สารบัญ
83 ความสัมพันธ์: ชวาหะร์ลาล เนห์รูฟิลิปปาแห่งเฮนอลต์ สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษพ.ศ. 1581พ.ศ. 1738พ.ศ. 1912พ.ศ. 2312พ.ศ. 2364พ.ศ. 2415พ.ศ. 2417พ.ศ. 2425พ.ศ. 2435พ.ศ. 2442พ.ศ. 2457พ.ศ. 2472พ.ศ. 2488พ.ศ. 2490พ.ศ. 2493พ.ศ. 2506พ.ศ. 2515พ.ศ. 2518พ.ศ. 2520พ.ศ. 2521พ.ศ. 2523พ.ศ. 2524พ.ศ. 2525พ.ศ. 2532พ.ศ. 2533พ.ศ. 2536พ.ศ. 2538พ.ศ. 2541พ.ศ. 2544พ.ศ. 2547พ.ศ. 2548พ.ศ. 966พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระเจ้าอิชต์วานที่ 1 แห่งฮังการีกองทัพสาธารณรัฐไอร์แลนด์กีฬาโอลิมปิกมหาสมุทรแอตแลนติกมหาสมุทรแปซิฟิกมะซะกิ โอะกะดะยกน้ำหนักยุมิ อะโซวริษฐ์ ทิพโกมุทวันสมโภชสงครามโลกครั้งที่สองอัสสัมชัญอุดมพร พลศักดิ์อเล็กซ์ ออกซ์เลด-เชมเบอร์ลินจอห์น ดีแลน... ขยายดัชนี (33 มากกว่า) »
- สิงหาคม
ชวาหะร์ลาล เนห์รู
วาหะร์ลาล เนห์รู (जवाहरलाल नेहरू ชวาหรลาล เนหรู; Jawaharlal Nehru; 14 พฤศจิกายน ค.ศ. 1889 – 27 พฤษภาคม ค.ศ. 1964) รัฐบุรุษของอินเดีย และนายกรัฐมนตรีคนแรก หลังได้รับเอกราชจากอังกฤษ ดำรงตำแหน่งเป็นเวลา 17 ปี ตั้งแต..
ดู 15 สิงหาคมและชวาหะร์ลาล เนห์รู
ฟิลิปปาแห่งเฮนอลต์ สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษ
ฟิลลิปปาแห่งเอโนลต์ สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษ (ภาษาอังกฤษ: Philippa of Hainault) (24 มิถุนายน ค.ศ. 1314 15 สิงหาคม ค.ศ. 1369) ฟิลลิปปาแห่งเอโนลต์ประสูติเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน ค.ศ.
ดู 15 สิงหาคมและฟิลิปปาแห่งเฮนอลต์ สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษ
พ.ศ. 1581
ทธศักราช 1581 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1038.
พ.ศ. 1738
ทธศักราช 1738 ใกล้เคียงกั.
พ.ศ. 1912
ทธศักราช 1912 ใกล้เคียงกั.
พ.ศ. 2312
ทธศักราช 2312 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1769.
พ.ศ. 2364
ทธศักราช 2364 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1821.
พ.ศ. 2415
ทธศักราช 2415 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1872 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
พ.ศ. 2417
ทธศักราช 2417 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1874.
พ.ศ. 2425
ทธศักราช 2425 ตรงกั.
พ.ศ. 2435
ทธศักราช 2435 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1892 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
พ.ศ. 2442
ทธศักราช 2442 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1899 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
พ.ศ. 2457
ทธศักราช 2457 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1914 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
พ.ศ. 2472
ทธศักราช 2472 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1929 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
พ.ศ. 2488
ทธศักราช 2488 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1945 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.
พ.ศ. 2490
ทธศักราช 2490 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1947.
พ.ศ. 2493
ทธศักราช 2493 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1950 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
พ.ศ. 2506
ทธศักราช 2506 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1963 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.
พ.ศ. 2515
ทธศักราช 2515 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1972 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
พ.ศ. 2518
ทธศักราช 2518 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1975 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.
พ.ศ. 2520
ทธศักราช 2520 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1977 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
พ.ศ. 2521
ทธศักราช 2521 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1978 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
พ.ศ. 2523
ทธศักราช 2523 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1980 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.
พ.ศ. 2524
ทธศักราช 2524 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1981 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
พ.ศ. 2525
ทธศักราช 2525 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1982 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปี สมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ 200 ปี.
พ.ศ. 2532
ทธศักราช 2532 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1989 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
พ.ศ. 2533
ทธศักราช 2533 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1990 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
พ.ศ. 2536
ทธศักราช 2536 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1993 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
พ.ศ. 2538
ทธศักราช 2538 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1995 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
พ.ศ. 2541
ทธศักราช 2541 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1998 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน.
พ.ศ. 2544
ทธศักราช 2544 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2001 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
พ.ศ. 2547
ทธศักราช 2547 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2004 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน เป็นปีอธิกมาส ปกติวาร ตามปฏิทินไทยจันทรคติ และกำหนดให้เป็น.
พ.ศ. 2548
ทธศักราช 2548 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2005 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรโกเรียน และเป็น.
พ.ศ. 966
ทธศักราช 966 ตรงกับปี คริสต์ศักราช 423.
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (20 กันยายน พ.ศ. 2396 – 23 ตุลาคม พ.ศ. 2453) เป็นพระมหากษัตริย์สยาม รัชกาลที่ 5 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันอังคาร เดือน 10 แรม 3 ค่ำ ปีฉลู ตรงกับวันที่ 20 กันยายน..
ดู 15 สิงหาคมและพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระเจ้าอิชต์วานที่ 1 แห่งฮังการี
ระเจ้าอิชต์วานที่ 1 หรือ นักบุญอิชต์วานที่ 1 (I.; Sanctus Stephanus; ค.ศ. 967/ค.ศ. 969/ค.ศ. 975 (แอสแตร์โกม) – 15 สิงหาคม ค.ศ. 1038 (แอสแตร์โกม หรือเซเคซเฟเฮร์วาร์)) อิชต์วานทรงเป็นแกรนด์พรินซ์แห่งฮังการีระหว่างปี..
ดู 15 สิงหาคมและพระเจ้าอิชต์วานที่ 1 แห่งฮังการี
กองทัพสาธารณรัฐไอร์แลนด์
กองทัพสาธารณรัฐไอร์แลนด์ (Irish Republican Army; Óglaigh na hÉireann) เป็นขบวนการของชนกลุ่มน้อยชาวไอริชที่นับถือศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิกในไอร์แลนด์เหนือ ต่อสู้เพื่อเรียกร้องเอกราชจากสหราชอาณาจักร โดยใช้ความรุนแรง เช่น การลอบสังหาร การปล้นธนาคาร และการวางระเบิดพลเรือนมาตั้งแต่เริ่มก่อตั้งองค์กรเมื่อ..
ดู 15 สิงหาคมและกองทัพสาธารณรัฐไอร์แลนด์
กีฬาโอลิมปิก
กีฬาโอลิมปิก (อังกฤษ: Olympic Games, ฝรั่งเศส: les Jeux olympiques, JO) หรือโอลิมปิกส์ (อังกฤษ: Olympics) สมัยใหม่ เป็นการแข่งขันระหว่างประเทศที่สำคัญ ทั้งกีฬาฤดูร้อนและฤดูหนาว โดยมีนักกีฬาหลายพันคนเข้าร่วมการแข่งขันหลายชนิดกีฬา กีฬาโอลิมปิกถูกมองว่าเป็นการแข่งขันกีฬาที่สำคัญที่สุดของโลก โดยมีประเทศเข้าร่วมกว่า 200 ประเทศ ปัจจุบัน กีฬาโอลิมปิกจัดขึ้นทุกสองปี ผลัดกันระหว่างโอลิมปิกฤดูร้อนกับโอลิมปิกฤดูหนาว หมายความว่า โอลิมปิกฤดูร้อนและโอลิมปิกฤดูหนาวจะจัดห่างกันสี่ปี การสร้างสรรค์กีฬาโอลิมปิกได้รับแรงบันดาลใจจากกีฬาโอลิมปิกโบราณ ซึ่งจัดขึ้นในโอลิมเปีย กรีซ จากศตวรรษที่ 8 ก่อนคริสตกาล ถึงคริสต์ศตวรรษที่ 4 บารอน ปีแยร์ เดอ กูแบร์แต็ง ก่อตั้งคณะกรรมการโอลิมปิกสากล (ไอโอซี) ใน..
มหาสมุทรแอตแลนติก
มหาสมุทรแอตแลนติก (Atlantic Ocean) เป็นมหาสมุทรที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับสองของโลก ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 1 ใน 5 ของพื้นผิวโลก ชื่อของมหาสมุทรมาจากนิยายปรัมปรากรีก หมายถึง "ทะเลของแอตลาส" มหาสมุทรแอตแลนติกเป็นแอ่งที่มีรูปร่างเหมือนตัวเอส (S) ติดกับทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต้ทางตะวันตก ส่วนทางตะวันออกติดกับ ทวีปยุโรปและทวีปแอฟริกา ปัจจุบันมีการแบ่งมหาสมุทรแอตแลนติกเป็น 2 ส่วน คือ แอตแลนติกเหนือและแอตแลนติกใต้ โดยใช้บริเวณที่เกิดการเปลี่ยนทิศของกระแสน้ำที่ละติจูด 8° เหนือเป็นแนวแบ่ง มหาสมุทรแอตแลนติกเชื่อมกับมหาสมุทรแปซิฟิกทางมหาสมุทรอาร์กติกซึ่งอยู่ทางเหนือ ส่วนทางใต้เชื่อมทางช่องแคบเดรก จุดเชื่อมต่ออีกแห่งหนึ่งที่สร้างขึ้นโดยมนุษย์ คือ คลองปานามา เส้นแบ่งระหว่างมหาสมุทรแอตแลนติกกับมหาสมุทรอินเดีย คือ เส้นเมริเดียน 20° ตะวันออก และแยกจากมหาสมุทรอาร์กติกด้วยเส้นที่ลากจากกรีนแลนด์ ผ่านตอนใต้สุดของสฟาลบาร์ (Svalbard) ไปยังตอนเหนือของนอร์เวย์ มหาสมุทรแอตแลนติกมีพื้นน้ำประมาณ 106,460,000 ตารางกิโลเมตร ปริมาตรของมหาสมุทรเมื่อรวมทะเลที่อยู่ติดกันมีค่า 310,410,900 ลูกบาศก์กิโลเมตร มีความลึกเฉลี่ย 3,646 เมตร จุดที่ลึกที่สุดคือปวยร์โตรีโกเทรนช์มีความลึก 8,486 เมตร (27,840 ฟุต).
ดู 15 สิงหาคมและมหาสมุทรแอตแลนติก
มหาสมุทรแปซิฟิก
มหาสมุทรแปซิฟิก (Pacific Ocean) ตั้งชื่อโดย เฟอร์ดินานด์ มาเจลลัน ว่า Mare Pacificum เป็นภาษาละติน แปลว่า peaceful sea ภาษาฝรั่งเศส pacifique (ปาซีฟีก) หมายถึง "สงบสุข" เป็นผืนน้ำที่กว้างใหญ่ที่สุดในโลก มีพื้นน้ำประมาณ 165,000,000 ตารางกิโลเมตร หรือ 1 ใน 3 ของพื้นที่ผิวทั้งหมดของโลก ความยาวในแนวลองจิจูดมีระยะทางประมาณ 15,500 กิโลเมตร จากทะเลเบริงในเขตอาร์กติกที่อยู่ทางเหนือจรดริมฝั่งทะเลรอสส์ในแอนตาร์กติกาที่อยู่ทางใต้ มหาสมุทรแปซิฟิกมีด้านที่กว้างที่สุดตามแนวตะวันออก-ตะวันตก อยู่ ณ บริเวณละติจูด 5 องศาเหนือ ด้วยความยาวประมาณ 19,800 กิโลเมตร จากอินโดนีเซียถึงชายฝั่งโคลอมเบีย สุดเขตด้านตะวันตก คือ ช่องแคบมะละกา จุดที่ลึกที่สุดในโลก คือ ร่องลึกมาเรียนา (Mariana Trench) อยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิก จุดที่ลึกที่สุดวัดได้ 10,911 เมตร มหาสมุทรแปซิฟิก ความเค็มประมาณ 33-37 ส่วนต่อพันส่วน กระแสน้ำที่สำคัญของมหาสมุทรแปซิฟิก คือ กระแสน้ำเย็นฮัมโบลต์ (เปรู) กระแสน้ำอุ่นศูนย์สูตร กระแสน้ำเย็นแคลิฟอร์เนีย กระแสน้ำอุ่นอะแลสกา และกระแสน้ำอุ่นคุโระชิโอะ (กุโรชิโว) มหาสมุทรแปซิฟิกมีเกาะอยู่ประมาณ 25,000 เกาะ (มากกว่าเกาะในมหาสมุทรอื่น ๆ ที่เหลือรวมกัน) ส่วนใหญ่อยู่ใต้เส้นศูนย์สูตร ริมมหาสมุทรประกอบด้วยทะเลจำนวนมาก ที่สำคัญ คือ ทะเลเซเลบีส ทะเลคอรัล ทะเลจีนตะวันออก ทะเลญี่ปุ่น ทะเลจีนใต้ ทะเลซูลู ทะเลแทสมัน และทะเลเหลือง ทางด้านตะวันตก ช่องแคบมะละกาเป็นจุดเชื่อมต่อระหว่างมหาสมุทรแปซิฟิกกับมหาสมุทรอินเดีย ส่วนทางด้านตะวันออก ช่องแคบมาเจลลันเชื่อมต่อระหว่างมหาสมุทรแปซิฟิกกับ มหาสมุทรแอตแลนติก.
ดู 15 สิงหาคมและมหาสมุทรแปซิฟิก
มะซะกิ โอะกะดะ
มะซะกิ โอะกะดะ เป็นนักแสดงชาวญี่ปุ่น เป็นที่รู้จักจากบทเซกิเมะ เคียวโกะ ในซีรีส์เรื่อง Hanazakari no Kimitachi e หรือ สับขั้วมาลุ้นรัก และในบททาคุมะ คาคิโนอุจิในปี 2009.
ดู 15 สิงหาคมและมะซะกิ โอะกะดะ
ยกน้ำหนัก
กน้ำหนัก ยกน้ำหนัก เป็นกีฬาประเภทหนึ่ง แข่งขันกันโดยการแข่งยกก้อนน้ำหนักที่ถ่วงไว้ที่สองข้างของคานเหล็ก โดยผู้ที่ยกน้ำหนักได้มากกว่าจะเป็นผู้ชนะ โดยมีท่าในการยกที่แตกต่างกัน.
ยุมิ อะโซ
มิ อะโซ เกิดเมื่อวันที่ 15 สิงหาคม..
วริษฐ์ ทิพโกมุท
วริษฐ์ ทิพโกมุท (เกิด 15 สิงหาคม พ.ศ. 2525) ชื่อเล่น ต๊ะ เป็นนักแสดงชาวไทยนับถือศาสนาพุทธ เขามีชื่อเสียงจากละครเรื่อง อุ้มรัก จากบท มาร์ค ต่อมาวริษฐ์ก็ก้าวขึ้นตำแหน่งพระเอกอย่างเต็มตัวในละครเรื่อง ยิ่งเกลียดเธอยิ่งเจอรัก แสดงนำร่วมกับ ศิรพันธ์ วัฒนจินดา นอกจากนี้เขายังเคยเข้าประกวดดัชชี่บอยแอนด์เกิร์ล ปี..
ดู 15 สิงหาคมและวริษฐ์ ทิพโกมุท
วันสมโภช
ในคริสตจักรโรมันคาทอลิก วันสมโภช (solemnity) หมายถึงวันฉลองที่มีความสำคัญสูงสุด เพราะเกี่ยวข้องกับพระตรีเอกภาพ พระเยซู พระนางมารีย์พรหมจารี นักบุญโยเซฟ เป็นต้น วันสำคัญรองจากวันสมโภชเรียกว่าวันฉลอง และรองจากวันฉลองเรียกว่าวันระลึกถึง โดยปกติวันสมโภชจะระบุในปฏิทินโรมันทั่วไป ซึ่งหมายถึงคริสตจักรละตินทั่วโลกจะร่วมเฉลิมฉลองกัน แต่คริสตจักรเฉพาะถิ่นอาจกำหนดวันสมโภชขึ้นเพิ่มเติมได้ หากเหตุการณ์นั้นมีความสำคัญเป็นพิเศษกับคริสตจักรในท้องถิ่น.
สงครามโลกครั้งที่สอง
งครามโลกครั้งที่สอง (World War II หรือ Second World Warคำว่าสงครามโลกครั้งที่สองในภาษาอังกฤษนั้น ในเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการของสหราชอาณาจักรและชาติตะวันตกใช้คำว่า "Second World War" ส่วนในสหรัฐใช้คำว่า "World War II" (ย่อเป็น "WWII" หรือ "WW2") ซึ่งเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการในประเทศส่วนใหญ่มักจะใช้ภาษาอังกฤษว่า "Second World War" (เช่น Zweiter Weltkrieg ในภาษาเยอรมัน; Segunda Guerra mundial ในภาษาสเปน; Seconde Guerre mondiale ในภาษาฝรั่งเศส) แต่ทั้งสองคำนี้โดยทั่วไปแล้วสามารถใช้แทนกันได้; แม้ในประวัติศาสตร์การทหารอย่างเป็นทางการ คำว่า "Second World War" ถูกสร้างขึ้นโดย แฟรงก์ บี.
ดู 15 สิงหาคมและสงครามโลกครั้งที่สอง
อัสสัมชัญ
อัสสัมชัญ (assumption) ตามศัพท์หมายถึง การยกขึ้น ในศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิกใช้หมายถึง.
อุดมพร พลศักดิ์
ันตรีหญิง อุดมพร พลศักดิ์ ชื่อเล่นอร (เกิด 6 ตุลาตม พ.ศ. 2524) อดีตนักกีฬายกน้ำหนักทีมชาติไทย เป็นนักกีฬาหญิงคนแรกของประเทศไทย ที่ได้เหรียญทองโอลิมปิก โดยได้จากการแข่งขันโอลิมปิก ปี 2004 ที่กรุงเอเธนส์, เมื่อวันที่ 15 สิงหาคม พ.ศ.
ดู 15 สิงหาคมและอุดมพร พลศักดิ์
อเล็กซ์ ออกซ์เลด-เชมเบอร์ลิน
อเล็กซ์ ออกซ์เลด-เชมเบอร์ลิน (Alex Oxlade-Chamberlain) นักฟุตบอลอาชีพชาวอังกฤษ เจ้าของฉายา "ดิออก" (The Ox) มีชื่อเต็มว่า อเล็กซานเดอร์ มาร์ก เดวิด ออกซ์เลด-เชมเบอร์ลิน (Alexander Mark David Oxlade-Chamberlain) เกิดเมื่อวันที่ 15 สิงหาคม..
ดู 15 สิงหาคมและอเล็กซ์ ออกซ์เลด-เชมเบอร์ลิน
จอห์น ดีแลน
อห์น ดีแลน ชื่อเล่น จอห์น (ชื่อเต็ม: จอห์น ดีแลน โพสเตอร์เวท) เกิดวันที่15 สิงหาคม..
จักรพรรดิฮอโนริอุส
ักรพรรดิฮอโนริอุส หรือ เฟลวิอัส ฮอโนริอุส (Honorius; ชื่อเต็ม: Flavius Honorius) (9 กันยายน ค.ศ. 384 – 15 สิงหาคม ค.ศ. 423) ฮอโนริอุสเป็นจักรพรรดิราชวงศ์ธีโอโดเชียนแห่งจักรวรรดิโรมันผู้ครองราชย์ระหว่างวันที่ 23 มกราคม ค.ศ.
ดู 15 สิงหาคมและจักรพรรดิฮอโนริอุส
จักรพรรดินโปเลียนที่ 1
นโปเลียน โบนาปาร์ต (Napoléon Bonaparte) เป็นนายพลในช่วงการปฏิวัติฝรั่งเศส ดำรงตำแหน่งกงสุลเอกของฝรั่งเศส ตั้งแต่ปลายปี..
ดู 15 สิงหาคมและจักรพรรดินโปเลียนที่ 1
จิมมี่ คาร์รัทเธอร์
มมี่ คาร์รัทเธอร์ (Jimmy Carruthers) นักมวยสากลชาวออสเตรเลีย เป็นแชมป์โลกคนแรกของออสเตรเลีย เกิดเมื่อ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2472 มีชื่อจริงว่า เจมส์ วิลเลี่ยม คาร์รัทเธอร์ (James William Carruthers) มีสถิติการชก 25 ครั้ง ชนะ 21 (น็อค 13) แพ้ 4.
ดู 15 สิงหาคมและจิมมี่ คาร์รัทเธอร์
ถนนราชดำเนิน (กรุงเทพมหานคร)
นนราชดำเนินกลางและอนุสาวรีย์ประชาธิปไตย ถนนราชดำเนิน (Thanon Ratchadamnoen) เป็นถนนสายสำคัญสายหนึ่งในกรุงเทพมหานคร ประกอบด้วยถนน 3 สาย ได้แก.
ดู 15 สิงหาคมและถนนราชดำเนิน (กรุงเทพมหานคร)
ขบวนการอาเจะฮ์เสรี
งของขบวนการอาเจะฮ์เสรี ขบวนการอาเจะฮ์เสรี (Gerakan Aceh Merdeka; GAM) หรือ แนวร่วมปลดปล่อยแห่งชาติอาเจะฮ์สุมาตรา (Aceh Sumatra National Liberation Front) เป็นขบวนการแบ่งแยกดินแดนที่เรียกร้องเอกราชในบริเวณอาเจะฮ์ที่อยู่ในเกาะสุมาตราของอินโดนีเซีย การต่อสู้ด้วยความรุนแรงขององค์กรยุติลงหลังจากการเจรจาสันติภาพกับรัฐบาลอินโดนีเซีย เมื่อ..
ดู 15 สิงหาคมและขบวนการอาเจะฮ์เสรี
คลองปานามา
แผนที่การเดินทางในคลองปานามา โดยมีรายชื่อประตูกั้นน้ำประกอบ สถานที่ตั้งของคลองปานามาระหว่างมหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลแคริบเบียน โดยตัวคลองตั้งอยู่บริเวณตรงกลางของแผนที่ คลองปานามา (Panama Canal) เป็นคลองเดินเรือสมุทรความยาว 77 กิโลเมตร สร้างขึ้นบริเวณคอคอดปานามาในประเทศปานามา เพื่อเชื่อมมหาสมุทรแปซิฟิกกับมหาสมุทรแอตแลนติกเข้าด้วยกัน ซึ่งช่วยย่นระยะเวลาที่ต้องไปอ้อมช่องแคบเดรกและแหลมฮอร์น ทางใต้สุดของทวีปอเมริกาใต้ คิดเป็นระยะทางกว่า 22,500 กิโลเมตร ซึ่งมีผลอย่างยิ่งต่อการเดินเรือระหว่างสองมหาสมุทร โดยถูกใช้เป็นเส้นทางเดินเรือหลักสำหรับการค้าทางทะเลระหว่างประเทศ ตั้งแต่เปิดทำการ คลองปานามาประสบความสำเร็จและเป็นกุญแจสำคัญในการขนส่งสินค้าทั่วโลก จำนวนเรือที่ผ่านคลองปานามาเพิ่มขึ้นจาก 1,000 ลำต่อปีในยุคแรกเริ่ม มาเป็น 14,702 ลำต่อปี ในปี..
คองโก
องโก อาจหมายถึง.
คณะองคมนตรี
ณะองคมนตรี (privy council) คือ กลุ่มบุคคลที่ให้คำปรึกษาแก่ประมุขแห่งรัฐ โดยทั่วไปในประเทศที่ปกครองแบบราชาธิปไตย ในภาษาอังกฤษ คำว่า "privy" หมายถึง "ส่วนตัว" หรือ "ลับ" ดังนั้นแรกเริ่มเดิมที privy council คือคณะที่ปรึกษาที่ใกล้ชิดที่สุดของกษัตริย์ที่ให้คำปรึกษาที่รักษาเป็นความลับในเรื่องกิจการรัฐ ประเทศที่มีสภาองคมนตรีหรือองค์กรเทียบเท่าในปัจจุบัน เช่น สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ, ประเทศแคนาดา, ราชอาณาจักรเดนมาร์ก, ราชอาณาจักรตองกา และ ราชอาณาจักรไท.
ปฏิทินสุริยคติ
รัญ 209 Dido ปฏิทินสุริยคติ (อังกฤษ: solar calendar) คือ ปฏิทินที่สอดคล้องกับฤดูกาลและเดคลิเนชันของดวงอาทิตย์ ความยาวนานของปีโดยเฉลี่ยมีค่าใกล้เคียงกับปีฤดูกาล ปฏิทินสุริยคติ ได้แก.
ดู 15 สิงหาคมและปฏิทินสุริยคติ
ปฏิทินเกรโกเรียน
ปฏิทินเกรโกเรียน (Gregorian Calendar) เป็นปฏิทินที่ดัดแปลงมาจากปฏิทินจูเลียน ใช้กันแพร่หลายในประเทศตะวันตก ประกาศใช้ครั้งแรกโดยสมเด็จพระสันตะปาปาเกรโกรีที่ 13 เมื่อ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ.
ดู 15 สิงหาคมและปฏิทินเกรโกเรียน
ประเทศบังกลาเทศ
ังกลาเทศ (বাংলাদেশ) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐประชาชนบังกลาเทศ (গণপ্রজাতন্ত্রী বাংলাদেশ) เป็นประเทศในเอเชียใต้ ซึ่งครอบครองเนื้อที่ในส่วนตะวันตกของภูมิภาคเบงกอล คำว่า "บังกลาเทศ (Bangladesh)" แปลว่า "ประเทศแห่งเบงกอล" ถูกล้อมรอบประเทศอินเดีย 3 ด้าน ยกเว้นพรมแดนด้านใต้ติดอ่าวเบงกอล และตะวันออกเฉียงใต้ติดประเทศพม.
ดู 15 สิงหาคมและประเทศบังกลาเทศ
ประเทศบาห์เรน
ห์เรน (Bahrain; البحرين) หรือชื่อทางการ ราชอาณาจักรบาห์เรน (Kingdom of Bahrain; مملكة البحرين) เป็นประเทศเกาะในอ่าวเปอร์เซีย โดยมีสะพานเชื่อมต่อกับซาอุดีอาระเบียที่อยู่ห่างจากเกาะประมาณ 28 กิโลเมตร คือ สะพานคิงฟะฮัด ซึ่งเปิดใช้อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน ค..1986 ส่วนสะพานมิตรภาพกาตาร์-บาห์เรน ที่กำลังอยู่ในระหว่างวางแผนงานนั้น จะเชื่อมต่อบาห์เรนเข้ากับกาตาร์ ซึ่งตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ และจะเป็นสะพานขึงที่ยาวที่สุดในโลก.
ประเทศญี่ปุ่น
ประเทศญี่ปุ่น (ชื่ออย่างเป็นทางการ) เป็นรัฐเอกราชหมู่เกาะในเอเชียตะวันออก ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกนอกฝั่งตะวันออกของแผ่นดินใหญ่เอเชีย ทางตะวันตกติดกับคาบสมุทรเกาหลีและประเทศจีน โดยมีทะเลญี่ปุ่นกั้น ส่วนทางทิศเหนือติดกับประเทศรัสเซีย มีทะเลโอค็อตสค์เป็นเส้นแบ่งแดน ตัวอักษรคันจิของชื่อญี่ปุ่นแปลว่า "ถิ่นกำเนิดของดวงอาทิตย์" จึงทำให้มักได้ชื่อว่า "ดินแดนแห่งอาทิตย์อุทัย" ประเทศญี่ปุ่นเป็นกลุ่มเกาะกรวยภูเขาไฟสลับชั้นซึ่งมีเกาะประมาณ 6,852 เกาะ เกาะใหญ่สุดคือ เกาะฮนชู ฮกไกโด คีวชู และชิโกกุ ซึ่งคิดเป็นพื้นที่แผ่นดินประมาณร้อยละ 97 ของประเทศญี่ปุ่น และมักเรียกว่าเป็นหมู่เกาะเหย้า (home islands) ประเทศแบ่งเป็น 47 จังหวัดใน 8 ภูมิภาค โดยมีฮกไกโดเป็นจังหวัดเหนือสุด และโอกินาวะเป็นจังหวัดใต้สุด ประเทศญี่ปุ่นมีประชากร 127 ล้านคน เป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับ 10 ของโลก ชาวญี่ปุ่นเป็นร้อยละ 98.5 ของประชากรทั้งหมดของประเทศญี่ปุ่น ประมาณ 9.1 ล้านคนอาศัยอยู่ในกรุงโตเกียว เมืองหลวงของประเทศ การวิจัยทางโบราณคดีระบุว่ามีมนุษย์อาศัยในญี่ปุ่นปัจจุบันครั้งแรกตั้งแต่ยุคหินเก่า การกล่าวถึงญี่ปุ่นเป็นลายลักษณ์อักษรครั้งแรกปรากฏในบันทึกของราชสำนักจีนตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 1 ญี่ปุ่นได้รับอิทธิพลจากจีนในหลายด้าน เช่นภาษา การปกครองและวัฒนธรรม แต่ขณะเดียวกันก็มีการปรับเปลี่ยนให้เป็นเอกลักษณ์ของตนเอง จึงทำให้ญี่ปุ่นมีวัฒนธรรมที่โดดเด่นมาจนปัจจุบัน อีกหลายศตวรรษต่อมา ญี่ปุ่นก็รับเอาเทคโนโลยีตะวันตกและนำมาพัฒนาประเทศจนกลายเป็นประเทศที่ก้าวหน้าและมีอิทธิพลมากที่สุดในเอเชียตะวันออก หลังจากแพ้สงครามโลกครั้งที่สอง ญี่ปุ่นก็มีการเปลี่ยนแปลงทางการปกครองโดยการใช้รัฐธรรมนูญใหม่ใน..
ประเทศอังกฤษ
อังกฤษ (England อิง(ก)ลันด์) หรือในอดีตเรียกว่า แคว้นอังกฤษ เป็นประเทศอันเป็นส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักร มีพรมแดนทางบกติดต่อกับสกอตแลนด์ทางเหนือ และเวลส์ทางตะวันตก ทะเลไอร์แลนด์ทางตะวันตกเฉียงเหนือ ทะเลเคลติกทางตะวันตกเฉียงใต้ ทะเลเหนือทางตะวันออก และช่องแคบอังกฤษซึ่งคั่นระหว่างอังกฤษกับยุโรปแผ่นดินใหญ่ พื้นที่ประเทศอังกฤษส่วนใหญ่ตั้งอยู่ทางตอนกลางและตอนใต้ของเกาะบริเตนใหญ่ในมหาสมุทรแอตแลนติกเหนือ ประเทศอังกฤษยังรวมถึงเกาะที่เล็กกว่าอีกกว่า 100 เกาะ เช่น หมู่เกาะซิลลีและเกาะไวต์ ภูมิประเทศของอังกฤษส่วนมากประกอบด้วยเขาเตี้ยๆ และที่ราบ โดยเฉพาะทางตอนกลางและตอนใต้ของอังกฤษ อย่างไรก็ตาม ทางเหนือและทางตะวันตกเฉียงใต้เป็นที่สูง วินเชสเตอร์เป็นเมืองหลวงเก่าของอังกฤษกระทั่งเปลี่ยนมาเป็นลอนดอนใน..
ประเทศอินโดนีเซีย
อินโดนีเซีย (Indonesia) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐอินโดนีเซีย (Republik Indonesia) เป็นหมู่เกาะที่ใหญ่ที่สุดในโลก ตั้งอยู่ระหว่างคาบสมุทรอินโดจีนกับทวีปออสเตรเลีย และระหว่างมหาสมุทรอินเดียกับมหาสมุทรแปซิฟิก มีพรมแดนติดกับประเทศมาเลเซียบนเกาะบอร์เนียวหรือกาลีมันตัน (Kalimantan), ประเทศปาปัวนิวกินีบนเกาะนิวกินีหรืออีเรียน (Irian) และประเทศติมอร์-เลสเตบนเกาะติมอร์ (Timor).
ดู 15 สิงหาคมและประเทศอินโดนีเซีย
ประเทศอินเดีย
อินเดีย (India; भारत, ออกเสียง) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐอินเดีย (Republic of India; भारत गणराज्य) ตั้งอยู่ในทวีปเอเชียใต้ เป็นพื้นที่ส่วนใหญ่ของอนุทวีปอินเดีย มีประชากรมากเป็นอันดับที่สองของโลก และเป็นประเทศประชาธิปไตยที่มีประชากรมากที่สุดในโลก โดยมีประชากรมากกว่าหนึ่งพันล้านคน มีภาษาพูดร้อยแปดสิบแปดภาษาโดยประมาณ ด้านเศรษฐกิจ อินเดียมีอำนาจการซื้อมากเป็นอันดับที่สี่ของโลก ทั้งนี้ อาณาเขตทางทิศเหนือติดกับจีน เนปาล และภูฏาน ทางตะวันตกเฉียงเหนือติดกับปากีสถาน ทางตะวันออกติดพม่า ทางตะวันตกเฉียงใต้จรดมหาสมุทรอินเดีย ทางตะวันออกเฉียงใต้ติดศรีลังกา ล้อมรอบบังกลาเทศทางทิศเหนือ ทิศตะวันออก และทิศตะวันตก นอกนั้นยังมีเขตแดนทางทะเลต่อเนื่องกับน่านน้ำไทย พม่า และอินโดนีเซีย และด้วยพื้นที่ 3,287,590 ตารางกิโลเมตร อินเดียจึงเป็นประเทศที่ใหญ่ที่สุดอันดับ 7 ของโลก.
ประเทศไทย
ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.
ประเทศเกาหลีใต้
รณรัฐเกาหลี (Republic of Korea; 대한민국 (ฮันกึล); 大韓民國 (ฮันจา)) หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า เกาหลีใต้ (South Korea) เป็นประเทศในเอเชียตะวันออก มีพื้นที่ครอบคลุมส่วนใต้ของคาบสมุทรเกาหลี พรมแดนทางเหนือติดกับประเทศเกาหลีเหนือ มีประเทศญี่ปุ่นตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้โดยมีทะเลญี่ปุ่นและช่องแคบเกาหลีกั้นไว้ ในภาษาเกาหลีอ่านชื่อประเทศว่า แทฮันมินกุก (대한민국; 大韓民國) โดยเรียกสั้น ๆ ว่า ฮันกุก (한국) ที่หมายถึงเกาหลี และบางครั้งจะใช้ชื่อว่า นัมฮัน (남한) ที่หมายถึง เกาหลีทางใต้ ส่วนชาวเกาหลีเหนือจะเรียกเกาหลีใต้ว่า นัมโชซ็อน (남조선) ที่หมายถึง โชซ็อนใต้.
ดู 15 สิงหาคมและประเทศเกาหลีใต้
ปีอธิกสุรทิน
ปีอธิกสุรทิน (leap year) เป็นปีที่มีการเพิ่มหนึ่งวัน (หรือหนึ่งเดือนในกรณีของปฏิทินสุริยจันทรคติ) เพื่อให้ปีปฏิทินสอดคล้องกับปีดาราศาสตร์หรือปีฤดูกาล เพราะฤดูกาลและเหตุการณ์ทางดาราศาสตร์มิได้เกิดซ้ำในจำนวนเต็มวัน ปฏิทินซึ่งมีจำนวนวันในแต่ละปีเท่าเดิมจึงต้องเลื่อนให้ตรงกับเหตุการณ์ที่ปฏิทินควรจะติดตามเมื่อเวลาผ่านไป โดยการแทรกวันหรือเดือนเพิ่มเข้าไปในปีนั้น การเลื่อนจึงสามารถทำให้ถูกต้องได้ ปีที่มิใช่ปีอธิกสุรทิน เรียกว่า ปีปกติสุรทิน (common year) ตัวอย่างเช่น ในปฏิทินเกรโกเรียน (ปฏิทินสุริยคติสามัญ) เดือนกุมภาพันธ์ในปีอธิกสุรทินมี 29 วัน แทนที่จะมี 28 วันตามปกติ ดังนั้น ปีดังกล่าวจึงมี 366 วัน แทนที่จะมี 365 วันตามปกติ คล้ายกัน ในปฏิทินฮีบรู (ปฏิทินสุริยจันทรคติ) เดือนจันทรคติที่ 13 มีการเพิ่มเจ็ดครั้งทุก 19 ปี เข้าไปในเดือนจันทรคติสิบสองเดือนในปีปกติสุรทินเพื่อให้ปีปฏิทินไม่คาดเคลื่อนจากฤดูกาลเร็วเกินไป.
นายกรัฐมนตรีอินเดีย
ตามรัฐธรรมนูญอินเดีย นายกรัฐมนตรีอินเดีย (Prime Minister of India) คือหัวหน้ารัฐบาล ประธานที่ปรึกษาของประธานาธิบดีอินเดีย ประธานคณะรัฐมนตรี และผู้นำพรรคการเมืองเสียงข้างมากในรัฐสภา นายกรัฐมนตรีจึงเป็นผู้มีอำนาจบริหารรัฐบาลอินเดีย นายกรัฐมนตรีอินเดียเป็นสมาชิกระดับอาวุโสของคณะรัฐมนตรี มีอำนาจบริหารรัฐบาลตามระบบรัฐสภา นายกรัฐมนตรีมีอำนาจแต่งตั้งหรือถอนถอนรัฐมนตรี จัดสรรตำแหน่งต่าง ๆ แก่ฝ่ายรัฐบาล เป็นสมาชิกและประธานของคณะรัฐมนตรี และรับผิดชอบการเสนอร่างกฎหมายต่าง ๆ เมื่อนายกรัฐมนตรีพ้นจากตำแหน่งไม่ว่าด้วยการถึงแก่อสัญกรรมหรือการลาออกจากตำแหน่ง คณะรัฐมนตรีทั้งคณะถือเป็นอันสิ้นสุดลง.
ดู 15 สิงหาคมและนายกรัฐมนตรีอินเดีย
แม่พระรับเกียรติยกขึ้นสวรรค์
วาดบรรยายเหตุการณ์เมื่อพระนางมารีย์พรหมจารีถูกรับขึ้นสวรรค์ทั้งร่างกายและวิญญาณ พระนางมารีย์รับเกียรติเข้าสู่สวรรค์ หรือ แม่พระรับเกียรติยกขึ้นสวรร.
ดู 15 สิงหาคมและแม่พระรับเกียรติยกขึ้นสวรรค์
แอนโทนีแห่งปาดัว
นักบุญแอนโทนี (หรืออันตน) แห่งปาดัว (Anthony of Padua) เป็นนักบุญในศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิก และเป็นไฟรอาร์สังกัดคณะฟรันซิสกัน เกิดวันที่ 15 สิงหาคม..
ดู 15 สิงหาคมและแอนโทนีแห่งปาดัว
โรมันคาทอลิก
ระศาสนจักรคาทอลิก (Catholic Church) หรือ คริสตจักรโรมันคาทอลิก (Roman Catholic Church) เป็นคริสตจักรที่ใหญ่ที่สุดในโลกซึ่งมีศาสนิกชนกว่าพันล้านคน มีพระสันตะปาปาเป็นประมุข มีพันธกิจหลักคือ การประกาศข่าวดีเรื่องพระเยซูคริสต์ โปรดศีลศักดิ์สิทธิ์ และปฏิบัติกิจเมตตา ศาสนจักรคาทอลิกเป็นสถาบันที่เก่าแก่ที่สุดในโลกและมีบทบาทสำคัญในประวัติศาสตร์อารยธรรมตะวันตกO'Collins, p.
ไมเคิล คัตซิดิส
มเคิล คัตซิดิส (Michael Katsidis) หรือ ไมเคิล อลัน คัตซิดิส นักมวยสากลชาวออสเตรเลีย เกิดเมื่อ 15 สิงหาคม..
ดู 15 สิงหาคมและไมเคิล คัตซิดิส
ไอร์แลนด์เหนือ
อร์แลนด์เหนือ (Northern Ireland; Tuaisceart Éireann ทวฌเชอรท์ เอรัน) คือ 1 ใน 4 ประเทศองค์ประกอบของสหราชอาณาจักรซึ่งประกอบด้วยอังกฤษ สกอตแลนด์ เวลส์ และไอร์แลนด์เหนือ ไอร์แลนด์เหนือตั้งอยู่บนเกาะไอร์แลนด์ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ มีพรมแดนด้านตะวันตกและใต้ติดประเทศไอร์แลนด์ ทิศเหนือติดกับมหาสมุทรแอตแลนติก ทิศตะวันออกเฉียงเหนือติดกับช่องแคบเหนือ และทิศตะวันออกติดกับทะเลไอริช เมืองหลวงมีชื่อว่า เบลฟาสต์ ซึ่งมีประชากรประมาณ 333,000 คน.
ดู 15 สิงหาคมและไอร์แลนด์เหนือ
เบน แอฟเฟล็ก
น แอฟเฟล็ก (Ben Elephant หรือชื่อเกิด Benjamin Géza Affleck-Boldt; เกิด 15 สิงหาคม ค.ศ. 1972) เป็นนักแสดงชายชาวอเมริกัน นักเขียนบทภาพยนตร์ ผู้กำกับภาพยนตร์ เป็นพี่ชายของเคซี แอฟเฟล็ก เป็นที่รู้จักในช่วงกลางทศวรรษ 1990 หลังจากมีส่วนเรื่องในภาพยนตร์เรื่อง Mallrats หลังจากนั้นได้รับรางวัลออสการ์จากบทภาพยนตร์ดั้งเดิมยอดเยี่ยมจากภาพยนตร์เรื่อง Good Will Hunting ในปี 1997 เขาได้ก้าวสู่วงการฮอลลีวูดในระดับแถวหน้า เป็นนักแสดงนำในหนังทุนสร้างสูงหลายเรื่องอย่างเช่น Armageddon, Pearl Harbor, Changing Lanes, The Sum of All Fears และ Daredevil เขามีความสัมพันธ์กับนักแสดง กวินเน็ธ พัลโทรว์ ในปี 1998 และกับนักร้อง นักแสดง เจนนิเฟอร์ โลเปซจนสื่อทั่วโลกเรียกทั้งคู่ว่า "เบนนิเฟอร์" หลังจากนั้นทั้งคู่ก็เลิกรากันในปี 2004 เขาเริ่มออกเดทกับเจนนิเฟอร์ การ์เนอร์ ทั้งคู่แต่งงานกันเมื่อเดือนมิถุนายน..
เพชรดา เทียมเพ็ชร
รดา เทียมเพ็ชร (ชื่อเล่น: โอ๋) เกิดเมื่อวันที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2520 ที่จังหวัดสงขลา เป็นนักแสดงชาวไทยสังกัดช่อง 3 เริ่มเข้าสู่วงการจากการประกวดดัชชี่บอยแอนด์เกิร์ล จบการศึกษา ที่ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา จบการศึกษาปริญญาโท ที่ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม มีศักดิ์เป็นน้องสาวของ เบญทราย หุ่นน้อย หรือ น้องทราย พิธีกรรายการชุมทางเสียงทองทางช่อง 7 อีกด้วย ในการชุมนุม 193 วันของกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย เมื่อ พ.ศ.
ดู 15 สิงหาคมและเพชรดา เทียมเพ็ชร
เจนนิเฟอร์ ลอว์เรนซ์
นนิเฟอร์ ชเรเดอร์ ลอว์เรนซ์ (Jennifer Shrader Lawrence) (เกิด 15 สิงหาคม, ค.ศ. 1990) เป็นนักแสดงชาวอเมริกัน บทบาทครั้งสำคัญของเธอคือการได้รับบทตัวละครนำภายในช่อง TBS ซิดคอม Bill Engvall Show (ค.ศ.
ดู 15 สิงหาคมและเจนนิเฟอร์ ลอว์เรนซ์
เจ้าหญิงแอนน์ พระราชกุมารี
้าหญิงแอนน์ พระราชกุมารี (The Princess Anne, Princess Royal; แอนน์ เอลิซาเบธ อลิซ หลุยส์ ประสูติ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2493) ทรงเป็นสมาชิกพระองค์หนึ่งในราชวงศ์อังกฤษ และเป็นพระราชธิดาพระองค์เดียวในสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร ทรงดำรงพระอิสริยยศ ราชกุมารี เป็นพระองค์ที่เจ็ด และปัจจุบันทรงอยู่อันดับที่สิบสามของลำดับการสืบราชบัลลังก์อังกฤษ เมื่อแรกประสูติ พระองค์ทรงอยู่อันดับที่สาม และขึ้นเป็นอันดับที่สองในการเสวยราชสมบัติของพระชนนี จนกระทั่งถึงการประสูติของเจ้าชายแอนดรูว์ ในปี พ.ศ.
ดู 15 สิงหาคมและเจ้าหญิงแอนน์ พระราชกุมารี
เทศกาลบง
ง หรือ เทศกาลบง (ชาวญี่ปุ่นนิยมออกเสียง โอะบง) เป็นประเพณีของชาวญี่ปุ่นที่นับถือศาสนาพุทธ ซึ่งจะตรงกับวันที่ 13 - 15 สิงหาคม ยกเว้นในภูมิภาคคันโต จะจัดขึ้นในช่วงวันที่ 13 - 16 กรกฎาคม โดยที่ชาวญี่ปุ่นเชื่อกันว่าช่วงเวลาดังกล่าวบรรดาวิญญาณของบรรพบุรุษจะกลับมาจากนรกภูมิ และจะมีการจุดไฟรอรับที่หน้าบ้าน จัดสำรับอาหารเลี้ยง การละเล่น ในวันสุดท้ายของเทศกาลจะมีการจุดไฟเพื่อส่งวิญญาณกลั.
1 ธันวาคม
วันที่ 1 ธันวาคม เป็นวันที่ 335 ของปี (วันที่ 336 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 30 วันในปีนั้น.
5 พฤษภาคม
วันที่ 5 พฤษภาคม เป็นวันที่ 125 ของปี (วันที่ 126 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 240 วันในปีนั้น.
5 กรกฎาคม
วันที่ 5 กรกฎาคม เป็นวันที่ 186 ของปี (วันที่ 187 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 179 วันในปีนั้น.
ดูเพิ่มเติม
สิงหาคม
- 1 สิงหาคม
- 10 สิงหาคม
- 11 สิงหาคม
- 12 สิงหาคม
- 13 สิงหาคม
- 14 สิงหาคม
- 15 สิงหาคม
- 16 สิงหาคม
- 17 สิงหาคม
- 18 สิงหาคม
- 19 สิงหาคม
- 2 สิงหาคม
- 20 สิงหาคม
- 21 สิงหาคม
- 22 สิงหาคม
- 23 สิงหาคม
- 24 สิงหาคม
- 25 สิงหาคม
- 26 สิงหาคม
- 27 สิงหาคม
- 28 สิงหาคม
- 29 สิงหาคม
- 3 สิงหาคม
- 30 สิงหาคม
- 31 สิงหาคม
- 4 สิงหาคม
- 5 สิงหาคม
- 6 สิงหาคม
- 7 สิงหาคม
- 8 สิงหาคม
- 9 สิงหาคม
- ดีเซมเบอร์ทูดิสเมมเบอร์ (2006)
- สิงหาคม
หรือที่รู้จักกันในชื่อ 15 ส.ค.๑๕ สิงหาคม