaka; त्रिपिटक) เป็นคัมภีร์ที่บันทึกคำสอนของพระโคตมพุทธเจ้า ไตรปิฎก แปลว่า ตะกร้า 3 ใบ เพราะเนื้อหาแบ่งเป็น 3 หมวดใหญ่ ๆ คือ.

ใหม่!!: พระนางเชงสอบูและพระไตรปิฎก · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้ากะเลเจตองโญ

ระเจ้ากะเลเจตองนโย (ကလေး ကျေးတောင်ညို; 1385 – 1426) กษัตริย์ลำดับที่ 7 แห่ง อาณาจักรอังวะ ครองสิริราชสมบัติเพียง 6 เดือนจากเดือนพฤศจิกายน..

ใหม่!!: พระนางเชงสอบูและพระเจ้ากะเลเจตองโญ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าฝรั่งมังศรี

นัตของพระเจ้าฝรั่งมังศรี พระเจ้าฝรั่งมังศรี (သီဟသူ (အင်းဝ),; 1394–1425) หรือ พระเจ้าสีหตูแห่งอังวะ กษัตริย์องค์ที่ 5 แห่งอาณาจักรอังวะครองสิริราชสมบัติระหว่าง..

ใหม่!!: พระนางเชงสอบูและพระเจ้าฝรั่งมังศรี · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้ามินละแหง่

ระเจ้ามินลาเง (မင်းလှငယ်,; 1418–1425) กษัตริย์องค์ที่ 6 แห่ง อาณาจักรอังวะ เป็นเวลา 3 เดือนใน..

ใหม่!!: พระนางเชงสอบูและพระเจ้ามินละแหง่ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าราชาธิราช

ระเจ้าราชาธิราช (ရာဇာဓိရာဇ်, หย่าซาดะยิต; ค.ศ. 1368–1421) มีพระนามเดิมว่า พญาน้อย (ဗညားနွဲ့) ทรงเป็นกษัตริย์มอญแห่งราชอาณาจักรหงสาวดี ระหว่างปี..

ใหม่!!: พระนางเชงสอบูและพระเจ้าราชาธิราช · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าธรรมเจดีย์

ระเจ้าธรรมเจดีย์ (ဓမ္မစေတီ,; c. 1409–1492) กษัตริย์องค์ที่ 16 แห่ง อาณาจักรหงสาวดี ครองสิริราชสมบัติระหว่างปี..

ใหม่!!: พระนางเชงสอบูและพระเจ้าธรรมเจดีย์ · ดูเพิ่มเติม »

พะสิม

ม (ဖာသဳ พะแซม) หรือ บัสเซียน (Bassein) เป็นเมืองท่าสำคัญและเป็นเมืองศูนย์กลางของเขตอิรวดี ห่างจากนครย่างกุ้งมาทางตะวันตกเฉียงใต้ ริมแม่น้ำพะสิม ซึ่งเป็นแม่น้ำสาขาฝั่งตะวันตกของแม่น้ำอิรวดี เมืองนี้มีประชากร 237,089 คน (ค.ศ. 2017) ถึงแม้จะเคยเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรมอญ แต่ปัจจุบันก็มีชาวมอญเหลืออยู่น้อยมาก กลุ่มชาติพันธุ์หลักในปัจจุบัน ได้แก่ ชาวพม่า พม่าเชื้อสายอินเดีย ชาวกะเหรี่ยง และชาว.

ใหม่!!: พระนางเชงสอบูและพะสิม · ดูเพิ่มเติม »

พะโค

(ပဲခူးမြို့, Bago หรือ Pegu) หรือชื่อในอดีตคือ หงสาวดี (ဟံသာဝတီ, หงสาวะโตย; Hongsawatoi, Hanthawaddy, Hanthawady, Hanthawadi หรือ Handawaddy) เป็นเมืองหลวงของเขตหงสาวดี ตั้งอยู่ใกล้เมืองเมาะตะมะ ทางตอนใต้ของประเทศพม่า นครหงสาวดีเคยเป็นเมืองหลวงของราชอาณาจักรหงสาวดีของชาวมอญ และอาณาจักรตองอูของชาวพม.

ใหม่!!: พระนางเชงสอบูและพะโค · ดูเพิ่มเติม »

มะมุดตาว

ระยายุตราชา มีพระนามเดิมว่ามะมุดตาวประชุมพงศาวดารเล่ม 2, หน้า 30 หรือ มหอดอ (မမောဟ်ထာဝ်; လိပ်မွတ်ထော, เล่ยหมุ่นทอ; ประมาณ 1432–1454) เป็นพระเจ้าหงสาวดีรัชกาลที่ 14 ในราชวงศ์พระเจ้าฟ้ารั่ว หลังปลงพระชนม์พญาเกียรติ์ในเดือนมิถุนายน..

ใหม่!!: พระนางเชงสอบูและมะมุดตาว · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์พม่า

ทความนี้รวบรวมรายพระนามพระมหากษัตริย์ของอาณาจักรต่าง ๆ ภายในประเทศพม.

ใหม่!!: พระนางเชงสอบูและรายพระนามพระมหากษัตริย์พม่า · ดูเพิ่มเติม »

ลอนดอน

ลอนดอน (London, ลันเดิน) เป็นเมืองหลวงของประเทศอังกฤษ และสหราชอาณาจักร และเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดของสหภาพยุโรป เป็นเมืองที่มีศูนย์กลางทางธุรกิจที่ใหญ่ที่สุดในโลก ลอนดอนเป็นหนึ่งในศูนย์กลางสำคัญทางธุรกิจ การเมือง วัฒนธรรม และประวัติศาสตร์ของโลก เป็นผู้นำด้านการเงิน การเมือง การสื่อสาร การบันเทิง แฟชั่น และศิลปะ ในอดีตเป็นเมืองหลวงของโลก เป็นเมืองที่เจริญที่สุดในโลก ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน เป็นเมืองที่มีอิทธิพลไปทั่วโลก ถือกันว่าเป็นเมืองสากลหลักของโลก จีดีพีของลอนดอน คิดเป็นร้อยละ 19.5 ของสหราชอาณาจักร ลอนดอนมีประชากรประมาณ 7.5 ล้านคน (ข้อมูลเมื่อปี พ.ศ. 2549) และประมาณ 12 - 14 ล้านคนถ้ารวมนครหลวงลอนดอนและปริมณฑล ลอนดอนเป็นเมืองที่ประกอบด้วยหลายชนชาติอย่างมาก ประชากรมีความหลากหลายทั้งด้านเชื้อชาติ วัฒนธรรม ศาสนา และภาษา ซึ่งประมาณว่ามีมากกว่า 300 ภาษา เราเรียกชาวลอนดอนว่า ลอนดอนเนอร์ (Londoner) ลอนดอนเป็นศูนย์กลางการคมนาคมในระดับนานาชาติ และเป็นเมืองท่องเที่ยวสำคัญของทวีปยุโรป โดยสนามบินที่ใหญ่ที่สุดในลอนดอน คือ ท่าอากาศยานนานาชาติฮีทโธรว.

ใหม่!!: พระนางเชงสอบูและลอนดอน · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาพุทธ

ระพุทธศาสนา หรือ ศาสนาพุทธ (buddhasāsana พุทฺธสาสนา, buddhaśāsana พุทธศาสนา) เป็นศาสนาที่มีพระพุทธเจ้าเป็นศาสดา มีพระธรรมที่พระองค์ตรัสรู้ชอบด้วยพระองค์เอง และตรัสสอนไว้เป็นหลักคำสอนสำคัญ มีพระสงฆ์ (ภิกษุ ภิกษุณี) สาวกผู้ตัดสินใจออกบวชเพื่อศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอน ธรรม-วินัย ของพระบรมศาสดา เพื่อบรรลุสู่จุดหมายคือพระนิพพาน และสร้างสังฆะ เป็นชุมชนเพื่อสืบทอดคำสอนของพระบรมศาสดา รวมเรียกว่า พระรัตนตรัย นอกจากนี้ในพระพุทธศาสนา ยังประกอบคำสอนสำหรับการดำรงชีวิตที่ดีงาม สำหรับผู้ที่ยังไม่ออกบวช (คฤหัสถ์ - อุบาสก และอุบาสิกา) ซึ่งหากรวมประเภทบุคคลที่ที่นับถือและศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอนของพระบรมศาสดา แล้วจะจำแนกได้เป็น 4 ประเภท คือ ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา หรือที่เรียกว่า พุทธบริษัท 4 ศาสนาพุทธเป็นศาสนาอเทวนิยม ปฏิเสธการมีอยู่ของพระเป็นเจ้าหรือพระผู้สร้าง และเชื่อในศักยภาพของมนุษย์ ว่าทุกคนสามารถพัฒนาจิตใจ ไปสู่ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ได้ ด้วยความเพียรของตน กล่าวคือ ศาสนาพุทธ สอนให้มนุษย์บันดาลชีวิตของตนเอง ด้วยผลแห่งการกระทำของตน ตาม กฎแห่งกรรม มิได้มาจากการอ้อนวอนขอจากพระเป็นเจ้าและสิ่งศักดิ์สิทธิ์นอกกายพระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๕ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๗ ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ-ธรรมบท-อุทาน-อิติวุตตกะ-สุตตนิบาต คาถาธรรมบท อัตตวรรคที่ ๑. พระไตรปิฎกฉบับสยามรั.

ใหม่!!: พระนางเชงสอบูและศาสนาพุทธ · ดูเพิ่มเติม »

หลวงวิจิตรวาทการ (วิจิตร วิจิตรวาทการ)

ลตรี หลวงวิจิตรวาทการ (วิจิตร วิจิตรวาทการ, ชื่อเดิม กิมเหลียง วัฒนปฤดา 金良 แต่มิได้มีเชื้อจีนแต่ประการใด) เป็นราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ นักคิด นักพูด นักเขียนคนสำคัญของไทย บุตรนายอิน และนางคล้าย เกิดเมื่อวันที่ 11 สิงหาคม พ.ศ. 2441 ที่จังหวัดอุทัยธานี บิดามารดามีอาชีพค้าขาย อายุ 8 ขวบเข้าเรียนที่โรงเรียนวัดขวิด ตำบลสะแกกรัง เมื่อจบประถมศึกษา บิดาได้นำไปฝากให้บวชสามเณรอยู่กับพระมหาชุ้ย วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร เมื่อท่านอายุ 13 ปี ในปี พ.ศ. 2453 ท่านได้ศึกษานักธรรมและบาลีจนจบนักธรรมเอกและเปรียญ 5 ประโยค โดยสอบได้เปรียญ 5 ประโยคเมื่ออายุ 19 ปีใน..

ใหม่!!: พระนางเชงสอบูและหลวงวิจิตรวาทการ (วิจิตร วิจิตรวาทการ) · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรมอญ

อาณาจักรมอญ หรือ รามัญประเทศ เป็นอาณาจักรของชนชาติมอญซึ่ง อาจแบ่งได้เป็น 3 ยุค ยุคแรกคือยุคราชวงศ์สะเทิม อาณาจักรสุธรรมวดี มีกษัตริย์ปกครอง 59 พระองค์ เริ่มจากสมัยพระเจ้าสีหราชา มาจนถึงสมัยพระเจ้ามนูหา เชื่อว่ายุคนี้ครอบครองพื้นที่ได้ ทั้งทวารวดีและสะเทิม ยุคแรกสิ้นสุดลงเมื่อพระเจ้าอโนรธาแห่งอาณาจักรพุกาม ยกทัพมาตีเมืองสะเทิมในสมัยพระเจ้ามนูหาHtin Aung 1967: 32–33 ซึ่งนักประวัติศาสตร์ไทยบางท่านเชื่อว่าพระเจ้าอโนรธาน่าจะยกมาตีถึงนครปฐม ยุคที่สองคือยุคราชวงศ์เมาะตะมะ-หงสาวดี หรือยุคอาณาจักรหงสาวดี‎ เริ่มจากสมัยที่พม่าซึ่งอ่อนแอจากการรุกรานของมองโกล พระเจ้าวาเรรูหรือพระเจ้าฟ้ารั่ว (มะกะโท) ได้ทรงกอบกู้เอกราชมอญจากพม่าและสถาปนาอาณาจักรหงสาวดี พระองค์มีมเหสีเป็นราชธิดาของพ่อขุนรามคำแหง กษัตริย์ของไทย มีศูนย์กลางการปกครองอยู่ที่เมาะตะมะ ต่อมาในสมัยพญาอู่ ได้ย้ายราชธานีมาอยู่ ณ เมืองพะโคหรือหงสาวดี ราชบุตรของพระองค์คือพญาน้อย ซึ่งต่อมาก็คือพระเจ้าราชาธิราช ผู้ทำสงครามยาวนานกับกษัตริย์พม่าอาณาจักรอังวะ ในสมัยพระเจ้าฝรั่งมังศรีชวา กับสมัย พระเจ้าฝรั่งมังฆ้อง ขุนพลสำคัญของพระเจ้าราชาธิราช คือ สมิงพระราม สมิงนครอินทร์ และแอมูน-ทยา ในสมัยของพระเจ้าราชาธิราชนั้นหงสาวดีกลายเป็นอาณาจักรที่มีอาณาเขตกว้างใหญ่ ครอบคลุมตั้งแต่ชายฝั่งทะเลอ่าวเบงกอลจากแม่น้ำอิรวดีขยายลงไปทางตะวันออกถึงแม่น้ำสาละวิน และเป็นศูนย์กลางทางการค้าที่ใหญ่โต มีเมืองท่าที่สำคัญหลายแห่งในหลายลุ่มน้ำ เช่น เมาะตะมะ สะโตง พะโค พะสิมHtin Aung 1967: 78–80 อาณาจักรมอญยุคนี้เจริญสูงสุดในสมัยพระนางเชงสอบูและสมัยพระเจ้าธรรมเจดีย์Myint-U 2006: 64–65 หลังจากนั้นในสมัยพระเจ้าสการะวุตพี หงสาวดีก็เสียแก่พระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้ ในปี..

ใหม่!!: พระนางเชงสอบูและอาณาจักรมอญ · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรหงสาวดี

อาณาจักรหงสาวดี (ဟံသာဝတီ ပဲခူး နေပြည်တော်;,; บางครั้งเรียก กรุงหงสาวดี หรืออย่างสั้น พะโค) เป็นอาณาจักรที่ปกครองพม่าตอนล่างตั้งแต..

ใหม่!!: พระนางเชงสอบูและอาณาจักรหงสาวดี · ดูเพิ่มเติม »

เมาะตะมะ

เมาะตะมะ (မုတ္တမမြို့; Mottama) เดิมชื่อ มะตะบัน เป็นเมืองเล็ก ๆ ในรัฐมอญ ประเทศพม่า ตั้งอยู่ริมฝั่งเหนือของแม่น้ำสาละวิน เคยเป็นเมืองหลวงของราชอาณาจักรหงสาวดี ในช่วงศตวรรษที่ 13-14 เมืองนี้ในอดีต มีความสำคัญที่ พม่าใช้รวมพลเตรียมทัพจัดขบวน ก่อนจะข้ามลำน้ำสาละวิน ด่านเจดีย์สามองค์ แล้วแบ่งกองกำลัง เพื่อเข้ามาทำสงครามตีเมืองต่างๆ เช่น อยุธยา, ธนบุรี ฯลฯ ในสยาม หมวดหมู่:เมืองในประเทศพม่า หมวดหมู่:รัฐมอญ.

ใหม่!!: พระนางเชงสอบูและเมาะตะมะ · ดูเพิ่มเติม »

เจดีย์ชเวดากอง

ีย์ชเวดากอง (ရွှေတိဂုံစေတီတော်, เฉว่ดะโก่งเส่ดี่ด่อ) ตั้งอยู่บริเวณเนินเขาเชียงกุตระ เมืองย่างกุ้ง ประเทศพม่า โดยคำว่า "ชเว" (ရွှေ) หมายถึง ทอง, "ดากอง" (ဒဂုံ แผลงเป็น တိဂုံ) คือชื่อดั้งเดิมของเมืองย่างกุ้ง เชื่อกันว่าเป็นมหาเจดีย์ที่บรรจุพระเกศาธาตุของพระโคตมพุทธเจ้าจำนวน 8 เส้น ยอดสุดของพระเจดีย์บริเวณลูกแก้วหรือหยาดน้ำข้างประดับด้วยเครื่องประดับต่างๆและเพชร 5,448 เม็ด ชั้นบนสุดมีทับทิม 2,317 เม็ดและเพชรเม็ดใหญ่ 76 กะรัต เพื่อรับลำแสงแรกและลำแสงสุดท้ายของดวงอาทิตย์ ผู้ที่เข้ามานมัสการหรือเยี่ยมชมจะต้องถอดรองเท้าทุกครั้ง.

ใหม่!!: พระนางเชงสอบูและเจดีย์ชเวดากอง · ดูเพิ่มเติม »

เถรวาท

รวาท (อ่านว่า เถ-ระ-วาด) (theravāda เถรวาท, स्थविरवाद sthaviravāda สฺถวิรวาท; Theravada) โดยศัพท์แปลว่า "ตามแนวทางของพระเถระ" เป็นชื่อของนิกายที่เก่าแก่ที่สุดในศาสนาพุทธ ฝ่ายมหายานเรียกนิกายนี้ว่า หีนยาน (บาลี/สันสกฤต: हीनयान) นิกายเถรวาทเป็นนิกายหลักที่ได้รับการนับถือในประเทศศรีลังกา (ประมาณ 70% ของประชากรทั้งหมด) และประเทศในแผ่นดินเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ได้แก่ ไทย กัมพูชา ลาว และพม่า และเป็นส่วนน้อยในประเทศจีนและเวียดนาม โดยเฉพาะในมณฑลยูนนาน เนปาล บังกลาเทศที่เขตจิตตะกอง เวียดนามทางตอนใต้ใกล้ชายแดนกัมพูชา อินโดนีเซีย มาเลเซียมีนับถือทางตอนเหนือของประเทศ มีศาสนิกส่วนใหญ่เป็นชาวไทยและชาวสิงหล ตัวเลขผู้นับถือศาสนาพุทธนิกายเถรวาทอยู่ที่ประมาณ 100 ล้านคน สำหรับประเทศไทยมีผู้นับถือพุทธศาสนานิกายเถรวาทประมาณ 94% ของประชากรทั้งหมด (ข้อมูลจากกรมศาสนา เฉพาะประชากรอิสลามในประเทศไทยมีไม่น้อยกว่า 10 ล้านคน คิดเป็นสัดส่วนไม่น้อยกว่า 15% ของประชากรไทย ไม่นับผู้นับถือศาสนาคริสต์ ฮินดู สิกข์ และไม่มีศาสนา จึงเป็นไปได้ว่าชาวพุทธในประเทศไทย อาจมีไม่ถึง 80% ของจำนวนประชากรทั้งหมด) นิกายเถรวาทได้รับการนับถือคู่กับนิกายอาจริยวาท (คือนิกายมหายาน ในปัจจุบัน).

ใหม่!!: พระนางเชงสอบูและเถรวาท · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Shin Sawbuสมเด็จพระราชินีนาถเชงสอบูแห่งมอญเชงสอบู

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »