สารบัญ
91 ความสัมพันธ์: บอลเชวิกพ.ศ. 2406พ.ศ. 2413พ.ศ. 2415พ.ศ. 2421พ.ศ. 2425พ.ศ. 2427พ.ศ. 2428พ.ศ. 2432พ.ศ. 2435พ.ศ. 2439พ.ศ. 2443พ.ศ. 2444พ.ศ. 2446พ.ศ. 2459พ.ศ. 2460พ.ศ. 2464พ.ศ. 2465พ.ศ. 2466พ.ศ. 2481พ.ศ. 2487พ.ศ. 2490พ.ศ. 2491พ.ศ. 2493พ.ศ. 2503พ.ศ. 2506พ.ศ. 2508พ.ศ. 2512พ.ศ. 2516พ.ศ. 2522พระราชวังวินด์เซอร์พระราชวังเค็นซิงตันพระราชวังเซนต์เจมส์พระเจ้าจอร์จที่ 5 แห่งสหราชอาณาจักรการปฏิวัติรัสเซียราชนาวีลอนดอนลัทธิคอมมิวนิสต์ลูอีส เมานต์แบ็ตเทนสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักรสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรสมเด็จพระเจ้ากุสตาฟที่ 6 อดอล์ฟแห่งสวีเดนสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 6 แห่งสหราชอาณาจักรสงครามฝรั่งเศส-ปรัสเซียสงครามออสเตรีย-ปรัสเซียสงครามโลกครั้งที่สองสงครามโลกครั้งที่หนึ่งหลุยส์ เมานต์แบ็ตเทน เอิร์ลเมานต์แบ็ตเทนแห่งพม่าอีสเตอร์จักรพรรดินีอะเลคซันดรา ฟอโดรอฟนา แห่งรัสเซีย... ขยายดัชนี (41 มากกว่า) »
- ตระกูลบัทเทินแบร์ค
- ตระกูลเฮ็สเซิน-ดาร์มชตัท
บอลเชวิก
การประชุมพรรคบอลเชวิก บอลเชวิก (Bolshevik "บอลเชอวิก"; большеви́к "บาลชือวิก") แผลงมาจากคำว่าБольшинство แปลว่า ส่วนใหญ่ หรือ หมู่มาก บอลเชวิก หมายถึงสมาชิกของกลุ่ม ๆ หนึ่งภายในพรรคแรงงานสังคมประชาธิปไตยรัสเซีย (RSDLP ย่อมาจาก Russian Social Democratic Labour Party) ซึ่งนิยมลัทธิมากซ์ กลุ่มนี้นำโดยเลนิน ในพรรคนี้ยังมีอีกลุ่มหนึ่งเรียกกันว่า меньшевик เมนเชวิก ซึ่งแผลงมาจากคำในภาษารัสเซีย Меньшинство แปลว่า ส่วนน้อย กลุ่มเมนเชวิกนำโดย จูเลียส มาร์ตอฟ เพื่อนสนิทและเพื่อนร่วมงานที่ใกล้ชิดคนหนึ่งของเลนิน การแตกคอกันมีขึ้นในการประชุมใหญ่ของพรรคครั้งที่ 2 ที่จัดขึ้นที่กรุงบรัสเซลส์และลอนดอน เมื่อปี ค.ศ.
ดู เจ้าหญิงวิกตอเรียแห่งเฮสส์และไรน์และบอลเชวิก
พ.ศ. 2406
ทธศักราช 2406 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1863.
ดู เจ้าหญิงวิกตอเรียแห่งเฮสส์และไรน์และพ.ศ. 2406
พ.ศ. 2413
ทธศักราช 2413 ตรงกั.
ดู เจ้าหญิงวิกตอเรียแห่งเฮสส์และไรน์และพ.ศ. 2413
พ.ศ. 2415
ทธศักราช 2415 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1872 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู เจ้าหญิงวิกตอเรียแห่งเฮสส์และไรน์และพ.ศ. 2415
พ.ศ. 2421
ทธศักราช 2421 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1878.
ดู เจ้าหญิงวิกตอเรียแห่งเฮสส์และไรน์และพ.ศ. 2421
พ.ศ. 2425
ทธศักราช 2425 ตรงกั.
ดู เจ้าหญิงวิกตอเรียแห่งเฮสส์และไรน์และพ.ศ. 2425
พ.ศ. 2427
ทธศักราช 2427 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1884 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู เจ้าหญิงวิกตอเรียแห่งเฮสส์และไรน์และพ.ศ. 2427
พ.ศ. 2428
ทธศักราช 2428 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1885 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู เจ้าหญิงวิกตอเรียแห่งเฮสส์และไรน์และพ.ศ. 2428
พ.ศ. 2432
ทธศักราช 2432 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1889 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู เจ้าหญิงวิกตอเรียแห่งเฮสส์และไรน์และพ.ศ. 2432
พ.ศ. 2435
ทธศักราช 2435 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1892 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู เจ้าหญิงวิกตอเรียแห่งเฮสส์และไรน์และพ.ศ. 2435
พ.ศ. 2439
ทธศักราช 2439 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1896 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู เจ้าหญิงวิกตอเรียแห่งเฮสส์และไรน์และพ.ศ. 2439
พ.ศ. 2443
ทธศักราช 2443 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1900 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู เจ้าหญิงวิกตอเรียแห่งเฮสส์และไรน์และพ.ศ. 2443
พ.ศ. 2444
ทธศักราช 2444 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1901 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู เจ้าหญิงวิกตอเรียแห่งเฮสส์และไรน์และพ.ศ. 2444
พ.ศ. 2446
ทธศักราช 2446 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1903 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู เจ้าหญิงวิกตอเรียแห่งเฮสส์และไรน์และพ.ศ. 2446
พ.ศ. 2459
ทธศักราช 2459 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1916 เป็นปีอธิกสุรทินแรกของไทย ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู เจ้าหญิงวิกตอเรียแห่งเฮสส์และไรน์และพ.ศ. 2459
พ.ศ. 2460
ทธศักราช 2460 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1917 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน หรือ ปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินจูเลียน.
ดู เจ้าหญิงวิกตอเรียแห่งเฮสส์และไรน์และพ.ศ. 2460
พ.ศ. 2464
ทธศักราช 2464 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1921 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู เจ้าหญิงวิกตอเรียแห่งเฮสส์และไรน์และพ.ศ. 2464
พ.ศ. 2465
ทธศักราช 2465 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1922 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู เจ้าหญิงวิกตอเรียแห่งเฮสส์และไรน์และพ.ศ. 2465
พ.ศ. 2466
ทธศักราช 2466 ตรงกั.
ดู เจ้าหญิงวิกตอเรียแห่งเฮสส์และไรน์และพ.ศ. 2466
พ.ศ. 2481
ทธศักราช 2481 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1938.
ดู เจ้าหญิงวิกตอเรียแห่งเฮสส์และไรน์และพ.ศ. 2481
พ.ศ. 2487
ทธศักราช 2487 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1944 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู เจ้าหญิงวิกตอเรียแห่งเฮสส์และไรน์และพ.ศ. 2487
พ.ศ. 2490
ทธศักราช 2490 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1947.
ดู เจ้าหญิงวิกตอเรียแห่งเฮสส์และไรน์และพ.ศ. 2490
พ.ศ. 2491
ทธศักราช 2491 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1948.
ดู เจ้าหญิงวิกตอเรียแห่งเฮสส์และไรน์และพ.ศ. 2491
พ.ศ. 2493
ทธศักราช 2493 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1950 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู เจ้าหญิงวิกตอเรียแห่งเฮสส์และไรน์และพ.ศ. 2493
พ.ศ. 2503
ทธศักราช 2503 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1960 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู เจ้าหญิงวิกตอเรียแห่งเฮสส์และไรน์และพ.ศ. 2503
พ.ศ. 2506
ทธศักราช 2506 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1963 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู เจ้าหญิงวิกตอเรียแห่งเฮสส์และไรน์และพ.ศ. 2506
พ.ศ. 2508
ทธศักราช 2508 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1965 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู เจ้าหญิงวิกตอเรียแห่งเฮสส์และไรน์และพ.ศ. 2508
พ.ศ. 2512
ทธศักราช 2512 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1969 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู เจ้าหญิงวิกตอเรียแห่งเฮสส์และไรน์และพ.ศ. 2512
พ.ศ. 2516
ทธศักราช 2516 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1973 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู เจ้าหญิงวิกตอเรียแห่งเฮสส์และไรน์และพ.ศ. 2516
พ.ศ. 2522
ทธศักราช 2522 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1979 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู เจ้าหญิงวิกตอเรียแห่งเฮสส์และไรน์และพ.ศ. 2522
พระราชวังวินด์เซอร์
ระราชวังวินด์เซอร์ (ภาษาอังกฤษ: Windsor Castle) เป็นพระราชวังตั้งอยู่ที่วินด์เซอร์, มลฑลบาร์คเชอร์ในสหราชอาณาจักร สร้างโดยสมเด็จพระเจ้าวิลเลียมที่ 1 แห่งอังกฤษเมื่อปี..
ดู เจ้าหญิงวิกตอเรียแห่งเฮสส์และไรน์และพระราชวังวินด์เซอร์
พระราชวังเค็นซิงตัน
ระราชวังเค็นซิงตัน (ภาษาอังกฤษ: Kensington Palace) เป็นพระราชวังตั้งอยู่ที่โบโรเค็นซิงตันและเชลเซีย ลอนดอน ในสหราชอาณาจักร เป็นวังที่เดิมสร้างสำหรับดยุคแห่งนอตติงแฮม เมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 17 พระราชวังเค็นซิงตันใช้เป็นที่ประทับของราชวงศ์อังกฤษมาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 ในปัจจุบันเป็นที่ประทับของเจ้าฟ้าชายริชาร์ด ดยุคแห่งกลอสเตอร์ และเบอร์จีต ดัชเชสแห่งกลอสเตอร์; เจ้าฟ้าชายเอ็ดเวิร์ด ดยุคแห่งเค้นทและแคทเธอริน ดัชเชสแห่งเค้นท; และเจ้าชายและเจ้าหญิงไมเคิลแห่งเค้นท และเจ้าหญิงไดอานาประทับจนกระทั่งปี..
ดู เจ้าหญิงวิกตอเรียแห่งเฮสส์และไรน์และพระราชวังเค็นซิงตัน
พระราชวังเซนต์เจมส์
ระราชวังเซนต์เจมส์ (ภาษาอังกฤษ: St. James’s Palace) เป็นพระราชวังที่เก่าแก่ที่สุดพระราชวังหนึ่งในกรุงลอนดอนในสหราชอาณาจักร สร้างโดยสมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 8บนที่เดิมเป็นโรงพยาบาลคนโรคเรื้อนที่อุทิศให้แก่นักบุญเจมส์ ลูกของอัลเฟียส ซึ่งเป็นชื่อที่พระราชวังและอุทยานตั้งตาม โรงพยาบาลถูกยุบเลิกเมื่อปี..
ดู เจ้าหญิงวิกตอเรียแห่งเฮสส์และไรน์และพระราชวังเซนต์เจมส์
พระเจ้าจอร์จที่ 5 แห่งสหราชอาณาจักร
ระเจ้าจอร์จที่ 5 แห่งสหราชอาณาจักร (George V of the United Kingdom) เป็นพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักรในราชวงศ์วินด์เซอร์ซึ่งทรงสถาปนาขึ้นจากราชวงศ์ซัคเซิน-โคบูร์กและโกทาสายอังกฤษ ในฐานะที่ทรงเป็นประมุขสหราชอาณาจักรและเครือจักรภพแห่งอังกฤษ พระองค์เป็นสมเด็จพระจักรพรรดิแห่งอินเดียและปฐมกษัตริย์เสรีรัฐไอร์แลนด์อีกด้วย พระองค์ทรงครองสิริราชสมบัติตั้งแต่ 6 พฤษภาคม พ.ศ.
ดู เจ้าหญิงวิกตอเรียแห่งเฮสส์และไรน์และพระเจ้าจอร์จที่ 5 แห่งสหราชอาณาจักร
การปฏิวัติรัสเซีย
การปฏิวัติรัสเซีย (Russian Revolution) คือภาพรวมของระลอกการปฏิวัติในรัสเซียช่วงปี..
ดู เจ้าหญิงวิกตอเรียแห่งเฮสส์และไรน์และการปฏิวัติรัสเซีย
ราชนาวี
กองทัพเรือสหราชอาณาจักร หรือ ราชนาวี (Royal Navy อักษรย่อ: RN) เป็นเหล่าทัพหลักของกองทัพสหราชอาณาจักร ซึ่งมีต้นกำเนิดมาตั้งแต่ศตวรรษที่ 16 เหล่าทัพนี้เป็นเหล่าทัพที่เก่าแก่ที่สุด โดยตั้งแต่ปลายศตวรรษที่ 17 ถึงปลายศตวรรษที่ 19 ราชนาวีสหราชอาณาจักรจัดเป็นทัพเรือที่ทรงแสนยานุภาพที่สุดในโลก.
ดู เจ้าหญิงวิกตอเรียแห่งเฮสส์และไรน์และราชนาวี
ลอนดอน
ลอนดอน (London, ลันเดิน) เป็นเมืองหลวงของประเทศอังกฤษ และสหราชอาณาจักร และเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดของสหภาพยุโรป เป็นเมืองที่มีศูนย์กลางทางธุรกิจที่ใหญ่ที่สุดในโลก ลอนดอนเป็นหนึ่งในศูนย์กลางสำคัญทางธุรกิจ การเมือง วัฒนธรรม และประวัติศาสตร์ของโลก เป็นผู้นำด้านการเงิน การเมือง การสื่อสาร การบันเทิง แฟชั่น และศิลปะ ในอดีตเป็นเมืองหลวงของโลก เป็นเมืองที่เจริญที่สุดในโลก ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน เป็นเมืองที่มีอิทธิพลไปทั่วโลก ถือกันว่าเป็นเมืองสากลหลักของโลก จีดีพีของลอนดอน คิดเป็นร้อยละ 19.5 ของสหราชอาณาจักร ลอนดอนมีประชากรประมาณ 7.5 ล้านคน (ข้อมูลเมื่อปี พ.ศ.
ดู เจ้าหญิงวิกตอเรียแห่งเฮสส์และไรน์และลอนดอน
ลัทธิคอมมิวนิสต์
ในทางรัฐศาสตร์และสังคมศาสตร์ ลัทธิคอมมิวนิสต์ (communism; communis แปลว่า "ร่วมกัน" หรือ "สากล") คืออุดมการณ์และขบวนการทางสังคม การเมือง และเศรษฐกิจ ซึ่งมีจุดมุ่งหมายสูงสุดคือการสถาปนาสังคมคอมมิวนิสต์ อันเป็นระเบียบทางสังคมบนพื้นฐานของความเป็นเจ้าของร่วมกัน (Common ownership) ของปัจจัยการผลิต (Means of production) และปราศจากชนชั้นทางสังคม เงินตรา และรัฐ ลัทธิคอมมิวนิสต์ปรากฏอยู่ในปรัชญาหรือแนวคิดหลากหลายทฤษฎีที่โดยรวม ๆ แล้วจะรวมถึงลัทธิมากซ์-อนาธิปไตย (ลัทธิคอมมิวนิสต์-อนาธิปไตย) และอุดมการณ์ทางการเมืองอื่น ๆ ซึ่งเชื่อมโยงกับสองแนวคิดนี้ โดยที่ทั้งหมดนี้มีบทวิเคราะห์สรุปร่วมกันว่าระเบียบทางสังคมในปัจจุบันอันถือกำเนิดถึงจากระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม ประกอบไปด้วยชนชั้นทางสังคมสองชนชั้นหลักคือ "ชนชั้นแรงงาน" ผู้ที่ต้องทำงานเพื่ออยู่รอดและถือเป็นกลุ่มคนส่วนมากในสังคม และ "ชนชั้นนายทุน" อันเป็นชนกลุ่มน้อยในสังคม ผู้ถือเอากำไรจากการจ้างวานชนชั้นแรงงานผ่านการครอบครองปัจจัยการผลิตไว้เฉพาะส่วนตน ที่ซึ่งความขัดแย้งระหว่างสองชนชั้นนี้เองที่จะก่อให้เกิดการปฏิวัติ อันเป็นองค์ประกอบตั้งต้นที่จะช่วยให้เกิดการเปลี่ยนผ่านไปสู่การเป็นเจ้าของปัจจัยการผลิตร่วมกันของคนในสังคม (Social ownership) ด้วยความที่ลัทธิคอมมิวนิสต์มีอุดมคติที่ตรงกันข้ามกับลัทธิเสรีนิยมทางเศรษฐกิจ (Economic Liberalism) จึงทำให้เกิดความหวาดกลัวและการต่อต้านลัทธิคอมมิวนิสต์อย่างกว้างขวางในช่วงสงครามเย็น ดังจะเห็นได้จากกระแส "ความหวาดกลัวแดง" (Red Scare) หรือ ลัทธิแม็คคาร์ธี ในอเมริกาช่วงต้นสงครามเย็น.
ดู เจ้าหญิงวิกตอเรียแห่งเฮสส์และไรน์และลัทธิคอมมิวนิสต์
ลูอีส เมานต์แบ็ตเทน
ลูอิส อเล็กซานดรา มารี อีรีน เมานต์แบ็ตเทน (Louise Alexandra Marie Irene Mountbatten) หรือพระนามเดิมคือ เจ้าหญิงลูอีสแห่งบัทเทนแบร์ก (Princess Louise of Battenberg) เป็นเจ้าหญิงจากตระกูลบัทเทนแบร์กซึ่งมีเชื้อเจ้าเยอรมัน พระนางอภิเษกสมรสเข้าสู่พระราชวงศ์สวีเดนและได้ขึ้นเป็นสมเด็จพระราชินีในสมเด็จพระเจ้ากุสตาฟที่ 6 อดอล์ฟแห่งสวีเดน.
ดู เจ้าหญิงวิกตอเรียแห่งเฮสส์และไรน์และลูอีส เมานต์แบ็ตเทน
สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร
มเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย พระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักรในช่วงระหว่าง 20 มิถุนายน..
ดู เจ้าหญิงวิกตอเรียแห่งเฮสส์และไรน์และสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร
สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร
มเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 (Elizabeth II; พระราชสมภพ 21 เมษายน พ.ศ. 2469) เป็นพระประมุขของ 16 ประเทศ จาก 53 รัฐสมาชิกในเครือจักรภพแห่งชาติ พระองค์เป็นประธานเครือจักรภพและผู้ปกครองสูงสุดแห่งคริสตจักรแห่งอังกฤษ เมื่อสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 เสด็จขึ้นครองราชย์เมื่อวันที่ 6 กุมภาพัน..
ดู เจ้าหญิงวิกตอเรียแห่งเฮสส์และไรน์และสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร
สมเด็จพระเจ้ากุสตาฟที่ 6 อดอล์ฟแห่งสวีเดน
มเด็จพระเจ้ากุสตาฟที่ 6 อดอล์ฟแห่งสวีเดน (พระนามเต็ม ออสการ์ เฟรดดริค วิลเฮล์ม โอลาฟ กุสตาฟ อดอล์ฟ) (ประสูติ 11 พฤศจิกายน พ.ศ.
ดู เจ้าหญิงวิกตอเรียแห่งเฮสส์และไรน์และสมเด็จพระเจ้ากุสตาฟที่ 6 อดอล์ฟแห่งสวีเดน
สมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 6 แห่งสหราชอาณาจักร
ระเจ้าจอร์จที่ 6 (George VI of the United Kingdom; 14 ธันวาคม ค.ศ. 1895 — 6 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1952) เป็นพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักรในราชวงศ์วินด์เซอร์ และเครือจักรภพอังกฤษระหว่างปี..
ดู เจ้าหญิงวิกตอเรียแห่งเฮสส์และไรน์และสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 6 แห่งสหราชอาณาจักร
สงครามฝรั่งเศส-ปรัสเซีย
งครามฝรั่งเศส-ปรัสเซีย หรือ สงครามฝรั่งเศส-เยอรมนี หรือ สงครามฟรังโก - ปรัสเซีย (Franco-Prussian War หรือ Franco-German War) ในฝรั่งเศสเรียกกันว่า "สงคราม..
ดู เจ้าหญิงวิกตอเรียแห่งเฮสส์และไรน์และสงครามฝรั่งเศส-ปรัสเซีย
สงครามออสเตรีย-ปรัสเซีย
งครามออสเตรีย-ปรัสเซีย (Austro-Prussian War) หรือ สงครามเจ็ดสัปดาห์ (Seven Weeks' War) หรือ สงครามรวมชาติ (Unification War) หรือ สงครามพี่น้อง (Brothers War) เป็นสงครามในปี..
ดู เจ้าหญิงวิกตอเรียแห่งเฮสส์และไรน์และสงครามออสเตรีย-ปรัสเซีย
สงครามโลกครั้งที่สอง
งครามโลกครั้งที่สอง (World War II หรือ Second World Warคำว่าสงครามโลกครั้งที่สองในภาษาอังกฤษนั้น ในเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการของสหราชอาณาจักรและชาติตะวันตกใช้คำว่า "Second World War" ส่วนในสหรัฐใช้คำว่า "World War II" (ย่อเป็น "WWII" หรือ "WW2") ซึ่งเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการในประเทศส่วนใหญ่มักจะใช้ภาษาอังกฤษว่า "Second World War" (เช่น Zweiter Weltkrieg ในภาษาเยอรมัน; Segunda Guerra mundial ในภาษาสเปน; Seconde Guerre mondiale ในภาษาฝรั่งเศส) แต่ทั้งสองคำนี้โดยทั่วไปแล้วสามารถใช้แทนกันได้; แม้ในประวัติศาสตร์การทหารอย่างเป็นทางการ คำว่า "Second World War" ถูกสร้างขึ้นโดย แฟรงก์ บี.
ดู เจ้าหญิงวิกตอเรียแห่งเฮสส์และไรน์และสงครามโลกครั้งที่สอง
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง
งครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World War I หรือ First World War) หรือที่มักเรียกว่า "สงครามโลก" หรือ "มหาสงคราม" (Great War) ก่อน..
ดู เจ้าหญิงวิกตอเรียแห่งเฮสส์และไรน์และสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง
หลุยส์ เมานต์แบ็ตเทน เอิร์ลเมานต์แบ็ตเทนแห่งพม่า
อมพลเรือ หลุยส์ ฟรานซิส อัลเบิร์ต วิคเตอร์ นิโคลัส เมานต์แบ็ตเทน เอิร์ลเมานต์แบ็ตเทนแห่งพม่า (Louis Francis Albert Victor Nicholas Mountbatten, Earl Mountbatten of Burma) หรือพระนามเดิมคือ เจ้าชายหลุยส์แห่งบัทเทนแบร์ก เป็นรัฐบุรุษและทหารเรือชาวอังกฤษ เป็นพระราชปนัดดา (หลานยาย) ในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย และเป็นพระปิตุลาในเจ้าชายฟิลิป ดยุกแห่งเอดินบะระ ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สองทรงดำรตำแหน่งเป็นผู้บัญชาการกองเรือสัมพันธมิตรในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (1943–46) และดำรงตำแหน่งเป็นอุปราชแห่งอินเดีย (1947) และต่อมาดำรงตำแหน่งเป็นข้าหลวงต่างพระองค์ประจำอาณานิคมอินเดีย (1947–48) ก่อนที่ต่อมาจะกลับมารับราชการที่ตำแหน่งเฟิร์สซีลอร์ด (ผู้บัญชาการราชนาวี) และรับราชการในตำแหน่งสุดท้ายที่ผู้บัญชาการทหารสูงสุด นอกจากนี้ในฐานะสมาชิกพระราชวงศ์แล้ว เอิร์ลเมานต์แบ็ตเทนยังเป็นผู้อบรมสั่งสอนเจ้าชายชาลส์ เจ้าชายแห่งเวลส์ ซึ่งทรงมีศักดิ์เป็นพระนัดดาของพระองค์ ซึ่งทั้งสองพระองค์ก็มักจะเรียกอย่างทรงกันเองว่า "เสด็จปู่–เสด็จหลาน".
ดู เจ้าหญิงวิกตอเรียแห่งเฮสส์และไรน์และหลุยส์ เมานต์แบ็ตเทน เอิร์ลเมานต์แบ็ตเทนแห่งพม่า
อีสเตอร์
นางมารีย์ชาวมักดาลากับพระเยซูที่ฟื้นคีนพระชนม์แล้ว อีสเตอร์ หรือ วันพระเยซูคริสต์ทรงคืนพระชนม์ (Easter; Ēostre หรือ date; Pascha ปัสคา; Πάσχα, Paskha; פַּסחא Pasḥa; มาจาก פֶּסַח Pesaḥ) คริสต์ศาสนิกชนนิกายโรมันคาทอลิกในประเทศไทยเรียกว่า วันสมโภชปัสกาพระเยซูเจ้าทรงกลับคืนพระชนมชีพ เป็นหนึ่งในเทศกาลที่สำคัญมากที่สุดในศาสนาคริสต์ จัดขึ้นเพื่อเฉลิมฉลองการคืนพระชนม์ของพระเยซูหลังจากที่ทรงถูกตรึงกางเขนและสิ้นพระชนม์ไปแล้วสามวัน โดยวันที่จะเปลี่ยนไปในแต่ละปีแต่กำหนดให้ทุกปีต้องจัดขึ้นในวันอาทิตย์ (เพราะเป็นวันที่ทรงถูกตรึงกางเขนตามพระคัมภีร์) เรียก วันอีสเตอร์ นอกจากนี้วันอีสเตอร์ถือเป็นวันสิ้นสุดเทศกาลมหาพรตซึ่งเป็นช่วงเวลา 40 วันที่คริสต์ศาสนิกชนถือศีลอดและสวดภาวนาเป็นพิเศษ สัปดาห์สุดท้ายของเทศกาลมหาพรตเรียกว่าสัปดาห์ศักดิ์สิทธิ์ วันศุกร์ของสัปดาห์ศักดิ์สิทธิ์เรียกวันศุกร์ศักดิ์สิทธิ์ (หรือที่ชาวโปรเตสแตนต์เรียกวันศุกร์ประเสริฐ) เป็นวันที่พระเยซูโดนตรึงกางเขน หลังจากวันอีสเตอร์เป็นเทศกาลปัสกา (Eastertide) 50 วัน และจบเทศกาลในวันอาทิตย์สมโภชพระจิตเจ้า ประเพณีในการเฉลิมฉลองแตกต่างกันทั่วโลก แต่การตกแต่งไข่อีสเตอร์และกิจกรรมค้นหาไข่เป็นที่นิยมกันมากที่สุดในหมู่เด็ก.
ดู เจ้าหญิงวิกตอเรียแห่งเฮสส์และไรน์และอีสเตอร์
จักรพรรดินีอะเลคซันดรา ฟอโดรอฟนา แห่งรัสเซีย
ักรพรรดินีอะเลคซันดรา ฟอโดรอฟนาแห่งรัสเซีย (Александра Фёдоровна) พระอิสริยยศเดิมคือ เจ้าหญิงอลิกซ์แห่งเฮสส์และไรน์ (วิกตอเรีย อลิกซ์ เฮเลนา หลุยส์ เบียทริซ; 6 มิถุนายน พ.ศ.
ดู เจ้าหญิงวิกตอเรียแห่งเฮสส์และไรน์และจักรพรรดินีอะเลคซันดรา ฟอโดรอฟนา แห่งรัสเซีย
ทวีปยุโรป
ทวีปยุโรป (อ่านว่า "ยุ-โหฺรบ") มีฐานะเป็นทวีปทั้งในแง่ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม ในทางภูมิศาสตร์ ยุโรปเป็นอนุทวีปที่อยู่ทางด้านตะวันตกของมหาทวีปยูเรเชีย ยุโรปมีพรมแดนทางเหนือติดกับมหาสมุทรอาร์กติก ทางตะวันตกติดกับมหาสมุทรแอตแลนติก ทางใต้ติดกับทะเลเมดิเตอร์เรเนียนและทะเลดำ ด้านตะวันออกติดกับเทือกเขายูรัลและทะเลแคสเปียน "Europe" (pp.
ดู เจ้าหญิงวิกตอเรียแห่งเฮสส์และไรน์และทวีปยุโรป
ประเทศอังกฤษ
อังกฤษ (England อิง(ก)ลันด์) หรือในอดีตเรียกว่า แคว้นอังกฤษ เป็นประเทศอันเป็นส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักร มีพรมแดนทางบกติดต่อกับสกอตแลนด์ทางเหนือ และเวลส์ทางตะวันตก ทะเลไอร์แลนด์ทางตะวันตกเฉียงเหนือ ทะเลเคลติกทางตะวันตกเฉียงใต้ ทะเลเหนือทางตะวันออก และช่องแคบอังกฤษซึ่งคั่นระหว่างอังกฤษกับยุโรปแผ่นดินใหญ่ พื้นที่ประเทศอังกฤษส่วนใหญ่ตั้งอยู่ทางตอนกลางและตอนใต้ของเกาะบริเตนใหญ่ในมหาสมุทรแอตแลนติกเหนือ ประเทศอังกฤษยังรวมถึงเกาะที่เล็กกว่าอีกกว่า 100 เกาะ เช่น หมู่เกาะซิลลีและเกาะไวต์ ภูมิประเทศของอังกฤษส่วนมากประกอบด้วยเขาเตี้ยๆ และที่ราบ โดยเฉพาะทางตอนกลางและตอนใต้ของอังกฤษ อย่างไรก็ตาม ทางเหนือและทางตะวันตกเฉียงใต้เป็นที่สูง วินเชสเตอร์เป็นเมืองหลวงเก่าของอังกฤษกระทั่งเปลี่ยนมาเป็นลอนดอนใน..
ดู เจ้าหญิงวิกตอเรียแห่งเฮสส์และไรน์และประเทศอังกฤษ
ประเทศเยอรมนี
ประเทศเยอรมนี (Germany; Deutschland ดอยฺชลันฺท) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี (Federal Republic of Germany; Bundesrepublik Deutschland) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐแบบรัฐสภาในยุโรปกลาง มีรัฐองค์ประกอบ 16 รัฐ มีพื้นที่ 357,021 ตารางกิโลเมตร และมีภูมิอากาศตามฤดูกาลแบบอบอุ่นเป็นส่วนใหญ่ มีประชากรประมาณ 82 ล้านคน ซึ่งเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดในสหภาพยุโรป ประเทศเยอรมนีเป็นจุดหมายการเข้าเมืองยอดนิยมอันดับสองในโลกรองจากสหรัฐ เมืองหลวงและมหานครใหญ่สุดของประเทศคือ กรุงเบอร์ลิน ขณะที่เขตเมืองขยายใหญ่สุด คือ รูร์ โดยมีศูนย์กลางหลักดอร์ทมุนด์และเอสเซิน นครหลักอื่นของประเทศ ได้แก่ ฮัมบวร์ค มิวนิก โคโลญ แฟรงก์เฟิร์ต ชตุทท์การ์ท ดึสเซิลดอร์ฟ ไลพ์ซิจ เบรเมิน เดรสเดิน ฮันโนเฟอร์และเนือร์นแบร์ก ประเทศนี้มีระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยเชิงเสรีภาพและรัฐสวัสดิการ พรมแดนทางทิศเหนือติดทะเลเหนือ เดนมาร์ก และทะเลบอลติก ทิศตะวันออกติดโปแลนด์และเช็กเกีย ทิศใต้ติดออสเตรีย และสวิตเซอร์แลนด์ ทิศตะวันตกติดฝรั่งเศส ลักเซมเบิร์ก เบลเยียม และเนเธอร์แลนด์ มีเมืองหลวงและเมืองใหญ่ของประเทศคือเบอร์ลิน เยอรมนีมีประชากรประมาณ 80 ล้านคนและเป็นประเทศที่มีความหนาแน่นประชากรสูงสุดแห่งหนึ่ง อีกทั้งยังเป็นประเทศที่มีคนย้ายถิ่นมากที่สุดเป็นอันดับสามของโลก หลังจากที่สหรัฐอเมริกาเยอรมนีเป็นปลายทางการย้ายถิ่นที่สองได้รับความนิยมมากที่สุดในโลก เยอรมนีเป็นหนึ่งในสมาชิกผู้ก่อตั้งสหภาพยุโรปและยังก่อตั้งสหภาพการเงินกับสมาชิกในสหภาพยุโรปอีก 17 ประเทศ โดยใช้ชื่อว่ายูโรโซน เยอรมนีเป็นสมาชิกของกลุ่ม UNO, OECD, NATO, G7 และ G20 เยอรมนีเป็นประเทศที่มีอิทธิพลต่อประเทศอื่นๆในยุโรปและเป็นประเทศที่มีความสามารถที่จะแข่งขันในระดับโลก หากวัดจากผลผลิตมวลรวมภายในประเทศแบบปกติแล้ว เยอรมนีเป็นเศรษฐกิจที่ใหญ่ที่สุดในยุโรปและใหญ่เป็นอันดับสี่ของโลก ในปี 2012 เป็นประเทศที่มีการนำเข้าส่งออกมากที่สุดเป็นอันดับสาม ดัชนีการพัฒนามนุษย์ถือว่าสูงมาก.
ดู เจ้าหญิงวิกตอเรียแห่งเฮสส์และไรน์และประเทศเยอรมนี
นาซีเยอรมนี
นาซีเยอรมนี (Nazi Germany) หรือ ไรช์ที่สาม (Drittes Reich) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ ไรช์เยอรมัน (Deutsches Reich) เป็นชื่อเรียกยุคหนึ่งในประวัติศาสตร์เยอรมนีระหว่างปี 1933 ถึง 1945 เมื่อประเทศเยอรมนีอยู่ภายใต้การควบคุมระบอบเผด็จการของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์และพรรคนาซี ในการปกครองของฮิตเลอร์ ประเทศเยอรมนีกลายเป็นรัฐฟาสซิสต์ซึ่งควบคุมแทบทุกแง่มุมของชีวิต นาซีเยอรมนีล่มสลายหลังฝ่ายสัมพันธมิตรพิชิตเยอรมนีในเดือนพฤษภาคม 1945 ซึ่งยุติสงครามโลกครั้งที่สองในทวีปยุโรป ประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐไวมาร์ เพาล์ ฟอน ฮินเดนบูร์กแต่งตั้งฮิตเลอร์เป็นนายกรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 30 มกราคม 1933 จากนั้น พรรคนาซีเริ่มกำจัดคู่แข่งทางการเมืองและรวบอำนาจ ฮินเดนบูร์กถึงแก่อสัญกรรมเมื่อวันที่ 2 สิงหาคม 1934 และฮิตเลอร์เป็นผู้เผด็จการแห่งเยอรมนีโดยการรวมอำนาจและตำแหน่งของนายกรัฐมนตรีกับประธานาธิบดี มีการจัดการลงประชามติทั่วประเทศเมื่อวันที่ 19 สิงหาคม 1934 ทำให้ฮิตเลอร์เป็นฟือเรอร์ (ผู้นำ) เยอรมนีเพียงผู้เดียว อำนาจเบ็ดเสร็จทั้งหมดรวมอยู่ในมือของฮิตเลอร์ และคำของเขาอยู่เหนือกฎหมายทั้งปวง รัฐบาลมิได้เป็นหน่วยที่ร่วมมือประสานกัน หากแต่เป็นหมู่กลุ่มแยกต่าง ๆ ที่แก่งแย่งอำนาจและความนิยมจากฮิตเลอร์ ท่ามกลางภาวะเศรษฐกิจตกต่ำครั้งใหญ่ นาซีฟื้นฟูเสถียรภาพทางเศรษฐกิจและยุติการว่างงานขนานใหญ่โดยใช้รายจ่ายทางทหารอย่างหนักและเศรษฐกิจแบบผสม มีการดำเนินการโยธาสาธารณะอย่างกว้างขวาง รวมการก่อสร้างเอาโทบาน การคืนเสถียรภาพทางเศรษฐกิจส่งเสริมความนิยมของรัฐบาลให้เพิ่มพูนขึ้น คตินิยมเชื้อชาติ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การต่อต้านยิว เป็นลักษณะหัวใจของนาซีเยอรมนี โดยถือว่า กลุ่มชนเจอร์มานิค หรือเชื้อชาตินอร์ดิก (Nordic race) เป็นเชื้อชาติอารยันซึ่งบริสุทธิ์ที่สุด ฉะนั้นจึงเป็นเชื้อชาติปกครอง (master race) ชาวยิวและชนกลุ่มอื่นที่ถือว่าไม่พึงปรารถนาถูกเบียดเบียนหรือฆ่า และการค้านการปกครองของฮิตเลอร์ถูกปราบปรามอย่างโหดเหี้ยม สมาชิกฝ่ายค้านเสรีนิยม สังคมนิยมและคอมมิวนิสต์ถูกฆ่า จำคุกหรือเนรเทศ โบสถ์คริสต์ก็ถูกกดขี่เช่นกัน โดยผู้นำหลายคนถูกจำคุก การศึกษามุ่งเน้นชีววิทยาเชื้อชาติ นโยบายประชากร และสมรรถภาพทางกายสำหรับราชการทหาร โอกาสในอาชีพและการศึกษาของสตรีถูกตัดทอน มีการจัดนันทนาการและการท่องเที่ยวผ่านโครงการความแข็งแรงผ่านความรื่นเริง (Strength Through Joy) มีการใช้โอลิมปิกฤดูร้อน 1936 เป็นตัวนำเสนอไรช์ที่สามในเวทีระหว่างประเทศ รัฐมนตรีโฆษณาการ โยเซฟ เกิบเบิลส์ ใช้ภาพยนตร์ การชุมนุมมวลชน และวาทศิลป์จับจิตของฮิตเลอร์เพื่อควบคุมมติมหาชนอย่างได้ผล รัฐบาลควบคุมการแสดงออกทางศิลปะ โดยสนับสนุนศิลปะบางรูปแบบ แต่ขัดขวางหรือห้ามศิลปะรูปแบบอื่น เริ่มตั้งแต่ปลายคริสต์ทศวรรษ 1930 นาซีเยอรมนีเรียกร้องดินแดนอย่างก้าวร้าวมากขึ้นเรื่อย ๆ และขู่ทำสงครามหากไม่สนองข้อเรียกร้อง เยอรมนียึดออสเตรียและเชโกสโลวาเกียในปี 1938 และ 1939 ฮิตเลอร์ทำสนธิสัญญาไม่รุกรานกับโจเซฟ สตาลิน และบุกครองโปแลนด์ในเดือนกันยายน 1939 เป็นการเปิดฉากสงครามโลกครั้งที่สองในทวีปยุโรป เยอรมนีเข้าเป็นพันธมิตรกับอิตาลีและฝ่ายอักษะที่เล็กกว่าและพิชิตทวีปยุโรปส่วนใหญ่เมื่อถึงปี 1940 และคุกคามสหราชอาณาจักร ไรช์ซคอมมิสซารีอัทควบคุมพื้นที่ที่ถูกพิชิตอย่างโหดร้ายและมีการสถาปนาการปกครองของเยอรมนีในประเทศโปแลนด์ที่เหลืออยู่ ชาวยิวและกลุ่มอื่นที่ถือว่าไม่พึงปรารถนาถูกจำคุกในค่ายกักกันและค่ายกำจัดนาซี การนำนโยบายเชื้อชาติของระบอบไปปฏิบัติลงเอยด้วยการสังหารชาวยิวและชนกลุ่มน้อยอื่นเป็นอันมากในฮอโลคอสต์ หลังการรุกรานสหภาพโซเวียตในปี 1941 นาซีเยอรมนีก็เริ่มเป็นรอง และปราชัยทางทหารสำคัญหลายครั้งในปี 1943 การทิ้งระเบิดทางอากาศต่อประเทศเยอรมนีทวีขึ้นในปี 1944 และฝ่ายอักษะถอยจากยุโรปตะวันออกและยุโรปใต้ หลังการบุกครองฝรั่งเศสของสัมพันธมิตร ประเทศเยอรมนีถูกโซเวียตจากทิศตะวันออกและฝ่ายสัมพันธมิตรจากทิศตะวันตกพิชิตและยอมจำนนในหนึ่งปี การที่ฮิตเลอร์ปฏิเสธยอมรับความปราชัยนำให้โครงสร้างพื้นฐานของเยอรมนีถูกทำลายล้างขนานใหญ่และการเสียชีวิตที่เกี่ยวข้องกับสงครามเพิ่มในเดือนท้าย ๆ ของสงคราม ฝ่ายสัมพันธมิตรผู้กำชัยริเริ่มนโยบายขจัดความเป็นนาซี (denazification) และนำผู้นำนาซีที่เหลือรอดหลายคนมาพิจารณาคดีอาชญากรรมสงครามในการพิจารณาคดีเนือร์นแบร์ก ส่วนประเทศเยอรมนีถูกยึดครองโดยมหาอำนาจฝ่ายสัมพันธมิตรคือ ฝรั่งเศส สหภาพโซเวียต สหรัฐอเมริกา และสหราชอาณาจักร.
ดู เจ้าหญิงวิกตอเรียแห่งเฮสส์และไรน์และนาซีเยอรมนี
นิกายลูเทอแรน
ัญลักษณ์กุหลาบลูเทอแรน นิกายลูเทอแรน (Lutheranism) เป็นนิกายหนึ่งในศาสนาคริสต์ตะวันตกฝ่ายโปรเตสแตนต์ มาร์ติน ลูเทอร์ เป็นผู้ก่อตั้งนิกายนี้ขึ้นจากการปฏิรูปหลักเทววิทยาและการปฏิบัติของนิกายโรมันคาทอลิก.
ดู เจ้าหญิงวิกตอเรียแห่งเฮสส์และไรน์และนิกายลูเทอแรน
แกรนด์ดัชเชสเอลิซาเบธ เฟโอโดรอฟนาแห่งรัสเซีย
แกรนด์ดัชเชสเอลิซาเบธ เฟโอโดรอฟนาแห่งรัสเซีย (Елизавета Фëдоровна; เยลิซาเวียตา เฟโยโดรอฟนา; 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2407 - 18 กรกฎาคม พ.ศ.
ดู เจ้าหญิงวิกตอเรียแห่งเฮสส์และไรน์และแกรนด์ดัชเชสเอลิซาเบธ เฟโอโดรอฟนาแห่งรัสเซีย
เจ้าชายฟิลิป ดยุกแห่งเอดินบะระ
้าชายฟิลิป ดยุกแห่งเอดินบะระ (พระนามเดิม เจ้าชายฟิลิปปอสแห่งกรีซและเดนมาร์ก; พระราชสมภพ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2464) เป็นพระราชสวามีในสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร เป็นชาวกรีก โดยกำเนิด มีตำแหน่งเจ้าชายแห่งกรีซและแห่งเดนมาร์ก ปัจจุบันมียศเป็นดยุกแห่งเอดินบะระ มีพระนามเดิมว่า เรือเอก ฟิลิป เมาท์แบตเตน เข้าพระราชพิธีอภิเษกสมรสกับเจ้าหญิงเอลิซาเบธ เมื่อปี พ.ศ.
ดู เจ้าหญิงวิกตอเรียแห่งเฮสส์และไรน์และเจ้าชายฟิลิป ดยุกแห่งเอดินบะระ
เจ้าชายหลุยส์แห่งบัทเทนแบร์ก
อมพลเรือ หลุยส์ อเล็กซานเดอร์ เมานต์แบ็ตเทน มาควิสแห่งมิลฟอร์ดเฮเวน (Louis Alexander Mountbatten, Marquess of Milford Haven) หรือพระนามเดิมคือ เจ้าชายหลุยส์ อเล็กซานเดอร์ แห่งบัทเทนแบร์ก เป็นทหารเรือชาวอังกฤษและเจ้าชายเยอรมันสัญชาติอังกฤษ พระองค์เสกสมรสกับเจ้าหญิงวิกตอเรีย พระราชนัดดาในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรี.
ดู เจ้าหญิงวิกตอเรียแห่งเฮสส์และไรน์และเจ้าชายหลุยส์แห่งบัทเทนแบร์ก
เจ้าชายอัลเบิร์ต พระราชสวามี
้าชาย ฟรันซ์ อัลแบร์ท เอากุสตุส คาร์ล เอ็มมานูเอล แห่งซัคเซิน-โคบูร์ก-ซาลเฟลด์ (Franz Albert August Karl Emanuel von Sachsen-Coburg-Saalfeld) หรือ เจ้าชายอัลเบิร์ต พระราชสวามี (Albert, Prince Consort) เป็นเจ้าชายเยอรมันซึ่งสมรสเข้าสู่พระราชวงศ์อังกฤษ ทรงเป็นพระราชสวามีในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร จึงทำให้พระองค์ดำรงพระยศเป็น "เจ้าชายพระราชสวามี" อย่างเป็นทางการเพียงพระองค์เดียว ภายหลังจากการสวรรคตของสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียใน..
ดู เจ้าหญิงวิกตอเรียแห่งเฮสส์และไรน์และเจ้าชายอัลเบิร์ต พระราชสวามี
เจ้าชายแอนดรูว์แห่งกรีซและเดนมาร์ก
้าชายแอนดรูว์ แห่งกรีซและเดนมาร์ก (20 มกราคม พ.ศ. 2425 - 3 ธันวาคม พ.ศ. 2487) พระราชโอรสพระองค์ที่สี่ในสมเด็จพระราชาธิบดีจอร์จที่ 1 แห่งกรีซ และ สมเด็จพระราชินีโอลก้าแห่งกรีซ ทรงเป็นสมาชิกของราชวงศ์ชเลสวิก-โฮลชไตน์-ซอนเดอร์บูร์ก-กลึกซ์เต็นบูร์ก เป็นพระชนกในเจ้าฟ้าชายฟิลิป ดยุคแห่งเอดินเบอระ พระราชสวามีในสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2.
ดู เจ้าหญิงวิกตอเรียแห่งเฮสส์และไรน์และเจ้าชายแอนดรูว์แห่งกรีซและเดนมาร์ก
เจ้าหญิงอลิซแห่งบัทเทนแบร์ก
้าหญิงอลิซแห่งบัทเทนแบร์ก เจ้าหญิงอลิซแห่งบัทเทนแบร์ก (Princess Alice of Battenberg; วิกตอเรีย อลิซ เอลิซาเบธ จูลี มารี; 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ.
ดู เจ้าหญิงวิกตอเรียแห่งเฮสส์และไรน์และเจ้าหญิงอลิซแห่งบัทเทนแบร์ก
เจ้าหญิงอลิซแห่งสหราชอาณาจักร
้าหญิงอลิซ เจ้าหญิงอลิซแห่งสหราชอาณาจักร (อลิซ ม้อด แมรี;25 เมษายน พ.ศ. 2386 - 14 ธันวาคม พ.ศ. 2421) ทรงเป็นสมาชิกในพระราชวงศ์อังกฤษ เป็นพระราชธิดาองค์ที่สามและองค์ที่สองในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย เป็นพระชายาในเจ้าฟ้าชายหลุยส์ที่ 4 แกรนด์ดยุคแห่งเฮสส์และไรน์ พระองค์ทรงดำรงพระยศเป็น แกรนด์ดัชเชสแห่งเฮสส์และไรน์ เจ้าหญิงอลิซเป็นพระปัยยิกาในเจ้าฟ้าชายฟิลิป ดยุคแห่งเอดินเบอระ พระราชสวามีในสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2.
ดู เจ้าหญิงวิกตอเรียแห่งเฮสส์และไรน์และเจ้าหญิงอลิซแห่งสหราชอาณาจักร
1 กุมภาพันธ์
วันที่ 1 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 32 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 333 วันในปีนั้น (334 วันในปีอธิกสุรทิน).
ดู เจ้าหญิงวิกตอเรียแห่งเฮสส์และไรน์และ1 กุมภาพันธ์
11 พฤศจิกายน
วันที่ 11 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 315 ของปี (วันที่ 316 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 50 วันในปีนั้น.
ดู เจ้าหญิงวิกตอเรียแห่งเฮสส์และไรน์และ11 พฤศจิกายน
11 กันยายน
วันที่ 11 กันยายน เป็นวันที่ 254 ของปี (วันที่ 255 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 111 วันในปีนั้น.
ดู เจ้าหญิงวิกตอเรียแห่งเฮสส์และไรน์และ11 กันยายน
13 กรกฎาคม
วันที่ 13 กรกฎาคม เป็นวันที่ 194 ของปี (วันที่ 195 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 171 วันในปีนั้น.
ดู เจ้าหญิงวิกตอเรียแห่งเฮสส์และไรน์และ13 กรกฎาคม
14 กรกฎาคม
วันที่ 14 กรกฎาคม เป็นวันที่ 195 ของปี (วันที่ 196 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 170 วันในปีนั้น.
ดู เจ้าหญิงวิกตอเรียแห่งเฮสส์และไรน์และ14 กรกฎาคม
14 ธันวาคม
วันที่ 14 ธันวาคม เป็นวันที่ 348 ของปี (วันที่ 349 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 17 วันในปีนั้น.
ดู เจ้าหญิงวิกตอเรียแห่งเฮสส์และไรน์และ14 ธันวาคม
15 พฤศจิกายน
วันที่ 15 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 319 ของปี (วันที่ 320 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 46 วันในปีนั้น.
ดู เจ้าหญิงวิกตอเรียแห่งเฮสส์และไรน์และ15 พฤศจิกายน
15 กันยายน
วันที่ 15 ก.. เป็นวันที่ 258 ของปี (วันที่ 259 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 107 วันในปีนั้น.
ดู เจ้าหญิงวิกตอเรียแห่งเฮสส์และไรน์และ15 กันยายน
15 สิงหาคม
วันที่ 15 สิงหาคม เป็นวันที่ 227 ของปี (วันที่ 228 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 138 วันในปีนั้น.
ดู เจ้าหญิงวิกตอเรียแห่งเฮสส์และไรน์และ15 สิงหาคม
17 กรกฎาคม
วันที่ 17 กรกฎาคม เป็นวันที่ 198 ของปี (วันที่ 199 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 167 วันในปีนั้น.
ดู เจ้าหญิงวิกตอเรียแห่งเฮสส์และไรน์และ17 กรกฎาคม
21 กุมภาพันธ์
วันที่ 21 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 52 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 313 วันในปีนั้น (314 วันในปีอธิกสุรทิน).
ดู เจ้าหญิงวิกตอเรียแห่งเฮสส์และไรน์และ21 กุมภาพันธ์
21 มิถุนายน
วันที่ 21 มิถุนายน เป็นวันที่ 172 ของปี (วันที่ 173 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 193 วันในปีนั้น.
ดู เจ้าหญิงวิกตอเรียแห่งเฮสส์และไรน์และ21 มิถุนายน
22 กรกฎาคม
วันที่ 22 กรกฎาคม เป็นวันที่ 203 ของปี (วันที่ 204 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 162 วันในปีนั้น.
ดู เจ้าหญิงวิกตอเรียแห่งเฮสส์และไรน์และ22 กรกฎาคม
22 มกราคม
วันที่ 22 มกราคม เป็นวันที่ 22 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 343 วันในปีนั้น (344 วันในปีอธิกสุรทิน).
ดู เจ้าหญิงวิกตอเรียแห่งเฮสส์และไรน์และ22 มกราคม
25 กุมภาพันธ์
วันที่ 25 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 56 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 309 วันในปีนั้น.
ดู เจ้าหญิงวิกตอเรียแห่งเฮสส์และไรน์และ25 กุมภาพันธ์
25 มิถุนายน
วันที่ 25 มิถุนายน เป็นวันที่ 176 ของปี (วันที่ 177 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 189 วันในปีนั้น.
ดู เจ้าหญิงวิกตอเรียแห่งเฮสส์และไรน์และ25 มิถุนายน
27 สิงหาคม
วันที่ 27 สิงหาคม เป็นวันที่ 239 ของปี (วันที่ 240 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 126 วันในปีนั้น.
ดู เจ้าหญิงวิกตอเรียแห่งเฮสส์และไรน์และ27 สิงหาคม
27 เมษายน
วันที่ 27 เมษายน เป็นวันที่ 117 ของปี (วันที่ 118 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 248 วันในปีนั้น.
ดู เจ้าหญิงวิกตอเรียแห่งเฮสส์และไรน์และ27 เมษายน
28 พฤศจิกายน
วันที่ 28 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 332 ของปี (วันที่ 333 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 33 วันในปีนั้น.
ดู เจ้าหญิงวิกตอเรียแห่งเฮสส์และไรน์และ28 พฤศจิกายน
28 มีนาคม
วันที่ 28 มีนาคม เป็นวันที่ 87 ของปี (วันที่ 88 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 278 วันในปีนั้น.
ดู เจ้าหญิงวิกตอเรียแห่งเฮสส์และไรน์และ28 มีนาคม
28 ตุลาคม
วันที่ 28 ตุลาคม เป็นวันที่ 301 ของปี (วันที่ 302 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 64 วันในปีนั้น.
ดู เจ้าหญิงวิกตอเรียแห่งเฮสส์และไรน์และ28 ตุลาคม
3 พฤศจิกายน
วันที่ 3 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 307 ของปี (วันที่ 308 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 58 วันในปีนั้น.
ดู เจ้าหญิงวิกตอเรียแห่งเฮสส์และไรน์และ3 พฤศจิกายน
3 ธันวาคม
วันที่ 3 ธันวาคม เป็นวันที่ 337 ของปี (วันที่ 338 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 28 วันในปีนั้น.
ดู เจ้าหญิงวิกตอเรียแห่งเฮสส์และไรน์และ3 ธันวาคม
30 เมษายน
วันที่ 30 เมษายน เป็นวันที่ 120 ของปี (วันที่ 121 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 245 วันในปีนั้น.
ดู เจ้าหญิงวิกตอเรียแห่งเฮสส์และไรน์และ30 เมษายน
5 ธันวาคม
วันที่ 5 ธันวาคม เป็นวันที่ 339 ของปี (วันที่ 340 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 26 วันในปีนั้น.
ดู เจ้าหญิงวิกตอเรียแห่งเฮสส์และไรน์และ5 ธันวาคม
6 พฤศจิกายน
วันที่ 6 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 310 ของปี (วันที่ 311 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 55 วันในปีนั้น.
ดู เจ้าหญิงวิกตอเรียแห่งเฮสส์และไรน์และ6 พฤศจิกายน
7 มีนาคม
วันที่ 7 มีนาคม เป็นวันที่ 66 ของปี (วันที่ 67 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 299 วันในปีนั้น.
ดู เจ้าหญิงวิกตอเรียแห่งเฮสส์และไรน์และ7 มีนาคม
7 ตุลาคม
วันที่ 7 ตุลาคม เป็นวันที่ 280 ของปี (วันที่ 281 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 85 วันในปีนั้น.
ดู เจ้าหญิงวิกตอเรียแห่งเฮสส์และไรน์และ7 ตุลาคม
8 เมษายน
วันที่ 8 เมษายน เป็นวันที่ 98 ของปี (วันที่ 99 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 267 วันในปีนั้น.
ดู เจ้าหญิงวิกตอเรียแห่งเฮสส์และไรน์และ8 เมษายน
ดูเพิ่มเติม
ตระกูลบัทเทินแบร์ค
- ลูอีส เมานต์แบ็ตเทน
- วิกตอเรีย ยูจีนีแห่งบัทเทนแบร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งสเปน
- เจ้าชายฟิลิป ดยุกแห่งเอดินบะระ
- เจ้าหญิงเบียทริซแห่งสหราชอาณาจักร
ตระกูลเฮ็สเซิน-ดาร์มชตัท
- จักรพรรดินีมารีเยีย อะเลคซันโดรฟนาแห่งรัสเซีย
- เจ้าหญิงเซซีลีแห่งกรีซและเดนมาร์ก
- แกรนด์ดัชเชสเอลิซาเบธ เฟโอโดรอฟนาแห่งรัสเซีย
หรือที่รู้จักกันในชื่อ สมเด็จเจ้าฟ้าหญิงวิกตอเรีย แห่งเฮสส์และไรน์เจ้าหญิงวิกตอเรีย แห่งเฮสส์และไรน์